Mon Jul 03 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

คำพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง เรื่อง ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ ความผิดต่อพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย การป้องกันและปราบปรามการทุจริต [คดีหมายเลขดำที่ อม. 4/2565 คดีหมายเลขแดงที่ อม. 8/2566 ระหว่าง อัยการสูงสุด โจทก์ นายอนุรักษ์ ตั้งปณิธานนท์ จำเลย]


คำพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง เรื่อง ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ ความผิดต่อพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย การป้องกันและปราบปรามการทุจริต [คดีหมายเลขดำที่ อม. 4/2565 คดีหมายเลขแดงที่ อม. 8/2566 ระหว่าง อัยการสูงสุด โจทก์ นายอนุรักษ์ ตั้งปณิธานนท์ จำเลย]

( อม.33 ) คําพิพากษา คดีหมายเลขดําที่ อม. 4/2565 คดีหมายเลขแดงที่ อม. 8/2566 ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดํารงตําแหนงทางการเมือง วันที่ 25 เดือน เมษายน พุทธศักราช 2566 อัยการสูงสุด โจทก์ นายอนุรักษ์ ตั้งปณิธานนท จําเลย เรื่อง ความผิดต่อตําแหนงหน้าที่ราชการ ความผิดต่อพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาด้วยการปองกันและปราบปรามการทุจริต โจทก์ฟ้องวา ขณะเกิดเหตุ จําเลยดํารงตําแหนงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้ง จังหวัดมุกดาหาร สังกัดพรรคเพื่อไทย ตําแหนงกรรมา ธิการวิสามัญพิจารณารางพระราชบัญญัติ งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 และได้รับแต่งตั้งให้เป็นอนุกรรมาธิการ แผนงานบูรณาการ 2 ในคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณารางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจาย ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 สภาผู้แทนราษฎร มีอํานาจหน้า ที่เกี่ยวกับการเสนอญัตติ และพิจารณารางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ รางพระราชบัญญัติตาง ๆ การควบคุม บริหารราชการแผนดินโดยการตั้งกระทูถาม การเปดอภิปรายทั่วไป การตั้งกรรมาธิการ การเขาชื่อ ระหวาง ้ หนา 7 ่ เลม 140 ตอนที่ 40 ก ราชกิจจานุเบกษา 3 กรกฎาคม 2566

ถอดถอนผู้ดํารงตําแหนงทางการเมืองและผู้ดํารงตําแหนงในองคกรอิสระ การให้ความเห็นชอบ แต่งตั้งบุคคลเป็นนายกรัฐมนตรี และการแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ และในฐานะอนุกรรมาธิการ แผนงานบูรณาการ 2 มีอํานาจหน้าที่พิจารณางบประมาณเกี่ยวกับการบูรณาการทรัพยากรน้ําของ 9 กระทรวง 17 หนวยงาน และการบูรณาการดานการคมนาคมและโลจิสติกสของ 8 กระทรวง 21 หนวยงาน และสรุปผลรายงานผลการพิจารณาเสนอคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา รางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ซึ่งคณะอนุกรรมาธิการ แผนงานบูรณาการ 2 คัดเลือกให้จําเลยเป็นรองประธานคณะอนุกรรมาธิการ คนที่หนึ่ง จําเลยจึงเป็นเจ้าพนักงาน และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐ ตามประมวลกฎหมายอาญา กับเป็นผู้ดํารงตําแหนงทางการเมือง และเจ้าพนักงานของรัฐ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาด้วยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 เมื่อระหวางวันที่ 17 กรกฎาคม 2563 ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2563 เวลากลางวันต่อเนื่องกัน ในการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญ พิจารณารางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 สภาผู้แทนราษฎร ที่ประชุมได้พิจารณางบประมาณภาพรวมของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จําเลยในฐานะกรรมาธิการวิสามัญฯ ได้ซักถามและโตแยงงบประมาณของกรมทรัพยากรน้ําบาดาลหลายครั้ง เกี่ยวกับโครงการขุดเจาะบอน้ําบาดาลด้วยพลังงานแสงอาทิตยวา เป็นการจัดซื้อจัดจางแบบเฉพาะเจาะจง ให้ผู้รับจางรายใดรายหนึ่ง และมีการกําหนดราคาในสวนของอัตราราคางานต่อหนวยของคาขุดเจาะ น้ําบาดาลสูงเกินไป พรอมทั้งขอแบบแปลนและประมาณราคาโครงการจากกรมทรัพยากรน้ําบาดาล และตั้งขอซักถามในโครงการพัฒนาน้ําบาดาลเพื่อการเกษตร คาที่ดินและสิ่งปลูกสราง คากอสรางแหลงน้ํา เกี่ยวกับการประมาณราคากอสรางและตั้งวงเงินงบประมาณในการกอสรางแหลงน้ําของแต่ละจังหวัด ในการประชุมดังกลาว นายศักดิ์ดา วิเชียรศิลป อธิบดีกรมทรัพยากรน้ําบาดาล พรอมเจ้าหน้าที่ ของกรมทรัพยากรน้ําบาดาลได้ชี้แจงตอบขอซักถามของจําเลยครบถวนแล้ว แต่จําเลยยังคงซักถามโตแยง ในประเด็นเดิมเกี่ยวกับราคาคากอสรางในแต่ละโครงการที่สูงเกินไป ซึ่งต่อมาเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2563 กรมทรัพยากรน้ําบาดาลมีหนังสือ ดวนที่สุด ที่ ทส 0702/3745 ชี้แจงตอบประเด็นคําถามดังกลาว และจัดสงเอกสารหลักฐานเพิ่มเติมเกี่ยวกับแบบแปลนและประมาณราคาของโครงการขุดเจาะบอน้ําบาดาลทั้งหมด ให้คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณารางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ้ หนา 8 ่ เลม 140 ตอนที่ 40 ก ราชกิจจานุเบกษา 3 กรกฎาคม 2566

สภาผู้แทนราษฎร ครบถวน รวมถึงสงเอกสารดังกลาวให้จําเลยด้วย ต่อมาวันที่ 4 สิงหาคม 2563 เวลากลางคืนหลังเที่ยง จําเลยได้บังอาจเรียก รับ หรือยอมจะรับทรัพย์สินเป็นเงิน 5 , 000 , 000 บาท โดยมิชอบจาก นายศักดิ์ดา เพื่อกระทําการหรือไม่กระทําการอยางใดในตําแหนงหน้าที่ของจําเลย โดยจําเลยโทรศัพทพูดคุยกับ นายศักดิ์ดา วา “ พรุงนี้ขอเงิน 5 , 000 , 000 บาท ” นายศักดิ์ดา จึงถามวา “ เหตุใดจึงตัดงบประมาณเยอะจัง ” จําเลยตอบวา “ ไม่ได้ตัดงบประมาณ แต่ขอเป็นเงินสด ” นายศักดิ์ดา ตอบวา “ เงินเยอะขนาดนั้น จะไปหาจากที่ไหน ” จําเลยตอบวา “ ถาอยางนั้น ของานโครงการ ในภาคอีสานทั้งหมด ” นายศักดิ์ดา ตอบวา “ ไม่ได้ เนื่องจากงานโครงการของกรมทรัพยากรน้ําบาดาล เป็นงานประเภท e-bidding” จําเลยตอบวา “ ถาอยางนั้น ของานที่ต่ํากวา 500 , 000 บาท ” นายศักดิ์ดา จึงตอบวา “ ไม่ได้ เนื่องจากโครงการที่ต่ํากวา 500 , 000 บาท เจ้าหน้าที่ของ กรมทรัพยากรน้ําบาดาลก็จะเป็นผู้ดําเนินการเองอยู่แล้ว ” จําเลยตอบวา “ ถาไม่ให้ก็จะตัดงบประมาณ ของกรม 10 เปอรเซ็นต ” นายศักดิ์ดา ตอบวา “ หากจะตัดงบประมาณ 10 เปอรเซ็นต ของแต่ละโครงการแบบนั้น กรมทรัพยากรน้ําบาดาลก็จะทํางานไม่ได้ หากจะตัดให้ตัดเป็นโครงการ หรือเป็นรายแห่ง ” จากนั้น ต่อมาวันที่ 5 สิงหาคม 2563 ในการประชุมครั้งที่ 4/2563 คณะอนุกรรมาธิการแผนงานบูรณาการ 2 ได้พิจารณางบประมาณรายจายแผนงานบูรณาการ บริหารจัดการทรัพยากรน้ําของกรมทรัพยากรน้ําบาดาล ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 จําเลยในฐานะรองประธานคณะอนุกรรมาธิการ คนที่หนึ่ง ได้ซักถามและตั้งขอสังเกตเกี่ยวกับ งบประมาณของกรมทรัพยากรน้ําบาดาลในประเด็นเดิมถึงราคาคากอสรางต่อพื้นที่ของการเจาะบอน้ําบาดาล ในแต่ละพื้นที่ที่สูงกวาเอกชนดําเนินการ และเหตุใดจึงไม่จางเอกชน ซึ่งประเด็นดังกลาวผู้แทน จากกรมทรัพยากรน้ําบาดาลได้ชี้แจงพรอมสงเอกสารต่อที่ประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ และยังได้สงเอกสารแบบแปลนและประมาณราคาของโครงการขุดเจาะบอน้ําบาดาลดังกลาว ให้แกจําเลยแล้วเชนกัน แต่จําเลยยังคงซักถามในประเด็นเดิม ซึ่งทําให้การประชุมพิจารณางบประมาณลาชา ไม่อาจหาขอสรุปเพื่อลงมติได้ หากการพิจารณางบประมาณของกรมทรัพยากรน้ําบาดาล ไม่ผานการพิจารณาจากคณะอนุกรรมาธิการแผนงานบูรณาการ 2 และคณะกรรมาธิการวิสามัญ พิจารณารางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 สภาผู้แทนราษฎร ยอมไม่อาจตราเป็นพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ในสวนการเบิกจาย ้ หนา 9 ่ เลม 140 ตอนที่ 40 ก ราชกิจจานุเบกษา 3 กรกฎาคม 2566

งบประมาณของกรมทรัพยากรน้ําบาดาล กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมได้ อันเกิดความเสียหาย แกกรมทรัพยากรน้ําบาดาล กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และเสียหายแกทางราชการ การกระทําของจําเลยดังกลาวเป็นการเรียก รับ หรือยอมจะรับทรัพย์สิน หรือประโยชนอื่นใด สําหรับจําเลยโดยมิชอบ เพื่อกระทําการหรือไม่กระทําการอยางใดในตําแหนงของจําเลย ไม่วาการนั้นจะชอบ หรือมิชอบด้วยหน้าที่ และเป็นการปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหาย แกผู้หนึ่งผู้ใด หรือละเวนการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต เหตุเกิดที่แขว งถนนนครไชยศรี เขตดุสิต และแขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ต่อเนื่องกัน ขอให้ลงโทษตามพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มาตรา 172 , 173 ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 149 , 157 จําเลยให้การปฏิเสธ พิเคราะหคําฟ้อง คําให้การ พยานหลักฐานตามทางไตสวนของศาลฎีกาแผนกคดีอาญา ของผู้ดํารงตําแหนงทางการเมือง ประกอบสํานวนการไตสวนของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ตลอดจน คําแถลงปดคดีของจําเลยแล้ว ขอเท็จจริงเบื้องตนรับฟงได้วา ขณะเกิดเหตุจําเลยดํารงตําแหนง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 จังหวัดมุกดาหาร สังกัดพรรคเพื่อไทย โดยได้รับการเลือกตั้งให้ดํารงตําแหนงตั้งแต่วันที่ 24 มีนาคม 2562 และพนจากตําแหนงเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2564 อันเป็นวันที่ศาลฎีกามีคําสั่งให้จําเลยคดีนี้หยุดปฏิบัติหน้าที่ตามคําพิพากษาศาลฎีกา คดีหมายเลขแดงที่ คมจ.1/2566 ในคราวประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปที่ 2 ครั้งที่ 9 (สมัยสามัญประจําปครั้งที่หนึ่ง) เป็นพิเศษ ที่ประชุมได้พิจารณารางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจาย ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 แล้วลงมติรับหลักการ และตั้งกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา รางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ขึ้นคณะหนึ่ง จํานวน 72 คน โดยจําเลยได้รับแต่งตั้งให้เป็นกรรมาธิการวิสามัญในคณะดังกลาวด้วย ตามเอกสารหมาย จ. 15 ในการประชุมครั้งที่ 8/2563 เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2563 คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ประชุมพิจารณางบประมาณภาพรวมของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในการประชุม ครั้งที่ 10/2563 และครั้งที่ 11/2563 วันที่ 21 และวันที่ 22 กรกฎาคม 2563 ประชุมพิจารณางบประมาณของกรมทรัพยากรน้ําบาดาลและกรมทรัพยากรน้ํา ในการประชุมดังกลาว ้ หนา 10 ่ เลม 140 ตอนที่ 40 ก ราชกิจจานุเบกษา 3 กรกฎาคม 2566

จําเลยในฐานะกรรมาธิการวิสามัญฯ ตั้งขอสังเกตและซักถามเกี่ยวกับโครงการพัฒนาน้ําบาดาล เพื่อการเกษตรด้วยพลังงานแสงอาทิตย และโครงการจัดหาแหลงน้ําบาดาลระยะไกลเพื่อแกปญหา ในพื้นที่แลงซ้ําซากหรือน้ําเค็มวา เหตุใดมีการตั้งวงเงินง บประมาณในการกอสรางแหลงน้ํา ของแต่ละจังหวัดมีจํานวนเงินเทากัน พรอมกับขอรายละเอียดโครงการและเอกสารแบบแปลน และประมาณราคาเพื่อพิจารณาวามีราคาแพงหรือไม่ ซึ่ง นายศักดิ์ดา ได้ชี้แจงตอบขอซักถามและแจงวา สําหรับแบบแปลนและประมาณราคาจะจัดสงให้ในภายหลัง ตามรายงานการประชุมเอกสารหมาย จ. 17 หน้า 794 และในการประชุมครั้งที่ 13/2563 เมื่อวันที่24 กรกฎาคม 2563 คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ มีมติแต่งตั้งอนุกรรมาธิการในคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณารางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจาย ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 จํา นวน 8 คณะ คณะละ 10 คน คณะอนุกรรมาธิการ แผนงานบูรณาการ 2 เป็นคณะที่ 8 ประกอบด้วยจําเลยและบุคคลอื่นอีก 9 คน มีอํานาจหน้าที่ พิจารณางบประมาณเกี่ยวกับการบูรณาการทรัพยากรน้ําของ 9 กระทรวง 17 หนวยงาน และการบูรณาการดานการคมนาคมและโลจิสติกสของ 8 กระทรวง 21 หนวยงาน และสรุปผลรายงาน ผลการพิจารณาเสนอคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ซึ่งที่ประชุมคณะอนุกรรมาธิการแผนงานบูรณาการ 2 คัดเลือกให้ นางสาวแนน บุณยธิดา สมชัย เป็นประธานคณะอนุกรรมาธิการ จําเลยเป็นรองประธาน คณะอนุกรรมาธิการ คนที่หนึ่ง และ นางนันทนา สงฆประชา เป็นเลขานุการคณะอนุกรรมาธิการ ตามเอกสารหมาย จ.18 หน้า 667 ถึง 672 วันที่ 31 กรกฎาคม 2563 กรมทรัพยากรน้ําบาดาล มีหนังสือ ดวนที่สุด ที่ ทส 0702/3745 ถึงประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ขอสงเอกสาร ประกอบการชี้แจง (เพิ่มเติม) ตามเอกสารหมาย จ.20 หน้า 933 ถึง 1016 วันที่ 4 สิงหาคม 2563 ในการประชุมคณะอนุกรรมาธิการแผนงานบูรณาการ 2 ครั้งที่ 3/2563 กอนเลิกประชุม นางสาวแนน แจงที่ประชุมวา นัดประชุมครั้งต่อไปวันพุธที่ 5 สิงหาคม 2563 เพื่อพิจารณางบประมาณ ของกรมทรัพยากรน้ํา กรมทรัพยากรน้ําบาดาล และกรมโยธาธิการและผังเมือง ตามลําดับ เลิกประชุมเวลา 18.40 นาฬิกา ตามเอกสารหมาย จ. 21 หน้า 1141/1 หลังเลิกประชุม จําเลย นางสาวแนน นางนันทนา และ นายจักรัตน์ พั้วชวย อนุกรรมาธิการแผนงานบูรณาการ 2 นั่งอยู่ในหองประชุมเพื่อรับประทานอาหารเย็น และมีเจ้าหน้าที่ฝ่ายเลขานุการอยู่สรุปการประชุมในวันนั้น และเตรียมเอกสารการประชุมในวันถัดไป ต่อมาเวลา 19.07 นาฬิกา นางนันทนา ได้โทรศัพทไปหา ้ หนา 11 ่ เลม 140 ตอนที่ 40 ก ราชกิจจานุเบกษา 3 กรกฎาคม 2566

นายศักดิ์ดา ซึ่งขณะนั้นอยู่กับ พลตํารวจตรี วิวัฒน ชัยสังฆะ และเพื่อนชื่อ นายเตอ ที่รานอาหารเบียรหิมะ ในหมู่บ้านประชานิเวศน 1 ถนนเทศบาลสงเคราะห แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร นางนันทนา บอก นายศักดิ์ดา วา มีเรื่องดวนเป็นเรื่องสําคัญให้ นายศักดิ์ดา โทรศัพทไปที่หมายเลข 0818725959 โดยไม่บอกวาเป็นหมายเลขโทรศัพทของผู้ใดและเรื่องอะไร นายศักดิ์ดา โทรศัพทไปยังหมายเลขดังกลาวแต่ไม่มีผู้รับสาย ต่อมาจําเลยเป็นผู้ใชโทรศัพทหมายเลขดังกลาว ติดต่อกลับมาหา นายศักดิ์ดา 2 ครั้ง เวลา 19.20 นาฬิกา สนทนาเป็นระยะเวลา 565 วินาที และเวลา 19.34 นาฬิกา สนทนาเป็นระยะเวลา 365 วินาที ตามขอมูลการใชงานโทรศัพทเคลื่อนที่ เอกสารหมาย จ. 25 หน้า 1564 ถึง 1567 วันที่ 5 สิงหาคม 2563 ในการประชุม คณะอนุกรรมาธิการแผนงานบูรณาการ 2 ครั้งที่ 4/2563 ในชวงเชา จําเลยเขารวมประชุม มีขอสังเกตและซักถามเกี่ยวกับโครงการพัฒนาน้ําบาดาลเพื่อการเกษตรที่หนวยงานเป็นผู้ดําเนินการเอง ราคาต่อแห่ง 171 , 000 บาท และการเบิกจายคาเบี้ยเลี้ยงและคาน้ํามัน เนื่องจากรถที่เจาะเป็นของราชการ พรอมกับขอแบบแปลนและประมาณราคาจากกรมทรัพยากรน้ําบาดาล ซึ่ง นายศักดิ์ดา นายกุศล โชติรัตน์ รองอธิบดีกรมทรัพยากรน้ําบาดาล นายสุรินทร วรกิจธํารง ผู้อํานวยการสํานักพัฒนาน้ําบาดาล กรมทรัพยากรน้ําบาดาล ได้ชี้แจงตอบขอซักถามวา กรมทรัพยากรน้ําบาดาลมีบุคลากรที่มีความรู ความเชี่ยวชาญ นักธรณีวิทยา และชางเจาะที่มีประสบการณ รวมถึงมีเครื่ องเจาะบอบาดาล สามารถขุดเจาะได้งานคุณภาพสูงกวาการวาจางเอกชน พรอมกับนําแบบแปลนฉายขึ้นจอโปรเจคเตอร ประกอบการชี้แจง และผู้แทนจากสํานักงบประมาณชี้แจงวา ราคา 171 , 000 บาท เป็นราคา ตามบัญชีราคามาตรฐานในลักษณะงานดําเนินการเอง ซึ่งจะกําหนดคาน้ํามัน คาวัสดุ ตามอัตราราคางานต่อหนวย ตามมาตรฐานของสํานักงบประมาณไม่มีการตั้งงบประมาณซ้ําซอน ตามรายงานการประชุม เอกสารหมาย จ. 21 หน้า 1154/1 ในการชี้แจงชวงหนึ่ง นายศักดิ์ดา พูดต่อที่ประชุมวา “ ทาน (จําเลย) ก็คุยกับผมหลายรอบ ผมอัดเทปไวนะครับ ” และชวงใกลเที่ยง นายศักดิ์ดา พูดต่อที่ประชุมวา “ พูดกันไม่รูเรื่องหรอก เพราะเมื่อคืนนี้มีอนุกรรมาธิการคนหนึ่งโทรไปหาผมตบทรัพย์ผม 5 , 000 , 000 บาท ผมจะไปแถลงขาว ” แต่ขอความหลังไม่มีการบันทึกไวในรายงานการประชุม และพักการประชุมเวลา 11.55 นาฬิกา ในช วงบายมีการประชุมพิจารณางบประมาณ ของกรมทรัพยากรน้ําบาดาลต่อ แต่จําเลยไม่ได้เขารวมประชุม คณะอนุกรรมาธิการแผนงานบูรณาการ 2 ้ หนา 12 ่ เลม 140 ตอนที่ 40 ก ราชกิจจานุเบกษา 3 กรกฎาคม 2566

พิจารณามีมติเห็นควรปรับลดงบประมาณของกรมทรัพยากรน้ําบาดาล 15 , 000 , 000 บาท เหตุผลการปรับลดเพื่อประหยัดคาใชจาย/ปรับลดเปาหมาย ตามรายงานการประชุมเอกสารหมาย จ. 21 หน้า 1557 ถึง 1168 และรายงานผลการพิจารณาเอกสารหมาย จ.26 หน้า 1592 ต่อมามีผู้รองเรียนการกระทําของจําเลยและ นางนันทนา ต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ซึ่งคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติรับเรื่องและมีคําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการไตสวนเพื่อดําเนินการไตสวน คณะกรรมการไตสวน ดําเนินการไตสวนและแจงขอกลาวหาให้จําเลยและ นางนันทนา ทราบแล้ว และสรุปสํานวน พรอมความเห็นเสนอคณะกรรมการ ป.ป.ช. พิจารณา คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติสําหรับการกระทํา ของ นางนันทนา วาไม่มีมูลให้ขอกลาวหาตกไป แต่ให้สงเรื่องให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรดําเนินการ ตามอํานาจหน้าที่เกี่ยวกับการกระทําที่อาจจะฝาฝนจริยธรรมของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามกฎหมายต่อไป และมีมติสําหรับการกระทําของจําเลยวามีมูลความผิดอาญาตามขอกลาวหาและเป็นการฝาฝน หรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอยางรายแรง ในสวนคดีอาญาให้สงรายงาน เอกสาร และความเห็นไปยังโจทก์ยื่นฟ้องเป็นคดีนี้ ในสวนคดีฝาฝนมาตรฐานทางจริยธรรมอยางรายแรง คณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็นผู้รองยื่นคํารองต่อศาลฎีกาเป็นคดีหมายเลขดําที่ คมจ. 4/2564 คดีดังกลาว ศาลฎีกามีคําพิพากษาวา ผู้คัดคาน (จําเลย) ฝาฝนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอยางรายแรง ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 235 วรรคหนึ่ง (1) และมาตรฐานทางจริยธรรม ของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และผู้ดํารงตําแหนงในองคกรอิสระ รวมทั้งผู้วาการตรวจเงินแผนดิน และหัวหน้าหนวยงานธุรการของศาลรัฐธรรมนูญและองคกรอิสระ พ.ศ. 2561 ขอ 7 ขอ 8 ขอ 9 ประกอบขอ 27 วรรคหนึ่ง ตามคําพิพากษาคดีหมายเลขแดงที่ คมจ. 1/2566 ของศาลฎีกา ปญหาต้องวินิจฉัยประการแรกมีวา การไตสวนคดีนี้ในชั้นคณะกรรมการ ป.ป.ช. ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ จําเลยให้การต่อสูวา ในชั้นไตสวนของคณะกรรมการ ป.ป.ช. โดยคณะกรรมการไตสวน จําเลยขอขยายระยะเวลายื่นคําชี้แจงแกขอกลาวหา และมีหนังสือ ไปยังกรมทรัพยากรน้ําบาดาล ผานรัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพื่อขอเอกสารมาประกอบคําชี้แจงแกขอกลาวหา คือ แบบแปลนการกอสราง ประมาณราคาคากอสราง และรายละเอียดที่กรมทรัพยากรน้ําบาดาลเป็นผู้ดําเนินการเอง แต่จําเลยยังไม่ได้รับเอกสาร จําเลยจึงมีหนังสือลงวันที่ 4 มิถุนายน 2563 (ที่ถูก 2564) ขอให้ประธานกรรมการไตสวน ้ หนา 13 ่ เลม 140 ตอนที่ 40 ก ราชกิจจานุเบกษา 3 กรกฎาคม 2566

ดําเนินการติดตามและเรงรัดเอกสารดังกลาว แต่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กลับไม่ดําเนินการเรียกเอกสาร ตามคําขอของจําเลย และจําเลยมีหนังสือลงวันที่ 8 มิถุนายน 2563 (ที่ถูก 2564) ขอให้ประธานกรรมการไตสวนเรียกพยานบุคคล คือ พันตํารวจเอก ทวี สอดสอง นายชาดา ไทยเศรษฐ นางสาวแนน บุณยธิดา สมชัย และ นายจักรัตน์ พั้วชวย มาไตสวน แต่คณะกรรมการไตสวนเรียก นางสาวแนน เพียงคนเดียวมาไตสวน โดยไม่ได้บันทึกเหตุผลไวในสํานวนการไตสวนหรือรายงานการไตสวนเบื้องตน และเรงรีบสรุปสํานวน อันเป็นการไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกัน และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มาตรา 46 และระเบียบคณะกรรมการปองกัน และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ วาด้วยการตรวจสอบและไตสวน พ.ศ. 2561 ขอ 77 การไตสวนของคณะกรรมการ ป.ป.ช. จึงไม่ชอบด้วยกฎหมาย นั้น เห็นวา ในปญหานี้ตามพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ พ.ศ. 2561 มาตรา 46 บัญญัติให้คณะกรรมการไตสวนต้องดําเนินการเพื่อให้ได้ขอเท็จจริงที่ถูกต้องตรงตามความเป็นจริงที่เกิดขึ้น ไม่วาจะเป็นคุณหรือเป็นโทษต่อผู้ถูกกลาวหา พยานหลักฐานใดที่ผู้ถูกกลาวหานําสง คณะกรรมการไตสวน จะไม่รับด้วยเหตุลวงเลยเวลาหรือผิดขั้นตอนมิได้ เวนแต่คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะมีมติชี้มูลแล้ว หรือเห็นวาผู้ถูกกลาวหาจงใจประวิงเวลาหรือใชสิทธิโดยไม่สุจริต และในกรณีที่ผู้ถูกกลาวหา ขอให้คณะกรรมการไตสวน เรียกบุคคลหรือเอกสารจากบุคคลใด ให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือพนักงานไตสวนดําเนินการตามที่รองขอ แต่ผู้ถูกกลาวหาต้องรองขอภายในสามสิบวัน นับแต่วันที่ได้รับแจงขอกลาวหา ทั้งนี้ เวนแต่คณะกรรมการไตสวนเห็นวาผู้ถูกกลาวหาจงใจประวิงเวลา หรือใชสิทธิโดยไม่สุจริต หรือบุคคลหรือเอกสารที่ขอให้เรียกนั้นไม่มีผลต่อการวินิจฉัยของคณะกรรมการ ป.ป.ช. แต่ต้องบันทึกเหตุนั้นไวในสํานวนการไตสวนหรือรายงานการไตสวนเบื้องตนด้วย ซึ่งตามระเบียบ คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ วาด้วยการตรวจสอบและไตสวน พ.ศ. 2561 ขอ 77 กําหนดไวทํานองเดียวกัน และตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกัน และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ พ.ศ. 2561 มาตรา 70 ในการไตสวน หากคณะกรรมการไตสวน เห็นวามีพยานหลักฐานเพียงพอที่จะสนับสนุนขอกลาวหาวามีมูลความผิด กรรมการหรือพนักงานไตสวน แจงให้ผู้ถูกกลาวหาทราบและกําหนดระยะเวลาตามสมควรที่ผู้ถูกกลาวหาจะมาชี้แจงขอกลาวหา และแสดงพยานหลักฐานหรือนําพยานบุคคลมาให้ปากคําประกอบการชี้แจง ดังนี้ การไตสวนพยานหลักฐาน ้ หนา 14 ่ เลม 140 ตอนที่ 40 ก ราชกิจจานุเบกษา 3 กรกฎาคม 2566

