Mon Jun 12 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ คำวินิจฉัยที่ 7/2566 เรื่อง พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566 เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 172 รรคหนึ่ง หรือไม่ [ระหว่าง ประธานสภาผู้แทนราษฎร ผู้ร้อง - ผู้ถูกร้อง]


คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ คำวินิจฉัยที่ 7/2566 เรื่อง พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566 เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 172 รรคหนึ่ง หรือไม่ [ระหว่าง ประธานสภาผู้แทนราษฎร ผู้ร้อง - ผู้ถูกร้อง]

ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย ศาลรัฐธรรมนูญ คําวินิจฉัยที่ 7/2566 เรื่องพิจารณาที่ 11/2566 วันที่ 18 เดือน พฤษภาคม พุทธศักราช 2566 ประธานสภาผู้แทนราษฎร ผู้รอง - ผู้ถูกรอง เรื่อง พระราชกําหนดแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทํา ให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566 เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 172 วรรคหนึ่ง หรือไม่ ประธานสภาผู้แทนราษฎร (ผู้รอง) สงความเห็นของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร รวม 99 คน ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 173 วรรคหนึ่ง ขอเท็จจริงตามคํารอง คํารองเพิ่มเติมและเอกสารประกอบ สรุปได้ดังนี้ ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 31 (สมัยสามัญประจําปครั้งที่สอง) เป็นพิเศษ เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ 2566 พิจารณาพระราชกําหนดแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมาน และการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566 ที่คณะรัฐมนตรีเป็นผู้เสนอ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร รวม 115 คน (ผู้เขาชื่อเสนอความเห็น) เห็นวาพระราชกําหนดดังกลาว ไม่เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 172 วรรคหนึ่ง โดยมีเหตุผลสรุปได้ดังนี้ ระหวาง ้ หนา 36 ่ เลม 140 ตอนที่ 35 ก ราชกิจจานุเบกษา 12 มิถุนายน 2566

พระราชกําหนดแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทํา ให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566 ตราขึ้นโดยมีสาระสําคัญเพื่อขยายกําหนดเวลาการมีผลใชบังคับ ของพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 มาตรา 22 มาตรา 23 มาตรา 24 และมาตรา 25 จากเดิมที่ให้ใชบังคับเมื่อพนกําหนดหนึ่งรอยยี่สิบวัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นตนไป คือ วันที่ 22 กุมภาพันธ 2566 เป็นวันที่ 1 ตุลาคม 2566 โดยระบุเหตุผลเพื่อประโยชนในอันที่จะรักษาความปลอดภัย ของประเทศ และความปลอดภัยสาธารณะ อันเนื่องมาจากสํานักงานตํารวจแห่งชาติซึ่งเป็นหนวยงานหลัก ในการปฏิบัติการตามกฎหมายและหนวยงานอื่นที่มีหน้าที่รับผิดชอบการควบคุมตัวยังมีปญหา และอุปสรรคเกี่ยวกับความพรอมดานงบประมาณการจัดหาเครื่องมือและอุปกรณ และขั้นตอน การปฏิบัติงานในการบังคับใชพระราชบัญญัติดังกลาวซึ่งเป็นเรื่องที่มีความละเอียด ซับซอน และมีผลกระทบต่อความปลอดภัยในชีวิตและรางกายของประชาชนโดยตรงสงผลให้เกิดความไม่ปลอดภัย ต่อสาธารณะ หากมีการใชบังคับกฎหมายในขณะที่หนวยงานยังไม่มีความพรอมจะทําให้การเฝาระวัง และการเก็บรวบรวมและบันทึกพยานหลักฐานในระหวางการควบคุมตัวของเจ้าหน้าที่มีความไม่สมบูรณ อาจทําให้เกิดขอโตแยงในการดําเนินคดีต่อผู้กระทําความผิด สงผลให้การจับมิชอบการบังคับใชกฎหมาย ขาดประสิทธิภาพและไม่บรรลุวัตถุประสงคในการปองกันและปราบปรามการกระทําความผิด ซึ่งจะเป็นผลรายแรงต่อสังคมและความปลอดภัยสาธารณะอยางรายแรง ผู้เขาชื่อเสนอความเห็นมีความเห็นวาเหตุผลในการตราพระราชกําหนดดังกลาวไม่ได้เป็นไป เพื่อประโยชนในอันที่จะรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคง ในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือปองปดภัยพิบัติสาธารณะ ตามเงื่อนไขของรัฐธรรมนูญ มาตรา 172 วรรคหนึ่ง เนื่องจากพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 มาตรา 22 มาตรา 23 มาตรา 24 และมาตรา 25 มุงคุมครองสิทธิและเสรีภาพ ของบุคคลจากการกระทําทารุณกรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ การขยายกําหนดเวลาการมีผลใชบังคับ บทบัญญัติมาตราดังกลาวยอมแสดงให้เห็นถึงความไม่พรอมในการดําเนินการของหนวยงานของรัฐ ในฝ่ายบริหารดานอุปกรณและบุคลากรที่หนวยงานของรัฐสามารถดําเนินการแกไขปญหาดังกลาวได้ โดยมาตรา 2 กําหนดเวลาการมีผลใชบังคับไวแล้ว คือ เมื่อพนกําหนดหนึ่งรอยยี่สิบวันนับแต่วันประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเป็นตนไป ซึ่งสํานักงานตํารวจแห่งชาติไม่ได้ขัดของต่อระยะเวลาที่กําหนดไว ้ หนา 37 ่ เลม 140 ตอนที่ 35 ก ราชกิจจานุเบกษา 12 มิถุนายน 2566