จะมากนอยเพียงใด ยอมเป็นดุลพินิจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือคณะกรรมการไตสวนที่จะไตสวนบุคคล หรือพยานเอกสารใดเป็นพยานก็ได้ และหากเห็นวาขอเท็จจริงตามทางไตสวนเพียงพอแกการวินิจฉัยแล้ว ก็ไม่จําต้องเรียกพยานมาทําการไตสวนอีก หากพยานที่ไม่ไตสวนนั้นเป็นพยานที่ผู้ถูกกลาวหา รองขอให้เรียกมาไตสวนก็จะต้องบันทึกเหตุที่ไม่เรียกให้ไวในสํานวนการไตสวนหรือรายงานการไตสวนเบื้องตนไวด้วย คดีนี้ขอเท็จจริงจากการไตสวนได้ความวา คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีคําสั่งที่ 192/2563 ลงวันที่ 3 พฤศจิกายน 2563 แต่งตั้งคณะกรรมการไตสวนเพื่อดําเนินการไตสวนกรณีกลาวหาจําเลย และ นางนันทนา สงฆประชา วากระทําความผิดต่อตําแหนงหน้าที่ราชการ ตามเอกสารหมาย จ. 6 อันเป็นการแต่งตั้งคณะกรรมการไตสวนโดยชอบแล้ว ต่อมาคณะกรรมการไตสวนได้ทําการไตสวน พยานบุคคล รวม 17 ปาก และรวบรวมพยานเอกสาร 10 รายการ หลังจากนั้น วันที่ 26 มีนาคม 2564 จึงมีบันทึกการแจงขอกลาวหาแกจําเลย และแจงให้จําเลยชี้แจงแกขอกลาวหา ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ถือวาได้รับทราบขอกลาวหา ตามเอกสารหมาย จ. 10 แต่จําเลย ขอขยายระยะเวลายื่นคําชี้แจงแกขอกลาวหา 3 ครั้ง ซึ่งคณะกรรมการไตสวนอนุญาตให้จําเลย ขยายระยะเวลายื่นคําชี้แจงแกขอกลาวหาถึงวันที่ 1 มิถุนายน 2564 ต่อมาวันที่ 4 มิถุนายน 2564 จําเลยมีหนังสือถึงประธานกรรมการไตสวนอางวา จําเลยเพิ่งได้รับหนังสือแจงอนุญาตให้ขยายระยะเวลา เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2564 และเนื่องจากอยู่ในชวงสถานการณแพรระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโควิด - 19 ทําให้การเดินทางไม่สะดวก จึงขอขยายระยะเวลายื่นเอกสารชี้แจงแกขอกลาวหาครั้งที่ 4 เป็นเวลา 30 วัน ถึงวันที่ 2 กรกฎาคม 2564 ตามหนังสือเอกสารหมาย ล.5 แสดงให้เห็นวาจําเลยไม่ได้รองขอให้ คณะกรรมการไตสวนหมายเรียกเอกสารดังกลาวจากกรมทรัพยากรน้ําบาดาลมาเป็นพยานหลักฐาน ประกอบการไตสวนของคณะกรรมการไตสวนโดยตรง เพียงแต่จําเลยขอให้ติดตามและเรงรัด ให้กรมทรัพยากรน้ําบาดาลจัดสงเอกสารให้จําเลยเพื่อจะนํามาประกอบการทําคําชี้แจงแกขอกลาวหา ของตนเทานั้น ซึ่งการที่จําเลยจะอางพยานเอกสารดังกลาว จําเลยชอบที่จะต้องยื่นคําชี้แจงมากอนแล้ว จึงจะอางพยานมาเพื่อสนับสนุนคําชี้แจงแกขอกลาวหา เมื่อขณะนั้นจําเลยยังไม่ได้ยื่นคําชี้แจงแกขอกลาวหา กรณีจึงไม่มีประเด็นตามคําชี้แจงของจําเลยที่คณะกรรมการไตสวนจะต้องพิจารณาเรียกเอกสารมา การที่คณะกรรมการไตสวนใชดุลพินิจไม่ดําเนินการติดตามเรงรัดเอกสารตามที่จําเลยรองขอในกรณีเชนนี้ ถือไม่ได้วาเป็นการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของดังกลาว ที่จําเลยอางวา คณะกรรมการไตสวน ้ หนา 15 ่ เลม 140 ตอนที่ 40 ก ราชกิจจานุเบกษา 3 กรกฎาคม 2566

ไม่เรียกพยานบุคคลตามที่จําเลยรองขอมาไตสวนโดยไม่บันทึกเหตุนั้นไวในรายงานการไตสวนหรือรายงาน การไตสวนเบื้องตน และเรงรีบสรุปสํานวน นั้น ได้ความตามทางไตสวนวา วันที่ 8 มิถุนายน 2564 จําเลยมีหนังสือขอให้ประธานกรรมการไตสวนเรียกพยานบุคคล คือ พันตํารวจเอก ทวี สอดสอง นายชาดา ไทยเศรษฐ นางสาวแนน บุ ณยธิดา สมชัย และ นายจักรัตน์ พั้วชวย มาไตสวน ตามหนังสือเอกสารหมาย ล.6 ซึ่งขณะนั้น จําเลยยังไม่ได้ยื่นคําชี้แจงแกขอกลาวหา แต่คณะกรรมการไตสวนเรียก นางสาวแนน มาไตสวนคนเดียว สวนบุคคลอื่นไม่เรียกมาไตสวนตามที่จําเลยรองขอ โดยคณะกรรมการไตสวน ได้มีการบันทึกเหตุไวในรายงานและสํานวนการไตสวนวา จําเลยยื่นคํารองขอเกินระยะเวลา 30 วัน นับแต่วันได้รับแจงขอกลาวหา ทั้งคํารองมิได้ระบุวา บุคคลดังกลาวเกี่ยวของหรือรูเห็นเหตุการณ เกี่ยวกับการเรียกรับเงิน นายศักดิ์ดา วิเชียรศิลป อธิบดีกรมทรัพยากรน้ําบาดาลเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2563 หรือไม่ อยางไร บุคคลที่จําเลยขอให้เรียกหรือไตสวนไม่มีผลต่อการวินิจฉัยของคณะกรรมการไตสวน และเป็นการจงใจประวิงเวลา หรือใชสิทธิโดยไม่สุจริต จึงมีมติงดเรียกหรือไตสวนพยานบุคคล 3 ปาก ดังกลาว ตามรายงานและสํานวนการไตสวนเอกสารหมาย จ.1 หน้า 77 ถึง 78 จึงเห็นได้วา คณะกรรมการไตสวน ได้พิจารณาแล้วเห็นวาเป็นกรณีจําเลยจงใจประวิงเวลา หรือใชสิทธิโดยไม่สุจริต หรือบุคคล หรือเอกสารที่ขอให้เรียกนั้นไม่มีผลต่อการวินิจฉัยของคณะกรรมการ ป.ป.ช. และได้บันทึกเหตุนั้นไว ในสํานวนการไตสวนหรือรายงานการไตสวนเบื้องตนด้วย ถือได้วามีการปฏิบัติตามกฎหมาย และระเบียบที่เกี่ยวของครบถวนแล้ว นอกจากนั้น เมื่อพิจารณาจากรายงานและสํานวนการไตสวน ของคณะกรรมการไตสวนตามเอกสารหมาย จ. 1 แล้วปรากฏวา ได้มีการไตสวนพยานบุคคลมากถึง 17 ปาก บงชี้วาคณะกรรมการไตสวนมิได้ไตสวนขอเท็จจริงอยางรวบรัด อีกทั้งได้อนุญาตให้จําเลย ขยายระยะเวลายื่นคําชี้แจงแกขอกลาวหาหลายครั้ง จนกระทั่งจําเลยมีหนังสือยื่นคําชี้แจงแกขอกลาวหา พรอมเอกสารต่อคณะกรรมการไตสวนเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2564 ตามเอกสารหมาย จ . 46 อันเป็นการให้โอกาสจําเลยชี้แจงแกขอกลาวหาอยางเต็มที่ หลังจากนั้น วันที่ 29 กันยายน 2564 คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้มีมติชี้มูล แสดงให้เห็นวาคณะกรรมการ ป.ป.ช. มิได้เรงรีบสรุปสํานวน ตามที่จําเลยอาง แต่อยางใด การไตสวนคดีนี้ ในชั้นคณะกรรมการ ป.ป.ช. จึงชอบด้วยกฎหมาย ขออางของจําเลยขอนี้ฟงไม่ขึ้น ้ หนา 16 ่ เลม 140 ตอนที่ 40 ก ราชกิจจานุเบกษา 3 กรกฎาคม 2566