ตั้งแต่ขั้นตอนการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ทั้งระยะเวลาดังกลาวได้กําห นดไว อยางเหมาะสมเพื่อให้เตรียมความพรอมในการใชบังคับกฎหมายอยางเพียงพอแล้ว ผู้รองตรวจสอบลายมือชื่อของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เขาชื่อเสนอความเห็นแล้ว ปรากฏวา มีลายมือชื่อเหมือนตัวอยางลายมือชื่อที่ให้ไวกับสํานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร จํานวน 100 คน ลายมือชื่อไม่เหมือนตัวอยางลายมือชื่อที่ให้ไวกับสํานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร จํานวน 14 คน ลงลายมือชื่อซ้ํา จํานวน 1 คน และมีผู้เขาชื่อเสนอความเห็นที่มีลายมือชื่อเหมือนตัวอยางลายมือชื่อ ที่ให้ไวกับสํานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรขอถอนชื่อจากการเขาชื่อเสนอความเห็น จํานวน 1 คน จึงมีผู้เขาชื่อเสนอความเห็น รวม 99 คน เห็นวา มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรวมกันเขาชื่อเสนอ ความเห็นจํานวนไม่นอยกวาหนึ่งในหาของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 173 วรรคหนึ่ง จึงสงความเห็นเพื่อขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย ประเด็นที่ศาลรัฐธรรมนูญต้องพิจารณาเบื้องตนมีวา ศาลรัฐธรรมนูญมีอํานาจรับคํารองนี้ไววินิจฉัย ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 173 วรรคหนึ่ง หรือไม่ เห็นวา ขอเท็จจริงตามคํารอง คํารองเพิ่มเติม และเอกสารประกอบเป็นกรณีที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จํานวน 99 คน จํานวนไม่นอยกวาหนึ่งในหา ของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรเขาชื่อเสนอความเห็นต่อผู้รองขอให้สงความเห็น ไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยวา พระราชกําหนดแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมาน และการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566 เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 172 วรรคหนึ่ง หรือไม่ ผู้รองยื่นคํารองต่อศาลรัฐธรรมนูญแล้ว กรณีเป็นไปตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 173 วรรคหนึ่ง และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2561 มาตรา 7 (1) ศาลรัฐธรรมนูญจึงมีคําสั่งรับคํารองไวพิจารณาวินิจฉัยและเพื่อประโยชนแห่งการพิจารณา อาศัยอํานาจตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2561 มาตรา 27 วรรคสาม ให้คณะรัฐมนตรีและผู้บัญชาการตํารวจแห่งชาติจัดทําความเห็นและจัดสงขอมูล พรอมเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวของต่อศาลรัฐธรรมนูญ 1. คณะรัฐมนตรีจัดทําความเห็น สรุปได้วา การพิจารณารางพระราชบัญญัติปองกัน และปราบปรามการทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. … ในชั้นการพิจารณาขอ ง สภาผู้แทนราษฎร สภาผู้แทนราษฎรมีมติรับหลักการรางพระราชบัญญัติดังกลาวเมื่อวันที่ 16 กันยายน 2564 ต่อมาคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณารางพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทํา ้ หนา 38 ่ เลม 140 ตอนที่ 35 ก ราชกิจจานุเบกษา 12 มิถุนายน 2566

ให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. … สภาผู้แทนราษฎร ได้เพิ่มรางมาตรา 23 เกี่ยวกับการบันทึกภาพ และเสียงและการแจงให้เจ้าหน้าที่ของรัฐหนวยงานอื่นทราบ (มาตรา 22) ซึ่งเดิมรางที่คณะรัฐมนตรี เสนอสภาผู้แทนราษฎรเพื่อพิจารณาไม่มีการกําหนดเรื่องดังกลาว ทั้งไม่ปรากฏวามีผู้แทนสํานักงาน ตํารวจแห่งชาติรวมเป็นกรรมาธิการหรือเขาชี้แจงต่อที่ประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา รางพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. … สภาผู้แทนราษฎร ต่อมาในชั้นการพิจารณาของวุฒิสภา หนวยงานที่เกี่ยวของมีหนังสือแจงขอขัดของ เกี่ยวกับความพรอมในการปฏิบัติการตามกฎหมายต่อคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา รางพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. … วุฒิสภา เนื่องจากยังไม่มีเครื่องมืออุปกรณ และเสนอความเห็นเกี่ยวกับระยะเวลาในการเตรียมการ เชน สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติคาดวาต้องใชระยะเวลา 90 - 180 วัน กรมการปกครองคาดวาต้องใชระยะเวลาไม่นอยกวา 1 ป สํานักงานตํารวจแห่งชาติแจงวายังไม่มีความพรอม ในดานอุปกรณและต้องคํานึงถึงงบประมาณที่จะได้รับจัดสรรประจําปด้วย และกองทัพเรือคาดวา ต้องใชระยะเวลาอยางนอย 6 เดือน (180 วัน) เป็นตน คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา รางพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. … วุฒิสภา จึงตัดบทบัญญัติเกี่ยวกับการบันทึกภาพและเสียงตามรางมาตรา 23 ออก โดยไม่ได้แกไขเพิ่มเติม วันใชบังคับ ต่อมาในการพิจารณาของวุฒิสภาเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2565 มีมติผานรางมาตรา 2 ที่กําหนดวันใชบังคับโดยไม่มีการแกไข แต่ให้คงความตามรางมาตรา 23 ที่ผานการพิจารณาจาก สภาผู้แทนราษฎร และต่อมาวันที่ 24 สิงหาคม 2565 สภาผู้แทนราษฎรมีมติเห็นชอบกับการแกไขเพิ่มเติม ของวุฒิสภา ถือวารางพระราชบัญญัติฉบับนี้ได้รับความเห็นชอบของรัฐสภาแล้ว และได้มีการประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2565 โดยให้มีผลใชบังคับเมื่อพนกําหนดหนึ่งรอยยี่สิบวัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา คือ วันที่ 22 กุมภาพันธ 2566 เป็นตนไป พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 มาตรา 22 และมาตรา 23 กําหนดให้เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับผิดชอบในการควบคุมตัวต้องบันทึกภาพ และเสียงอยางต่อเนื่องในขณะจับและควบคุมตัวจนกระทั่งสงตัวให้พนักงานสอบสวนหรือปลอยตัวบุคคลดังกลาวไป พรอมทั้งแจงพนักงานอัยการและนายอําเภอในทองที่ที่มีการควบคุมตัวหรือผู้อํานวยการสํานักการสอบสวน และนิติการ กรมการปกครอง โดยทันที รวมทั้งให้บันทึกขอมูลเกี่ยวกับการควบคุมตัวโดยละเอียด ้ หนา 39 ่ เลม 140 ตอนที่ 35 ก ราชกิจจานุเบกษา 12 มิถุนายน 2566

บทบัญญัติดังกลาวกอให้เกิดปญหาขอขัดของในการปฏิบัติของเจ้าพนักงานฝ่ายปกครองและเจ้าหน้าที่ตํารวจ หลายประการ สํานักงานตํารวจแห่งชาติมีหนังสือลงวันที่ 6 มกราคม 2566 ถึงรัฐมนตรีวาการ กระทรวงยุติธรรม แจงปญหาขอขัดของในการปฏิบัติตามกฎหมายดังกลาวจากปญหาดานการจัดเตรียม งบประมาณ เนื่องจากกลองบันทึกภาพเคลื่อนไหวยังมีไม่เพียงพอ ต้องใชงบประมาณในการดําเนินการ ประมาณ 3 , 473 , 744 , 220 บาท ไม่รวมคาใชจายในการจัดทําระบบหรืออุปกรณจัดเก็บขอมูล แต่งบประมาณในการจัดหาอุปกรณและจัดทําระบบดังกลาวไม่ได้กําหนดอยู่ในแผนหรือรายการ งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2566 สํานักงานตํารวจแห่งชาติมีหนังสือลงวันที่ 9 มกราคม 2566 แจงไปยังสํานักงบประมาณเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณรายจาย ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2566 งบกลาง รายการเงินสํารองจายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจําเป็น จํานวน 444 , 806 , 340 บาท เพื่อดําเนินการจัดหากลองบันทึกภาพและเสียงชนิดติดบนตัวเจ้าหน้าที่ตํารวจ กลองบันทึกภาพและเสียงแบบมือถือพรอมอุปกรณเพื่อใชในหองสอบสวนและหองควบคุมและกลองบันทึกภาพ และเสียงชนิดติดตั้งภายในรถยนต ซึ่งคณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติงบประมาณดังกลาวเมื่ อวันที่ 21 กุมภาพันธ 2566 อยางไรก็ตาม ในการจัดหากลองบันทึกภาพและเสียงดังกลาวมีระยะเวลาดําเนินการ ไม่นอยกวา 9 เดือน ทั้งยังต้องเตรียมความพรอมดานวัสดุอุปกรณและระบบการจัดเก็บขอมูลตาง ๆ และจะต้องขอรับการสนับสนุนงบประมาณเพิ่มเติมเกี่ยวกับอุปกรณและระบบการจัดเก็บขอมูลดังกลาวอีก จํานวน 60 ลานบาท ซึ่งไม่อาจจะดําเนินการให้เสร็จสิ้นภายในหนึ่งรอยยี่สิบวันนับแต่วันที่ พระราชบัญญัตินี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา และปญหาดานการเตรียมความพรอมของบุคลากร เนื่องจากสํานักงานตํารวจแห่งชาติมีกําลังพลสายปฏิบัติการประมาณ 150 , 000 บาท จาก 17 หนวยงาน ซึ่งยังขาดความรูและทักษะในการปฏิบัติงานให้สอดคลองตามพระราชบัญญัตินี้ เนื่องจากเทคโนโลยี ของอุปกรณที่ใชบันทึกภาพและเสียงในปจจุบันพัฒนาอยางรวดเร็ว และผลิตภัณฑมีความหลากหลาย มีวิธีการใชงานแตกตางกัน เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานไม่มีทักษะและความเชี่ยวชาญในการใชอุปกรณดังกลาว จําเป็นต้องใชระยะเวลาในการฝกอบรมการใชงานอุปกรณบันทึกภาพและเสียงเพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่อยางถูกต้อง และสัมฤทธิ์ผลตามพระราชบัญญัตินี้ รวมถึงปญหาขอขัดของในการปฏิบัติอันเนื่องมาจากความไม่ชัดเจน ในบทบัญญัติของกฎหมายและยังไม่มีระเบียบหรือแนวปฏิบัติที่เป็นมาตรฐานกลางเพื่อให้หนวยงานของรัฐ ที่มีอํานาจหน้าที่ในการจับและควบคุมตัวยึดถือปฏิบัติ หนวยงานของรัฐมีแนวทางการปฏิบัติที่แตกตางกัน จะสงผลให้เกิดความสับสนกับทั้งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติและประชาชนที่เกี่ยวของ ต้องมีการกําหนดระเบียบ หรือแนวปฏิบัติอันเป็นมาตรฐานเดียวกัน ้ หนา 40 ่ เลม 140 ตอนที่ 35 ก ราชกิจจานุเบกษา 12 มิถุนายน 2566

พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 มาตรา 22 มาตรา 23 มาตรา 24 และมาตรา 25 เป็นปญหาฉุกเฉินเรงดวนในทางปฏิบัติ หากใชบังคับ บทบัญญัติดังกลาวในขณะที่หนวยงานของรัฐยังไม่มีความพรอม ยอมสงผลกระทบต่อการปองกัน และปราบปรามอาชญากรรม การรักษาความสงบเรียบรอยของสังคมและความปลอดภัยของประชาชน เนื่องจากอาจทําให้ผู้กระทําความผิดหรือผู้ต้องสงสัยวากระทําความผิดยกเหตุแห่งความไม่พรอม ของเจ้าหน้าที่ของรัฐขึ้นเป็นขอโตแยงในกระบวนการดําเนินคดีแกผู้กระทําความผิดวาการจับ หรือการควบคุมตัวที่ไม่จัดให้มีการบันทึกภาพและเสียงอยางต่อเนื่องเป็นไปโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย เพื่อให้ตนหลุดพนจากการควบคุมตัว หรือทําลายความนาเชื่อถือของพยานหลักฐานที่ได้จากการจับหรือควบคุมตัว ที่ไม่มีการบันทึกภาพและเสียงดังกลาว อันจะสงผลให้การดําเนินคดีแกผู้กระทําความผิดและการบังคับใชกฎหมาย ขาดประสิทธิภาพ ไม่บรรลุวัตถุประสงคในการปองกันและปราบปรามการกระทําความผิด และเกิดผลกระทบ อยางรายแรงต่อสังคมและความปลอดภัยสาธารณะ ทั้งการที่เจ้าหน้าที่ของรัฐไม่สามารถบันทึกภาพ และเสียงได้อยางต่อเนื่องตามมาตรา 22 เนื่องมาจากความไม่พรอมดานอุปกรณซึ่งยังไม่มีความชัดเจนวา กรณีดังกลาวจะถือเป็นเหตุสุดวิสัยตามมาตรา 22 หรือไม่ ทําให้เจ้าหน้าที่ของรัฐที่ไม่มีอุปกรณ ในการปฏิบัติงานต้องเสี่ยงต่อการถูกดําเนินคดีทั้งทางอาญาและทางวินัย อาจสงผลให้เจ้าหน้าที่ของรัฐ ไม่กลาตัดสินใจในการที่จะจับหรือควบคุมตัวบุคคลซึ่งต้องสงสัยวากระทําความผิด จนนําไปสูการละเวน การปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบของเจ้าหน้าที่ของรัฐตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 สงผลกระทบ ต่อประสิทธิภาพในการดําเนินบริการสาธารณะของรัฐในการปองกันและปราบปรามอาชญากรรม การรักษาความสงบเรียบรอยของสังคมและความปลอดภัยสาธารณะ ดังนั้น จําเป็นต้องแกไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 เพื่อขยายระยะเวลาการใชบังคับบทบัญญัติมาตรา 22 มาตรา 23 มาตรา 24 และมาตรา 25 ออกไปกอน เพื่อให้หนวยงานของรัฐเตรียมความพรอมทั้งงบประมาณ การจัดหาอุปกรณที่มีประสิทธิภาพ การฝกอบรมบุคลากรเพื่อให้เกิดทักษะในการปฏิบัติ รวมทั้งการกําหนดระเบียบแนวทางการปฏิบัติ ที่มีความชัดเจนเพื่อประโยชนในอันที่จะรักษาความปลอดภัยของประเทศและความปลอดภัยสาธารณะ โดยที่การคุมครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพของประชาชนตามพระราชบัญญัตินี้ยังได้รับความคุมครอง ทุกประการในบทกําหนดความผิดและบทกําหนดโทษซึ่งมีผลใชบังคับแล้ว อีกทั้งในระหวางที่มีการขยาย ระยะเวลาการใชบังคับบทบัญญัติบางมาตราดังกลาวออกไป เจ้าหน้าที่ของรัฐยังคงมีหน้าที่ต้องปฏิบัติ ้ หนา 41 ่ เลม 140 ตอนที่ 35 ก ราชกิจจานุเบกษา 12 มิถุนายน 2566

ตามบทบัญญัติมาตราอื่นของพระราชบัญญัตินี้ที่มีผลใชบังคับแล้ว รวมทั้งต้องปฏิบัติตามบทบัญญัติ แห่งประมวลกฎหมายอาญาซึ่งเป็นหลักประกันสิทธิของบุคคลที่ถูกดําเนินคดีวาจะได้รับการปฏิบัติที่เป็นธรรม ตลอดจนต้องปฏิบัติตามกฎหมายเฉพาะตาง ๆ ที่ให้อํานาจเจ้าหน้าที่ของรัฐในการจํากัดสิทธิและเสรีภาพ ของบุคคลเพียงเทาที่จําเป็น ประชาชนยังคงได้รับความคุมครองสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและรางกาย ซึ่งการทรมาน การกระทําการที่โหดราย ไรมนุษยธรรม และย่ํายีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย และการกระทํา ให้บุคคลสูญหายจะกระทํามิได้ หากมีผู้ใดกระทําการดังกลาวยอมต้องถูกดําเนินคดีและลงโทษตามกฎหมาย 2. ผู้บัญชาการตํารวจแห่งชาติจัดทําความเห็น สรุปได้วา พระราชบัญญัติปองกันและปราบปราม การทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 มาตรา 22 สงผลให้สํานักงานตํารวจแห่งชาติ จําเป็นต้องเพิ่มการจัดหาอุปกรณบันทึกภาพและเสียงชนิดติดบนตัวเจ้าหน้าที่ตํารวจที่มีคุณภาพ และประสิทธิภาพที่สามารถบันทึกภาพและเสียงได้อยางต่อเนื่องให้เจ้าหน้าที่ตํารวจสายปฏิบัติการทั่วประเทศ จํานวน 150 , 000 บาท ซึ่งอุปกรณเดิมยังมีจํานวนไม่เพียงพอ มีสภาพชํารุดและเสื่อมประสิทธิภาพ ทั้งนี้ การใชโทรศัพทเคลื่อนที่ในการบันทึกภาพและเสียงไม่มีความเหมาะสมที่จะใชเป็นอุปกรณหลัก ในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ และไม่อาจนํามาใชแทนอุปกรณบันทึกภาพและเสียงที่มีรูปแบบ ที่เหมาะสมได้ นอกจากนี้ ยังจําเป็นต้องจัดหากลองบันทึกภาพและเสียงสําหรับติดตั้งในหองควบคุม และติดตั้งในรถยนต รวมจํานวน 50 , 102 ชุด ต้องใชงบประมาณ จํานวน 468 , 072 , 000 บาท แต่เนื่องจากพระราชบัญญัตินี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2565 ลวงเลยเวลา สําหรับการตั้งงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2566 แล้ว ประกอบกับเป็นงบประมาณ จํานวนมาก สํานักงานตํารวจแห่งชาติไม่สามารถนําเงินงบประมาณสวนอื่นมาจายทดแทนได้ จึงดําเนินการแกไขปญหาอยางเรงดวนโดยมีหนังสือถึงผู้อํานวยการสํานักงบประมาณเพื่อขอรับการสนับสนุน งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2566 งบกลาง รายการเงินสํารองจายเพื่อกรณีฉุกเฉิน หรือจําเป็น เพื่อดําเนินการจัดหากลองบันทึกภาพและเสียงดังกลาว คณะรัฐมนตรีอนุมัติงบประมาณ เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ 2566 ซึ่งสํานักงานตํารวจแห่งชาติต้องดําเนินการจัดหาโดยวิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป ด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส โดยมีกรอบระยะเวลาดําเนินการประมาณไม่นอยกวา 7 เดือน อีกทั้งบทบัญญัติดังกลาวยังสงผลให้ต้องจัดหาอุปกรณและระบบการจัดเก็บขอมูลการบันทึกภาพและเสียง ต้องใชงบประมาณอีกจํานวนไม่นอยกวา 45 ลานบาท ซึ่งไม่ได้ตั้งงบประมาณไว สํานักงานตํารวจแห่งชาติ จึงขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนปองกันและปราบปรามยาเสพติด โดยได้รับการอนุมัติ ้ หนา 42 ่ เลม 140 ตอนที่ 35 ก ราชกิจจานุเบกษา 12 มิถุนายน 2566

เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2566 และจะได้รับเงินในวันที่ 20 เมษายน 2566 จากนั้น สํานักงานตํารวจแห่งชาติ ต้องดําเนินการจัดหาโดยวิธีประกาศเชิญชวนทั่วไปด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส โดยมีกรอบระยะเวลา ดําเนินการประมาณไม่นอยกวา 4 เดือน การปฏิบัติตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 มาตรา 22 และมาตรา 23 เป็นการทํางานรวมกันระหวางหนวยงานของรัฐทั้งฝ่ายผู้จับ และควบคุมตัวกับหนวยงานของรัฐที่มีหน้าที่ในการรับแจง จําเป็นต้องมีการกําหนดระเบียบกลาง เพื่อเป็นเครื่องมือในการประสานระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งหมดให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อใชเป็นแนวทางการปฏิบัติหน้าที่ที่ชอบด้วยกฎหมายให้แกเจ้าหน้าที่ของรัฐ การยกรางระเบียบดังกลาว มีการประชุมรวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของ จํานวน 24 หนวยงาน พบวามีปญหาและขอขัดของ ในทางปฏิบัติหลายประการ เชน การจับผู้ ต้องหาจํานวนหลายคน การขยายผลการจับ การพา ผู้ถูกควบคุมตัวเดินทางขามจังหวัดเป็นระยะทางไกล การพาผู้ถูกจับเดินทางโดยเครื่องบินพาณิชย การควบคุมตัวขณะที่มีการรักษาตัวที่โรงพยาบาล การเก็บบันทึกการควบคุมตัวตามมาตรา 23 กรณีที่หนวยงานของรัฐแต่ละหนวยงานมีขอบเขตอํานาจหน้าที่แตกตางกันเชนนี้จะต้องปฏิบัติ ตามกฎหมายอยางไร หรือในกรณีที่หลายหนวยงานรวมกันสนธิกําลังปฏิบัติการจะต้องดําเนินการอยางไร เป็นตน นอกจากนี้ ระบบการแจงและการรับแจงการควบคุมตัวก็ยังไม่มีความพรอมที่จะดําเนินการ ยังต้องมีการปรับปรุงแกไขระบบการรับแจงอีกหลายประการ ปญหาและอุปสรรคดังกลาวมีสาเหตุมาจากการที่รางพระราชบัญญัติปองกันและปราบปราม การทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. … ที่สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีสงให้สํานักงาน ตํารวจแห่งชาติพิจารณาเสนอความเห็น ไม่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการบันทึกภาพและเสียงในขณะจับ รวมถึงการแจงเรื่องการจับและควบคุมตัวไปยังพนักงานอัยการและพนักงานฝ่ายปกครอง สํานักงานตํารวจแห่งชาติ จึงเห็นชอบด้วยกับหลักการของรางพระราชบัญญัติดังกลาว ต่อมาในชั้นการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร ปรากฏวา คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณารางพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมาน และการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. … สภาผู้แทนราษฎร เพิ่มเติมเรื่องการบันทึกภาพและเสียง ในขณะจับและควบคุมตัวเขามา โดยไม่ได้มีการแต่งตั้งผู้แทนจากสํานักงานตํารวจแห่งชาติรวมเป็นกรรมาธิการ และเขารวมชี้แจงในประเด็นดังกลาว ในระหวางการพิจารณาของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา รางพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. … ้ หนา 43 ่ เลม 140 ตอนที่ 35 ก ราชกิจจานุเบกษา 12 มิถุนายน 2566

สภาผู้แทนราษฎร มีการเสนอให้ตัดออกและถูกเสนอกลับเขามาใหมหลายครั้ง ต่อมาในชั้นการพิจารณา ของวุฒิสภาปรากฏวา คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณารางพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมาน และการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. … วุฒิสภา มีการเสนอแกไขเรื่องการบันทึกภาพและเสียง ในขณะจับและควบคุมตัวโดยมีการตัดออกและนํากลับเขามาใหมหลายครั้งและมีการสอบถามความเห็น จากสํานักงานตํารวจแห่งชาติ ซึ่งสํานักงานตํารวจแห่งชาติชี้แจงถึงอุปสรรคขอขัดของและปญหาในทางปฏิบัติ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณารางพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทํา ให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. … วุฒิสภา จึงเสนอให้ตัดเรื่องการบันทึกภาพและเสียงใน ขณะจับและควบคุมตัวออก แต่ต่อมารัฐสภาได้มีมติเห็นชอบรางพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทํา ให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. … โดยมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการบันทึกภาพและเสียงในขณะจับและควบคุมตัว และขั้นตอนการแจงพนักงานอัยการและพนักงานฝ่ายปกครอง รวมถึงการทําบันทึกการควบคุมตัว การที่บทบัญญัติเกี่ยวกับการบันทึกภาพและเสียงในขณะจับและควบคุมตัวมีการตัดออกและนํากลับเขามาใหม หลายครั้ง ทําให้เกิดความไม่แนนอนวารางพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมาน และการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. … จะมีการบัญญัติในเรื่องนี้ไวหรือไม่ ประกอบกับยังไม่มีการตั้ง คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหายเพื่อพิจารณาออกระเบียบ ในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ เป็นเหตุให้ยังไม่มีระเบียบหรือแนวทางปฏิบัติอันเป็นมาตรฐานกลาง ให้กับหนวยงานที่เกี่ยวของถือปฏิบัติ การใชบังคับพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 มาตรา 22 มาตรา 23 มาตรา 24 และมาตรา 25 ตามกําหนดเวลาเดิมในขณะที่หนวยงาน ยังไม่มีความพรอมดังกลาวจะสงผลกระทบอยางนอย 3 ประการ ประการที่หนึ่ ง เกิดผลกระทบ ต่อการปองกันและปราบปรามอาชญากรรมในภาพรวม เนื่องจากหากเจ้าหน้าที่ตํารวจซึ่งเป็นผู้มีหน้าที่ ในการบังคับใชกฎหมายและรักษาความสงบเรียบรอยในสังคมไม่มีอุปกรณบันทึกภาพและเสียง ในขณะจับและควบคุมตัวจะไม่กลาตัดสินใจและไม่พรอมในการปฏิบัติหน้าที่เพราะเกรงวาจะถูกโตแยง จากผู้ต้องหาวาไม่มีการบันทึกภาพและเสียงในขณะจับและควบคุมตัว ทําให้การจับและควบคุมตัว เป็นการกระทําที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย สงผลให้การบังคับใชกฎหมายที่เกี่ยวกับการปองกัน และปราบปรามอาชญากรรมมีประสิทธิภาพลดลงทันที สงผลโดยตรงต่อการรักษาความปลอดภัยสาธารณะ ในภาพรวม ประการที่สอง เกิดผลกระทบต่อการรวบรวมพยานหลักฐาน ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ตํารวจ ้ หนา 44 ่ เลม 140 ตอนที่ 35 ก ราชกิจจานุเบกษา 12 มิถุนายน 2566

ต้องเขาจับผู้ต้องหาในขณะกระทําความผิดและยึดสิ่งของที่มีไวเป็นความผิด หรือใชในการกระทําความผิด หรือได้มาจากการกระทําความผิด และสิ่งของที่ใชเป็นพยานหลักฐานเป็นของกลางในคดี หากไม่มีการบันทึกภาพ และเสียงในขณะจับเนื่องจากไม่มีอุปกรณดังกลาว อาจเป็นเหตุให้ผู้ต้องหาหรือจําเลยยกเป็น ขอต่อสูในชั้นพิจารณาคดีวาการจับและการได้มาซึ่งพยานหลักฐานเป็นไปโดยมิชอบและอาจทําให้ พยานหลักฐานที่ได้มามีน้ําหนักนอยหรือมีพิรุธนาสงสัย เป็นเหตุให้ศาลพิพากษายกฟ้อง ทําให้ผู้กระทําความผิด หลุดพนจากการถูกลงโทษตามกฎหมายได้ และประการที่สาม เกิดผลกระทบต่อความเชื่อมั่น ในกระบวนการยุติธรรม เนื่องจากยังไม่มีการกําหนดระเบียบเพื่อเป็นหลักเกณฑและมาตรฐานการปฏิบัติงาน ให้กับหนวยงานของรัฐ สงผลให้หนวยงานในกระบวนการยุติธรรมมีการปฏิบัติที่แตกตางกัน และไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน รวมถึงในกรณีที่หนวยงานรวมกันปฏิบัติงาน เจ้าหน้าที่ของแต่ละหนวยงาน จะมีหน้าที่รับผิดชอบอยางไร มีวิธีปฏิบัติและการประสานงานกันอยางไร ผลกระทบทั้งสามประการดังกลาว สงผลโดยตรงต่อการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและรางกายของประชาชนอยางไม่อาจหลีกเลี่ยง ซึ่งถือได้วาเป็นความปลอดภัยสาธารณะด้วยเชนกัน ดังนั้น การตราพระราชกําหนดเพื่อขยายกําหนดเวลา การมีผลใชบังคับของพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 มาตรา 22 มาตรา 23 มาตรา 24 และมาตรา 25 จึงเป็นไปเพื่อประโยชน ในอันที่จะรักษาความปลอดภัยของประเทศและความปลอดภัยสาธารณะ ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาคํารอง คํารองเพิ่มเติม ความเห็นและขอมูลของหนวยงานที่เกี่ยวของ และเอกสารประกอบแล้วเห็นวา คดีเป็นปญหาขอกฎหมายและมีพยานหลักฐานเพียงพอที่จะพิจารณาวินิจฉัยได้ จึงยุติการไตสวนตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2561 มาตรา 58 วรรคหนึ่ง และกําหนดประเด็นที่ต้องพิจารณาวินิจฉัยวา พระราชกําหนดแกไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566 เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 172 วรรคหนึ่ง หรือไม่ พิจารณาแล้วเห็นวา การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเป็นประมุข ซึ่งใชการปกครองในระบบรัฐสภา การใชอํานาจอธิปไตยของรัฐต้องคํานึงถึงการตรวจสอบถวงดุล ระหวางองคกรที่มีความเป็นอิสระตามหลักการแบงแยกอํานาจ ฝ่ายนิติบัญญัติหรือรัฐสภาเป็นองคกร ที่มีอํานาจในการตรากฎหมายและควบคุมตรวจสอบการใชอํานาจของฝ่ายบริหารในการบริหารราชการแผนดิน และบังคับใชกฎหมายที่ฝ่ายนิติบัญญัติตราขึ้นภายใตความไววางใจของรัฐสภา ดังนั้น การใชอํานาจ ้ หนา 45 ่ เลม 140 ตอนที่ 35 ก ราชกิจจานุเบกษา 12 มิถุนายน 2566

ในการตราพระราชกําหนดโดยฝ่ายบริหารจึงเป็นกรณีที่ฝ่ายบริหารเขาไปใชอํานาจในพรมแดนที่เป็นอํานาจ ของฝ่ายนิติบัญญัติซึ่งถือเป็นขอยกเวนที่ต้องใชอยางจํากัดและตีความโดยเครงครัด รัฐธรรมนูญ มาตรา 172 เป็นบทบัญญัติในหมวด 8 คณะรัฐมนตรี วรรคหนึ่ง บัญญัติให้พระมหากษัตริยทรงตราพระราชกําหนดเพื่อใชบังคับเป็นกฎหมายได้เมื่อคณะรัฐมนตรี ทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย เฉพาะในกรณีเพื่อประโยชนในอันที่จะรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือปองปดภัยพิบัติสาธารณะ วรรคสอง บัญญัติให้การตราพระราชกําหนดตามวรรคหนึ่ง ให้กระทําได้เฉพาะเมื่อคณะรัฐมนตรี เห็นวาเป็นกรณีฉุกเฉินที่มีความจําเป็นรีบดวนอันมิอาจจะหลีกเลี่ยงได้ และวรรคสาม บัญญัติให้เมื่อฝ่ายบริหาร ประกาศใชพระราชกําหนดแล้ว คณะรัฐมนตรีต้องเสนอพระราชกําหนดนั้นต่อรัฐสภาเพื่อพิจารณา โดยไม่ชักชาในการประชุมรัฐสภาคราวต่อไป เพื่อให้รัฐสภาพิจารณาอนุมัติหรือไม่อนุมัติพระราชกําหนด หากรัฐสภาไม่อนุมัติ ให้พระราชกําหนดนั้นตกไป แต่ไม่กระทบต่อกิจการที่ได้เป็นไปในระหวาง ที่ใชพระราชกําหนดนั้น พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 เป็นกฎหมายที่ตราขึ้นเพื่อมุงคุมครองสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ให้สอดรับกับอนุสัญญาต่อตานการทรมาน และการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดราย ไรมนุษยธรรม หรือที่ย่ํายีศักดิ์ศรี ( Convention against Torture and Other Cruel, Inhuman or Degrading Treatment or Punishment) และขอมติสมัชชาสหประชาชาติ ( United Nations General Assembly - UNGA) สมัยสามัญ สมัยที่ 61 ซึ่งรับรองอนุสัญญา ระหวางประเทศวาด้วยการคุมครองบุคคลทุกคนจากการบังคับให้หายสาบสูญ ( International Convention for the Protection of All Persons from Enforced Disappearance - ICPPED) ประเทศไทย โดยคณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2554 เห็นชอบการลงนามในอนุสัญญาระหวางประเทศ วาด้วยการคุมครองบุคคลทุกคนจากการบังคับให้หายสาบสูญ ให้มีผลบังคับตามที่กระทรวงยุติธรรมเสนอ และกระทรวงการตางประเทศได้ดําเนินการลงนามอนุสัญญาดังกลาวต่อสหประชาชาติแล้วเมื่อวันที่ 9 มกราคม 2555 โดยพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 ระบุเหตุผลไวในหมายเหตุทายพระราชบัญญัติวา “… โดยที่การทรมานและการกระทํา ให้บุคคลสูญหายซึ่งกระทําโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนอยางรายแรงที่ไม่อาจกระทําได้ ้ หนา 46 ่ เลม 140 ตอนที่ 35 ก ราชกิจจานุเบกษา 12 มิถุนายน 2566