ปญหาต้องวินิจฉัยประการต่อไปมีวา จําเลยได้กระทําตามขอกลาวหาในฟ้องหรือไม่ ทางไตสวนได้ความจาก นายศักดิ์ดา วิเชียรศิลป อธิบดีกรมทรัพยากรน้ําบาดาล เบิกความวา ในการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ เมื่อวันที่ 17 วันที่ 21 และวันที่ 22 กรกฎาคม 2563 จําเลยซึ่งเป็นกรรมาธิการวิสามัญฯ ซักถามและโจมตีเกี่ยวกับงบประมาณและโครงการ ของกรมทรัพยากรน้ําบาดาลวา มีการกําหนดงบประมาณไม่คุมคา การขุดเจาะบอบาดาลมีราคาแพง การบริหารจัดการไม่จัดจางเอกชนเป็นผู้ดําเนินการ รวมถึงการทุจริต โดยมีการนําภาพโครงการมาเสนอ ต่อที่ประชุม แต่ภาพดังกลาวไม่ใชลักษณะบอของกรมทรัพยากรน้ําบาดาล ซึ่ง นายจตุพร บุรุษพัฒน ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมได้ชี้แจงตอบขอซักถาม และพยานกับคณะเจ้าหน้าที่ ก็ได้ชี้แจงตอบขอซักถามไปแล้วเชนกัน แต่จําเลยยังคงติดใจซักถามในคําถามเดิมอยู่ วันที่ 31 กรกฎาคม 2563 กรมทรัพยากรน้ําบาดาลจัดสงเอกสารประกอบการชี้แจงเพิ่มเติม ให้คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ตามเอกสารหมาย จ. 20 และสงไปให้จําเลยด้วย ต่อมาวันที่ 4 สิงหาคม 2563 เวลา 19.07 นาฬิกา ขณะที่พยานอยู่กับ พลตํา รวจตรี วิวัฒน ชัยสังฆะ และเพื่อนชื่อ นายเตอ ที่รานอาหารเบียรหิมะในหมู่บ้านประชานิเวศน 1 นางนันทนา อนุกรรมาธิการแผนงานบูรณการ 2 โทรศัพทมาหาพยานบอกวา มีเรื่องดวนสําคัญให้พยานโทรศัพท ไปที่หมายเลข 08 1872 5959 โดยไม่บอกวาเป็นหมายเลขโทรศัพทของผู้ใดและเรื่องอะไร ซึ่งพยานคิดวานาจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับงบประมาณของกรมทรัพยากรน้ําบาดาลที่จะเขาที่ประชุม คณะอนุกรรมาธิการแผนงานบูรณาการ 2 ต่อมาเวลา 19.10 นาฬิกา พยานจึงโทรศัพท ไปยังหมายเลขดังกลาว แต่ไม่มีผู้รับสาย เวลา 19.20 นาฬิกา ผู้ใชหมายเลขดังกลาวโทรศัพท กลับมาหาพยาน พยานจําเสียงได้วาคือจําเลย เพราะจําเลยเป็นกรรมาธิการวิสามัญฯ และเคยซักถาม เรื่องงบประมาณของกรมทรัพยากรน้ําบาดาล ใชเวลาสนทนากัน 9 นาทีเศษ และเวลา 19.34 นาฬิกา จําเลยโทรศัพทมาหาพยานอีกครั้ง ใชเวลาสนทนากัน 6 นาทีเศษ โดยเรื่องที่สนทนากันทั้งสองครั้งดังกลาว มีใจความสําคัญวา จําเลยแนะนําตัวเองวา เป็นรองประธานคณะอนุกรรมาธิการแผนงานบูรณาการ 2 คนที่หนึ่ง แจงวา “ พรุงนี้ขอเงิน 5 , 000 , 000 บาท ” พยานจึงถามวา “ เหตุใดจึงตัดงบประมาณเยอะจัง ” จําเลยบอกวา “ ไม่ได้ตัดงบประมาณ แต่ขอเป็นเงินสด ” พยานตอบวา “ เงินเยอะขนาดนั้น จะไปหาจากที่ไหน ” จําเลยบอกวา “ ถาอยางนั้น ของานโครงการในภาคอีสานทั้งหมด ” พยานจึงตอบวา “ ไม่ได้ เนื่องจากงานโครงการของกรมทรัพยากรน้ําบาดาล เป็นงานประเภท e-bidding” จําเลยบอกวา ้ หนา 17 ่ เลม 140 ตอนที่ 40 ก ราชกิจจานุเบกษา 3 กรกฎาคม 2566

“ ถาอยางนั้น ของานที่ต่ํากวา 500 , 000 บาท ” ซึ่งพยานเขาใจวางานดังกลาวเป็นงานที่ใชเพียงวิธีตกลงราคา ซึ่งมีประมาณ 360 แห่ง พยานจึงตอบวา “ ไม่ได้ เนื่องจากโครงการที่ต่ํากวา 500 , 000 บาท เจ้าหน้าที่กรมทรัพยากรน้ําบาดาลจะเป็นผู้ดําเนินการเองอยู่แล้ว ” จําเลยบอกวา “ ถาไม่ให้ก็จะตัดงบประมาณ ของกรม 10 เปอรเซ็นต ” พยานจึงบอกวา “ หากจะตัดงบประมาณ 10 เปอรเซ็นต ของแต่ละโครงการแบบนั้น กรมทรัพยากรน้ําบาดาลจะทํางานไม่ได้ หากจะตัดให้ตัดเป็นโครงการ หรือเป็นรายแห่ง ” การสนทนาดังกลาว มิได้สนทนาต่อเนื่องในครั้งเดียว เนื่องจากมีปญหาสัญญาณโทรศัพทหลุด ต้องโทรศัพทติดต่อหากันหลายครั้ง ตามขอมูลการใชงานโทรศัพทเคลื่อนที่เอกสารหมาย จ. 25 หลังจากพยานเดินทางออกจาก รานอาหารเบียรหิมะแล้ว ในคืนนั้นเวลา 21.25 นาฬิกา พยานโทรศัพทผานแอปพลิเคชันไลนไปหา นายภาดล ถาวรกฤชรัตน์ อธิบดีกรมทรัพยากรน้ํา เลาให้ นายภาดล ฟงวา จําเลยโทรศัพทมาเรียกเงินพยาน 5 , 000 , 000 บาท และโทรศัพทผานแอปพลิเคชันไลนไปเลาเรื่องดังกลาวให้ นายสุรินทร ผู้อํานวยการสํานักพัฒนาน้ําบาดาลฟงด้วย บอกให้ นายสุรินทร เตรียมขอมูลเพื่อไปชี้แจงให้พรอม นอกจากนี้ วันรุงขึ้นเวลา 7.55 นาฬิกา พยานยังได้โทรศัพทไปเลาให้ นายนริศ ขํานุรักษ์ ซึ่งเป็นเพื่อนพยานและเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฟงอีกคนด้วย วันที่ 5 สิงหาคม 2563 ชวงเชา คณะอนุกรรมาธิการแผนงานบูรณาการ 2 ประชุมพิจารณางบประมาณกรมทรัพยากรน้ําบาดาล จําเลยเขารวมประชุมตั้งขอสังเกตและซักถามเกี่ยวกับโครงการที่กรมทรัพยากรน้ําบาดาลเป็นผู้ดําเนินการเอง เกี่ยวกับคาเจาะบอบาดาลราคา 171 , 000 บาท การเบิกจายเงินงบประมาณ และการกําหนดอัตราราคางาน ต่อหนวยที่เทากันทุกจังหวัด ในชวงแรกพยานเป็นผู้ชี้แจงด้วยตัวเอง แล้วให้ นายกุศล โชติรัตน์ รองอธิบดีกรมทรัพยากรน้ําบาดาล และ นายสุรินทร เป็นผู้ชี้แจงเกี่ยวกับงานดานเทคนิคการขุดเจาะบอบาดาล ที่หนวยงานดําเนินการเอง แต่จําเลยยังคงติดใจซักถามวามีการกําหนดราคาแพง และซักถามเกี่ยวกับ การเบิกจายคาน้ํามันกับคาเบี้ยเลี้ยงตาง ๆ ระหวางนั้นพยานลุกเดินออกจากหองประชุมไปเขาหองน้ํา ได้พบกับ นางวันทนา อาชีววิทย ผู้อํานวยการสวนงบประมาณกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม 1 สํานักงบประมาณ พยานพูดกับ นางวันทนา วา ตนอายที่กรมทรัพยากรน้ําบาดาล ถูกคณะอนุกรรมาธิการซักถามเยอะ และเลาให้ นางวันทนา ฟงวา คืนวันที่ 4 สิงหาคม 2563 มีอนุกรรมาธิการโทรศัพทมาเรียกเงิน 5 , 000 , 000 บาท จากนั้น พยานกลับเขาหองประชุม และยืนขึ้นพูดวา “ พูดกันไม่รูเรื่องหรอก เพราะเมื่อคืนนี้มีอนุกรรมาธิการคนหนึ่งโทรไปหาผม ตบทรัพย์ผม 5 , 000 , 000 บาท ผมจะไปแถลงขาว ” และมี นายศรัณยวุฒิ ศรัณยเกตุ ้ หนา 18 ่ เลม 140 ตอนที่ 40 ก ราชกิจจานุเบกษา 3 กรกฎาคม 2566

อนุกรรมาธิการแผนงานบูรณาการ 2 พูดขึ้นวาจะพาพยานไปแถลงขาว ประธานจึงสั่งพักการประชุม ในชวงบายจําเลยไม่เขารวมประชุม บรรยากาศในการประชุมเปลี่ยนไปจากชวงเชา คณะอนุกรรมาธิการ สอบถามพยานวา กรมทรัพยากรน้ําบาดาลจะตัดลดงบประมาณเทาใด พยานขอตัดรอยละ 1 เป็นเงินประมาณ 12 , 000 , 000 บาท แต่ประธานคณะอนุกรรมาธิการขอให้ตัดงบประมาณ 15 , 000 , 000 บาท และพยานยินยอมให้ปรับลดงบประมาณตามจํานวนดังกลาว ตามรายงาน การประชุมเอกสารหมาย จ.21 หน้า 1157/1 ถึง 1168/1 พยานไม่ได้บันทึกเสียงสนทนา ระหวางพยานกับจําเลยไว สวนจําเลยนําสืบอางตนเองเป็นพยานเบิกความวา จําเลยโทรศัพทไปหา นายศักดิ์ดา พูดคุยเรื่องเอกสารแบบแปลนและประมาณการโครงการขุดเจาะบอบาดาล จําเลยไม่ได้เรียกเงิน นายศักดิ์ดา นั้น องคคณะผู้พิพากษามีมติเสียงขางมากเห็นวา โจทก์มี นายศักดิ์ดา เป็นประจักษพยาน ที่รูเห็นเรื่องที่จําเลยโทรศัพทมาพูดเรียกเงินและของานจาก นายศักดิ์ดา แต่จําเลยเบิกความปฏิเสธ คําเบิกความของ นายศักดิ์ดา และคําเบิกความของจําเลยมีลักษณะโตแยงยันกันอยู่ จึงต้องพิจารณาพยาน พฤติเหตุแวดลอมประกอบกัน เมื่อพิจารณาคําเบิกความของ นายศักดิ์ดา ระบุเหตุการณเริ่มตั้งแต่ ในการประชุมคณะอนุกรรมาธิการแผนงานบูรณาการ 2 จําเลยได้พยายามซักถามซ้ําประเด็นเดิม ในลักษณะโจมตีงบประมาณอยางผิดปกติ จนกระทั่งสุดทายเมื่อจําเลยไม่เขาประชุมงบประมาณ ของกรมทรัพยากรน้ําบาดาลจึงผานไปได้โดยใชเวลาไม่นาน อันเป็นขอบงชี้วาจําเลยไม่ได้ซักถาม เรื่องงบประมาณดังกลาวในฐานะอนุกรรมาธิการตามปกติทั่วไป อีกทั้งจําเลยดํารงตําแหนง เป็นรองประธานคณะอนุกรรมาธิการแผนงานบูรณาการ 2 คนที่หนึ่ง หากจําเลยเพียงแต่ต้องการ เอกสารแบบแปลนและประมาณราคา จําเลยก็สามารถมอบหมายให้ฝ่ายเลขานุการของ คณะอนุกรรมาธิการแผนงานบูรณาการ 2 ดําเนินการให้ตามทางปฏิบัติที่เคยกระทํากันมาได้อยู่แล้ว ไม่มีความจําเป็นถึงขนาดที่จําเลยจะต้องโทรศัพทติดต่อกับ นายศักดิ์ดา ด้วยตนเองโดยไม่มีบุคคลอื่น ได้ยินขอความสนทนาระหวางจําเลยกับ นายศักดิ์ดา ทั้งถอยคําที่จําเลยพูดคุยกับ นายศักดิ์ดา ยังเกี่ยวพันไปถึงการขอเขาเป็นผู้รับจางงานกอสรางของกรมทรัพยากรน้ําบาดาลอันเป็นเรื่องเฉพาะตัว ของจําเลย ประกอบกับ นายศักดิ์ดา เป็นขาราชการชั้นผู้ใหญ ดํารงตําแหนงอธิบดีกรมทรัพยากรน้ําบาดาล เพิ่งรูจักจําเลยครั้งแรกในการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ แมจําเลยจะมีขอสังเกตและคําซักถาม เกี่ยวกับงบประมาณของกรมทรัพยากรน้ําบาดาลหลายประเด็น รวมทั้งมีการขอเอกสารแบบแปลน และประมาณราคากอสรางด้วย ซึ่งทําให้การชี้แจงตอบขอซักถามของหนวยงานมีความยุงยาก ้ หนา 19 ่ เลม 140 ตอนที่ 40 ก ราชกิจจานุเบกษา 3 กรกฎาคม 2566

มากกวาปที่ผานมาดังที่ นายชาดา ไทยเศรษฐ และ พันตํารวจเอก ทวี สอดสอง ได้เบิกความ ในคดีหมายเลขดําที่ คมจ. 4/2564 ของศาลฎีกา วา นายศักดิ์ดา มีอารมณขุนเคืองจําเลยก็ตาม แต่ขอนี้ก็เป็นความขัดแยงกันเพียงเล็กนอยเห็นได้จากที่ทั้งสองฝ่ายยังคงโทรศัพทพูดคุยกันเป็นเวลานาน เหตุดังกลาวจึงไม่นาจะทําให้ นายศักดิ์ดา โกรธเคืองถึงขนาดสรางเรื่องขึ้นมาใสรายจําเล ย ซึ่งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรด้วยเรื่องรายแรงโดยปราศจากมูลความจริง เพราะเป็นการเสี่ยงที่ นายศักดิ์ดา อาจถูกดําเนินคดีทั้งทางอาญาและทางวินัยซึ่งจะมีผลกระทบต่อหน้าที่การงานของตนได้ หลังเกิดเหตุ นายศักดิ์ดา ได้โทรศัพทผานแอปพลิเคชันไลนไปเลาเรื่องที่เกิดขึ้นให้ นายภาดล อธิบดีกรมทรัพยากรน้ํา และ นายสุรินทร ผู้อํานวยการสํานักพัฒนาน้ําบาดาล ฟงวาจําเลยโทรศัพทมาเรียกเงินหรือของาน และ นายนริศ ขํานุรักษ์ พยานโจทก์ซึ่งดํารงตําแหนงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เป็นพยานเบิกความวา วันที่ 5 สิงหาคม 2563 เวลา 7.55 นาฬิกา นายศักดิ์ดา โทรศัพทมาเลาวามีอนุกรรมาธิการ โทรศัพทมาเรียกเงิน 5 , 000 , 000 บาท หากไม่ให้จะตัดงบประมาณ แต่ไม่บอกวาผู้เรียกเงินคือใคร พยานโจทก์ทั้งสามปากตางเบิกความยืนยันตรงกันวา นายศักดิ์ดา แจงวามีอนุกรรมาธิการคนหนึ่ง เรียกเงิน 5 , 000 , 000 บาท จาก นายศักดิ์ดา โดย นายภาดล และ นายสุรินทร เบิกความวา นายศักดิ์ดา บอกวาคนที่เรียกเงินคือจําเลย โดยบอกในคืนเกิดเหตุทันทีหลังจากพูดคุยทางโทรศัพทกับจําเลย ทั้งเมื่อพิจารณาจากระยะเวลาที่จําเลยโทรศัพทคุยกับ นายศักดิ์ดา เมื่ อเวลา 19.20 นาฬิกา เป็นเวลา 9 นาทีเศษ และเวลา 19.34 นาฬิกา เป็นเวลา 6 นาทีเศษ รวมประมาณ 15 นาที ตามขอมูลการใชงานโทรศัพทเคลื่อนที่เอกสารหมาย จ.25 แสดงให้เห็นวาจําเลยและ นายศักดิ์ดา พูดคุยทางโทรศัพทเป็นระยะเวลานานสอดคลองกับที่ นายศักดิ์ดา กลาวอางวามีการเจรจาต่อรอง จนนําไปสูการเรียกเงิน จํานวน 5 , 000 , 000 บาท เมื่อไม่ได้จึงเปลี่ยนมาของานแทนตามลําดับ ซึ่งหากเป็นการพูดคุยแคเรื่องขอเอกสารแบบแปลนก็ไม่นาจะต้องใชระยะเวลานานมากถึงเพียงนี้ นอกจากนี้ เหตุการณดังกลาวเกี่ยวของเชื่อมโยงกับบุคคลดังกลาวหลายคน จึงไม่นา เป็นไปได้ที่ นายศักดิ์ดา จะคิดวางแผนสรางเรื่องโดยโทรศัพทไปบอกพยานโจทก์ทั้งสามวาถูกจําเลยเรียกเงิน หรือของานตั้งแต่หลังการประชุมคณะอนุกรรมาธิการ ทั้งยังปรากฏขอเท็จจริงวา นางนันทนา เป็นฝ่ายติดต่อกับ นายศักดิ์ดา ให้โทรศัพทไปหาจําเลยกอน พฤติการณที่เกิดขึ้นจึงไม่อยู่ในวิสัยที่ นายศักดิ์ดา จะวางแผนให้จําเลยเป็นฝ่ายเริ่มติดต่อมากอน ยิ่งกวานั้น ในวันรุงขึ้น เมื่อมีการประชุมคณะอนุกรรมาธิการ แผนงานบูรณาการ 2 นายศักดิ์ดา ก็ได้พูดขึ้นมาในที่ประชุมยืนยันวา เมื่อคืนนี้มีอนุกรรมาธิการคนหนึ่ง ้ หนา 20 ่ เลม 140 ตอนที่ 40 ก ราชกิจจานุเบกษา 3 กรกฎาคม 2566

โทรไปหาผม ตบทรัพย์ผม 5 , 000 , 000 บาท ซึ่งมีลักษณะเป็นการพูดโตตอบด้วยความอัดอั้นกดดัน จากเหตุการณที่เกิดขึ้นในคืนเกิดเหตุโดยยังไม่ระบุชื่อจําเลยวาเป็นผู้เรียกเงินหรือของาน แสดงวา นายศักดิ์ดา เพียงแต่ต้องการให้จําเลยหยุดซักถามเทานั้น ซึ่งหากจําเลยไม่โทรศัพทเรียกเงินและของานก็ไม่มีเหตุที่ นายศักดิ์ดา จะต้องพูดเรื่องที่รายแรงเชนนี้ในที่ประชุม หลังจากนั้น ชวงบายจําเลยก็ไม่เขาประชุม คณะอนุกรรมาธิการแผนงานบูรณาการ 2 เพื่อซักถามโตแยงงบประมาณของกรมทรัพยากรน้ําบาดาลอีก นอกจากนี้ ขอเท็จจริงยังได้ความจากที่ นายภาดล พยานโจทก์เบิกความอีกวา ในคืนเกิดเหตุเวลาประมาณ 19 นาฬิกา นางนันทนา โทรศัพทผานแอปพลิเคชันไลนมาบอกให้พยานโทรศัพทไปหาจําเลย เรื่องงบประมาณกรมทรัพยากรน้ําที่จะเขาที่ประชุมพรุงนี้ พยานจึงโทรศัพทไปหาจําเลยกอน ต่อมาเวลา 19.15 นาฬิกา จําเลยโทรศัพทกลับมาหาพยาน สอบถามเกี่ยวกับงบประมาณกรมทรัพยากรน้ําวา มีงบอะไรบาง ลงที่ไหน และเวลา 19.50 นาฬิกา จําเลยโทรศัพทมาหาพยานอีกครั้ง สอบถามเกี่ยวกับ งานกอสรางของกรมทรัพยากรน้ําวา ทําอยางไรบาง ตนเป็นผู้รับเหมางานกอสราง งบประมาณกรมทรัพยากรน้ํา มีกี่ประเภท พยานอธิบายและขอรองวาอยาตัดงบประมาณเลย แล้วจําเลยสอบถามวา บริหารงบประมาณอยางไร พยานตอบวา ต้องทํา e-bidding ตั้งแต่มี e-bidding มีการฟนราคามา 4 ถึง 5 ป แล้ว ซึ่ งจําเลยพูดวา อยางนี้ก็บริหารไม่ได้สิ ผมเป็นผู้รับเหมา ผมมาคุมชวยมั้ย พยานตอบวา ยินดี เนื่องจากเป็นการทํา e-bidding ซึ่งพยานเขาใจวาการพูดดังกลาวเป็นการพูดของาน หลังจากนั้น เวลา 21.25 นาฬิกา นายศักดิ์ดา โทรศัพทผานแอปพลิเคชันไลนมาสอบถามพยานวา มีอนุกรรมาธิการโทรศัพทมาหาหรือไม่ พยานตอบวา มีอนุกรรมาธิการโทรศัพทมาเกี่ยวกับ เรื่องงบประมาณที่จะเขาพรุงนี้วามีงบอะไรบาง นายศักดิ์ดา เลาวา ของผม เขาเรียกเงินผม 5 , 000 , 000 บาท แต่ผมไม่ให้เพราะไม่มี ซึ่ง นายศักดิ์ดา บอกชื่อจํา เลยให้ทราบด้วย นายภาดล ไม่ได้สรางเรื่องกลาวหาจําเลยจึงมีลักษณะเป็นคนกลาง คําเบิกความของ นายภาดล จึงมีน้ําหนักให้รับฟง จากคําเบิกความของ นายภาดล ในสวนนี้แสดงให้เห็นวาจําเลยขอรับงานจาก นายภาดล ซึ่งเป็นการกระทํา ในลักษณะเดียวกันกับที่จําเลยพูดคุยกับ นายศักดิ์ดา ในชวงเวลาใกลเคียงกัน เมื่อพิจารณาประกอบกับวา นายศักดิ์ดา และ นายภาดล ตางดํารงตําแหนงอธิบดีกรมที่จะต้องไปชี้แจงเกี่ยวกับงบประมาณ ต่อคณะอนุกรรมาธิการแผนงานบูรณาการ 2 ที่มีจําเลยเป็นรองประธานในวันรุงขึ้น พฤติการณบงชี้วา จําเลยโทรศัพทไปเจรจาต่อรองผลประโยชนจากโครงการที่จําเลยกําลังมีสวนในการพิจารณางบประมาณดังที่ นายศักดิ์ดา และ นายภาดล พยานโจทก์ทั้งสองปากเบิกความ คําเบิกความของ นายศักดิ์ดา จึงมีเหตุผล ้ หนา 21 ่ เลม 140 ตอนที่ 40 ก ราชกิจจานุเบกษา 3 กรกฎาคม 2566

และสอดคลองเชื่อมโยงกับพยานอื่นทําให้มีน้ําหนักนาเชื่อถือ สวนขอที่ นายศักดิ์ดา พูดต่อที่ประชุมวา ได้บันทึกเสียงสนทนาระหวาง นายศักดิ์ดา กับจําเลยไว แต่ความจริงไม่มีการบันทึกเสียงสนทนานั้น ได้ความตามรายงานการประชุมเอกสารหมาย จ.21 หน้า 1155/1 ถึง 1156/1 วา กอนที่ นายศักดิ์ดา จะพูดถอยคําดังกลาว จําเลยกับ นายศักดิ์ดา มีการซักถามชี้แจงโตตอบกันไปมา โดยจําเลยยังคงซักถาม เกี่ยวกับโครงการเจาะบอบาดาลแห่งละ 171 , 000 บาท ที่กรมทรัพยากรน้ําบาดาลดําเนินการเองวา มีราคาแพงกวาการวาจางเอกชน และมีขอสงสัยเกี่ยวกับการเบิกจายเงินคาเบี้ยเลี้ยงและคาน้ํามัน นายศักดิ์ดา ได้พูดวา ถาจะประมูลเพื่อเอกชนเจาะ ถาบอเสียหายขอให้ทานรับผิดชอบ ผมยินดี เผื่อทานจะมาประมูลงาน แล้วจําเลยพูดตอบวา ผมไม่ใชผู้รับเหมา ซึ่งราคาเจาะบอบาดาล ผู้แทนสํานักงบประมาณได้ชี้แจงไปแล้ววา กําหนดตามอัตราราคางานต่อหนวยตามบัญชีมาตรฐาน ของสํานักงบประมาณ พฤติการณแสดงให้เห็นวาขณะนั้น นายศักดิ์ดา พูดถอยคําดังกลาวออกไป ด้วยอารมณเพียงเพื่อที่จะโตตอบจําเลย ทั้งภายหลัง นายศักดิ์ดา ก็ยอมรับเองวาไม่มีการบันทึกเสียง ขอนี้จึงไม่ถึงกับเป็นพิรุธทําให้คําเบิกความของ นายศักดิ์ดา มีน้ําหนัก ลดนอยลงจนไม่นาเชื่อถือ แม นายศักดิ์ดา จะเบิกความตอนหนึ่งวา พยานเคยไปให้ถอยคําต่อคณะกรรมาธิการปองกันและปราบปราม การทุจริตประพฤติมิชอบ สภาผู้แทนราษฎร และคณะกรรมาธิการกฎหมาย การยุติธรรม และสิทธิมนุษยชน สภาผู้แทนราษฎร แต่พยานไม่ได้บอกชื่อและหมำยเลขโทรศัพทของบุคคลที่โทรศัพทมาก็ตาม แต่ นายศักดิ์ดา ก็ได้ทําบันทึกชี้แจงขอเท็จจริงต่อปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ฉบับลงวันที่ 10 สิงหาคม 2563 กับไปให้ถอยคําต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในครั้งแรกเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2563 ตามเอกสารหมาย จ.24 และ จ.28 โดยระบุหมายเลขโทรศัพท และตําแหนงของผู้ที่ติดต่อมาเรียกเงินหรือของานแล้ว ซึ่งเป็นการระบุถึงขอเท็จจริงที่สามารถ เชื่อมโยงถึงตัวจําเลยได้แล้ว จึงนําไปสูการตรวจสอบขอมูลการใชโทรศัพทระหวาง นายศักดิ์ดา กับจําเลยตามเอกสารหมาย จ.25 ทั้งต่อมา นายศักดิ์ดา ก็ให้ถอยคําเพิ่มเติมยืนยันขอเท็จจริงวา บุคคลที่โทรศัพทมาเรียกเงินหรือของานคือจําเลย สวนที่ นายศักดิ์ดา ทําบันทึกชี้แจงขอเท็จจริง ต่อปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และไปให้ถอยคําต่อพนักงานเจ้า หน้าที่ของ คณะกรรมการ ป.ป.ช. วา นายศักดิ์ดา โทรศัพทไปเลาให้ นายภาดล ฟงและถามวา มีคนโทรมาหา และขอเงินหรือไม่ นายภาดล ตอบวา มี ขอผม 10 , 000 , 000 บาท แต่ผมไม่ยอม ซึ่งไม่ตรงกับที่ นายภาดล ได้ให้ถอยคําวา จําเลยไม่ได้เรียกเงินจาก นายภาดล นั้น เห็นวา นายภาดล ให้ถอยคํา ้ หนา 22 ่ เลม 140 ตอนที่ 40 ก ราชกิจจานุเบกษา 3 กรกฎาคม 2566

และเบิกความตรงกับคําเบิกความของ นายศักดิ์ดา ในสาระสําคัญวา นายศักดิ์ดา เลาเรื่องจําเลย โทรศัพทมาเรียกเงินจาก นายศักดิ์ดา สวนที่จําเลยจะเรียกเงินจาก นายภาดล ด้วยหรือไม่ เป็นเรื่องระหวางจําเลยกับ นายภาดล ซึ่งเป็นคนละสวนกัน จึงไม่ใชขอพิรุธอีกเชนกัน สวนที่จําเลยเบิกความวา จําเลยโทรศัพทไปขอแบบแปลนจาก นายศักดิ์ดา โดยไม่ได้เรียกเงินหรือของานจาก นายศักดิ์ดา นั้น หากจําเลยพูดคุยในเรื่องขอแบบแปลนในหองประชุมดังที่อาง จําเลยยอมจะพูดได้อยางเปดเผย จึงนาจะมีบุคคลอื่นได้ยินขอความสนทนาได้บาง แต่ นางนันทนา ที่โทรศัพทติดต่อ นายศักดิ์ดา หรือ นายจักรัตน์ ตางก็ไม่ทราบวาจําเลยพูดคุยกับ นายศักดิ์ดา ในเรื่องใด คําเบิกความของจําเลย จึงเลื่อนลอยไม่มีน้ําหนักให้รับฟง ที่จําเลยอางวาขณะที่จําเลยกําลังพูดคุยโทรศัพทกับ นายศักดิ์ดา นางนันทนา มาขอโทรศัพทจากจําเลยไปพูดคุยกับ นายศักดิ์ดา โดย นางนันทนา เดินออกไปพูดคุยโทรศัพท กับ นายศักดิ์ดา นอกหองประชุม แล้วนําโทรศัพทซึ่งได้วางสายไปกอนแล้วมาคืนจําเลย นั้น ขอนี้ได้ความจาก นางนันทนา เบิกความวา นางนันทนา ไม่ได้ขอโทรศัพทจากจําเลยในขณะที่จําเลย กําลังพูดคุยอยู่กับ นายศักดิ์ดา ที่จําเลยอางวา นายศักดิ์ดา ไม่เลาเหตุการณให้ พลตํารวจตรี วิวัฒน และ นายเตอ ฟงนั้น ก็ไม่ใชเรื่องผิดปกติ เพราะจําเลยมีตําแหนงเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งเรื่องดังกลาวเป็นเรื่องรายแรงและไม่เกี่ยวของกับบุคคลทั้งสอง การที่ นายศักดิ์ดา ไม่เลาให้บุคคลทั้งสองฟง จึงไม่ใชขอพิรุธ และที่จําเลยอางวา หลังเกิดเหตุ นายศักดิ์ดา ไม่รองทุกขกลาวโทษดําเนินคดีแกจําเลยนั้น ได้ความวาหลังเกิดเหตุคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีการตรวจสอบขอเท็จจริงเบื้องตนและต่อมาได้แต่งตั้ง คณะกรรมการไตสวนเพื่อดําเนินการไตสวนเรื่องนี้แล้ว นายศักดิ์ดา จึงไม่จําต้องไปรองทุกขกลาวโทษจําเลยอีก ขออางของจําเลยขอนี้ฟงไม่ขึ้นจากเหตุผลที่วินิจฉัยมาแล้วขางตน พยานหลักฐานที่ไตสวนมามีน้ําหนักมั่นคง รับฟงได้วา จําเลยได้กระทําตามขอกลาวหาในฟ้องจริง พยานหลักฐานของจําเลยไม่มีน้ําหนัก หักลางพยานหลักฐานโจทก์ได้ ปญหาต้องวินิจฉัยประการสุดทายมีวา การกระทําของจําเลยเป็นความผิดตามฟ้องหรือไม่ เห็นวา จําเลยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรรมาธิการวิสามัญพิจาร ณารางพระราชบัญญัติ งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 และอนุกรรมาธิการแผนงานบูรณาการ 2 ในคณะกรรมาธิการวิสามัญดังกลาว จึงเป็นผู้ดํารงตําแหนงทางการเมือง และเจ้าพนักงานของรัฐ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 และเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ มีมติให้กําหนดกรอบแนวทาง ้ หนา 23 ่ เลม 140 ตอนที่ 40 ก ราชกิจจานุเบกษา 3 กรกฎาคม 2566

การพิจารณาของคณะอนุกรรมาธิการแผนงานบูรณาการ 2 ดังนี้ 1. ขอบเขตอํานาจหน้าที่ ในการพิจารณางบประมาณ 2. กรอบแนวทางในการพิจารณา และ 3. หลักเกณฑการปรับลด งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 จํานวน 9 ขอ ตามเอกสารหมาย จ. 19 หน้า 926 ถึง 932 จําเลยในฐานะอนุกรรมาธิการแผนงานบูรณาการ 2 ยอมมีอํานาจหน้าที่เสนอความเห็น ตามกรอบแนวทางการพิจารณา รวมถึงสามารถเสนอความเห็นในการปรับลดงบประมาณของหนวยงาน ต่อที่ประชุมคณะอนุกรรมาธิการแผนงานบูรณาการ 2 เพื่อให้ที่ประชุมพิจารณาลงมติเห็นชอบได้ และเสนอคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ พิจารณาต่อไป ดังนั้น จําเลยจึงสามารถซักถามและเสนอความเห็น ต่อที่ประชุมได้ และมีสิทธิลงมติในทุกขั้นตอนของการพิจารณางบประมาณ โดยเฉพาะในฐานะ กรรมาธิการวิสามัญฯ จําเลยมีสิทธิชี้แจงเสนอความเห็นเกี่ยวกับงบประมาณต่อที่ประชุม หากจําเลยยังติดใจ ในงบประมาณสวนใดก็มีสิทธิขอสงวนความเห็นเพื่ออภิปรายในสภาผู้แทนราษฎรได้ด้วย และขอนี้ นายสรเดช ธรรมสาร นิติกรชํานาญการ กลุ่มงานคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณารางพระราชบัญญัติ งบประมาณรายจายประจําป สํานักกรรมาธิการ 1 สํานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ปฏิบัติหน้าที่เป็น ฝ่ายเลขานุการในคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ และผู้ชวยเลขานุการประจําคณะอนุกรรมาธิการ แผนงานบูรณาการ 2 เป็นพยานเบิกความวา คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ยังคงมีอํานาจพิจารณา ปรับลดงบประมาณที่ผานการพิจารณาของคณะอนุกรรมาธิการมาแล้วหรือไม่ก็ได้ ทั้งนี้ หนวยงานที่ถูกปรับลด งบประมาณสามารถยื่นอุทธรณผลการพิจารณาของคณะอนุกรรมาธิการต่อคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ได้ ซึ่งขอเท็จจริงก็ฟงเป็นยุติวา ทายที่สุดคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณารางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจาย ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ได้พิจารณาปรับลดงบประมาณของกรมทรัพยากรน้ําบาดาล 15 , 000 , 000 บาท ตามที่คณะอนุกรรมาธิการแผนงานบูรณาการ 2 เสนอ ดังนี้ แมจําเลยเพียงคนเดียว จะไม่มีอํานาจเด็ดขาดในการปรับลดงบประมาณของกรมทรัพยากรน้ําบาดาลดังที่จําเลยอาง เพราะผลการพิจารณาต้องเป็นไปตามมติที่ประชุมก็ตาม แต่การเสนอความเห็นเกี่ยวกับงบประมาณ ในขั้นตอนตาง ๆ ดังกลาวถือได้วาเป็นอํานาจหน้าที่ของจําเลย ซึ่งจําเลยอาจเสนอความเห็นให้คุณ หรือให้โทษแกงบประมาณของหนวยราชการที่พิจารณา การที่จําเลยโทรศัพทไปเรียกเงินและของานจาก นายศักดิ์ดา ในการพิจารณางบประมาณของกรมทรัพยากรน้ําบาดาล ยอมเป็นการกระทําในตําแหนง และอยู่ในอํานาจหน้าที่ของจําเลยโดยตรง การกระทําของจําเลยดังกลาวจึงเป็นการเรียก รับ หรือยอมจะรับทรัพย์สิน หรือประโยชนอื่นใดสําหรับจําเลยโดยมิชอบ เพื่อกระทําการหรือไม่กระทําการอยางใด ้ หนา 24 ่ เลม 140 ตอนที่ 40 ก ราชกิจจานุเบกษา 3 กรกฎาคม 2566

ในตําแหนงของจําเลย ไม่วาการนั้นจะชอบหรือมิชอบด้วยหน้าที่ และเป็นการปฏิบัติหรือละเวน การปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายแกกรมทรัพยากรน้ําบาดาล และราชการ หรือละเวนการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริตตามฟ้อง อนึ่ง เมื่อการกระทําของจําเลยเป็นความผิด ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มาตรา 173 และประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 149 ซึ่งเป็นบทเฉพาะแล้ว จึงไม่จําต้องปรับบทความผิด ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มาตรา 172 และประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 ซึ่งเป็นบททั่วไปอีก อนึ่ง พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มาตรา 81 วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “…ในกรณีที่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดํารงตําแหนง ทางการเมืองมีคําพิพากษาวาผู้ถูกกลาวหากระทําความผิดตามที่ถูกกลาวหา ให้ผู้ต้องคําพิพากษานั้น พนจากตําแหนงนับแต่วันหยุดปฏิบัติหน้าที่ และให้เพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้งของผู้นั้น และจะเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งมีกําหนดเวลาไม่เกินสิบปด้วยหรือไม่ก็ได้ ” และวรรคสอง บัญญัติวา “ ผู้ใดถูกเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้งไม่วาในกรณีใด ผู้นั้นไม่มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งหรือสมัครรับเลือก เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาทองถิ่นหรือผู้บริหาร ทองถิ่นตลอดไป และไม่มีสิทธิดํารงตําแหนงทางการเมืองใด ๆ ” เห็นวา ตามบทบัญญัติดังกลาว ในกรณีที่ศาลฎีกา แผนกคดีอาญาของผู้ดํารงตําแหนงทางการเมืองมีคําพิพากษาวา จําเลยกระทําความผิดตามที่ถูกกลาวหา ยอมมีผลให้จําเลยพนจากตําแหนงนับแต่วันที่ 19 เมษายน 2565 อันเป็นวันที่ศาลมีคําสั่งให้จําเลย หยุดปฏิบัติหน้าที่ในคดีนี้ และต้องถูกเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้งตลอดไป โดยไม่มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง หรือสมัครรับเลือกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาทองถิ่นหรือผู้บริหารทองถิ่นตลอดไป และไม่มีสิทธิดํารงตําแหนงทางการเมืองใด ๆ กับให้ศาลมีอํานาจสั่งเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งมีกําหนดเวลา ไม่เกินสิบปด้วยหรือไม่ก็ได้ แต่เนื่องจากในคดีหมายเลขแดงที่ คมจ. 1/2566 ของศาลฎีกา ศาลฎีกามีคําสั่งให้เพิกถอนสิทธิเลือกตั้งของผู้คัดคาน (จําเลยคดีนี้) มีกําหนดเวลา 10 ป นับแต่วันที่ 6 มกราคม 2566 อันเป็นวันที่ศาลฎีกามีคําพิพากษาในคดีดังกลาว ซึ่งการกระทําในคดีดังกลาว เป็นการกระทําเดียวกันกับคดีนี้ จึงเห็นสมควรไม่สั่งเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งของจําเลยในคดีนี้อีก ้ หนา 25 ่ เลม 140 ตอนที่ 40 ก ราชกิจจานุเบกษา 3 กรกฎาคม 2566

พิพากษาวา จําเลยมีความผิดตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกัน และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มาตรา 173 ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 149 การกระทําของจําเลยเป็นกรรมเดียวผิดต่อกฎหมายหลายบท ให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 149 อันเป็นกฎหมายบทที่มีโทษหนักที่สุด ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 90 องคคณะผู้พิพากษามีมติเสียงขางมาก ลงโทษจําคุก 6 ป กับให้จําเลยพนจากตําแหนงนับแต่วันที่ 19 เมษายน 2565 อันเป็นวันที่ศาลมีคําสั่งให้จําเลยหยุดปฏิบัติหน้าที่ในคดีนี้ และให้เพิกถอนสิทธิ สมัครรับเลือกตั้งของจําเลยตลอดไป โดยไม่มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้ งหรือสมัครรับเลือกเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาทองถิ่นหรือผู้บริหารทองถิ่นตลอดไป และไม่มีสิทธิดํารงตําแหนงทางการเมืองใด ๆ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกัน และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มาตรา 81 วรรคหนึ่งและวรรคสอง. นายชัยเจริญ ดุษฎีพร นายสิทธิศักดิ์ วนะชกิจ นายเอกศักดิ์ ยันตรปกรณ นายอุดม วัตตธรรม นายเธียรดนัย ธรรมดุษฎี นายสมเกียรติ ตั้งสกุล นางสุวิชา นาควัชระ นายอําพันธ สมบัติสถาพรกุล นายสาคร ตั้งวรรณวิบูลย ้ หนา 26 ่ เลม 140 ตอนที่ 40 ก ราชกิจจานุเบกษา 3 กรกฎาคม 2566