ไม่วาในสถานการณใด ๆ ดังนั้น เพื่อยกระดับและเพิ่มประสิทธิภาพในการบังคับใชกฎหมาย รวมทั้งการคุมครองสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย สมควรกําหนดฐานความผิด มาตรการปองกันและปราบปราม และมาตรการเยียวยาผู้เสียหาย ตลอดจนมาตรการอื่นที่เกี่ยวของให้สอดคลองกับอนุสัญญาต่อตานการทรมาน และการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดราย ไรมนุษยธรรม หรือที่ย่ํายีศักดิ์ศรี และอนุสัญญาระหวางประเทศ วาด้วยการคุมครองบุคคลทุกคนจากการบังคับให้หายสาบสูญ … ” แสดงถึงเจตนารมณของกฎหมาย เพื่อให้ความคุมครองบุคคลทุกคนจากการถูกทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหายอันเกิดจาก การกระทําของเจ้าหน้าที่ของรัฐ รวมทั้งการคุมครองสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย เพื่อให้สอดรับกับอนุสัญญา ต่อตานการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดราย ไรมนุษยธรรม หรือที่ย่ํายีศักดิ์ศรี และอนุสัญญาระหวางประเทศวาด้วยการคุมครองบุคคลทุกคนจากการบังคับให้หายสาบสูญ โดยกําหนดกลไกและมาตรการปองกันการทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหายไวในหมวด 3 การปองกันการทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหาย มาตรา 22 วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “ ในการควบคุมตัว เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับผิดชอบต้องบันทึกภาพและเสียงอยางต่อเนื่องในขณะจับและควบคุมจนกระทั่ง สงตัวให้พนักงานสอบสวนหรือปลอยตัวบุคคลดังกลาวไป เวนแต่มีเหตุสุดวิสัยที่ไม่สามารถกระทําได้ ก็ให้บันทึกเหตุนั้นเป็นหลักฐานไวในบันทึกการควบคุมตัว ” และวรรคสอง บัญญัติวา “ การควบคุมตัว ตามวรรคหนึ่ง ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับผิดชอบแจงพนักงานอัยการและนายอําเภอในทองที่ที่มีการควบคุมตัว โดยทันที สําหรับในกรุงเทพมหานครให้แจงพนักงานอัยการและผู้อํานวยการสํานักการสอบสวน และนิติการ กรมการปกครอง หากผู้รับแจงเห็นวามีเหตุอันควรสงสัยวาจะมีการทรมาน การกระทําที่โหดราย ไรมนุษยธรรม หรือย่ํายีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษยหรือการกระทําให้บุคคลสูญหาย ให้ผู้รับแจงดําเนินการ ตามมาตรา 26 ต่อไป ” มาตรา 23 บัญญัติวา “ ในการควบคุมตัว เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับผิดชอบ ต้องบันทึกขอมูลเกี่ยวกับผู้ถูกควบคุมตัวโดยอยางนอยต้องมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ (1) ขอมูลอัตลักษณ เกี่ยวกับผู้ถูกควบคุมตัว เชน ชื่อ นามสกุล หรือตําหนิรูปพรรณ (2) วัน เวลา และสถานที่ ของการถูกควบคุมตัว และขอมูลเกี่ยวกับเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ทําการควบคุมตัว ในกรณีที่มีการยายสถานที่ดังกลาว จะต้องระบุถึงสถานที่ปลายทางที่รับตัวผู้ถูกควบคุมตัว รวมทั้งเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับผิดชอบการยายนั้น (3) คําสั่งที่ให้มีการควบคุมตัว และเหตุแห่งการออกคําสั่งนั้น (4) เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ออกคําสั่งให้ควบคุมตัว (5) วัน เวลา และสถานที่ของการปลอยตัวผู้ถูกควบคุมตัว และผู้มารับตัวผู้ถูกควบคุมตัว (6) ขอมูลเกี่ยวกับ ้ หนา 47 ่ เลม 140 ตอนที่ 35 ก ราชกิจจานุเบกษา 12 มิถุนายน 2566

สภาพรางกายและจิตใจของผู้ถูกควบคุมตัว กอนถูกควบคุมตัว และกอนการปลอยตัว ในกรณีที่ผู้ถูกควบคุมตัว ถึงแกความตายระหวางการควบคุมตัว จะต้องระบุถึงสาเหตุแห่งการตายและสถานที่เก็บศพ (7) ขอมูลอื่น ๆ ที่คณะกรรมการกําหนดเพื่อปองกันการทรมาน การกระทําที่โหดราย ไรมนุษยธรรม หรือย่ํายีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย หรือการกระทําให้บุคคลสูญหาย ” มาตรา 24 วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “ เพื่อประโยชนของผู้ถูกควบคุมตัว ผู้มีสวนได้เสียโดยชอบด้วยกฎหมายในการเขาถึงขอมูลของผู้ถูกควบคุมตัว เชน ญาติ ผู้แทนหรือทนายความ หรือคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือเจ้าหน้าที่ซึ่งได้รับมอบหมาย จากคณะกรรมการ มีสิทธิรองขอต่อเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับผิดชอบให้เปดเผยขอมูลเกี่ยวกับผู้ถูกควบคุมตัว ตามมาตรา 23 ” วรรคสอง บัญญัติวา “ หากเจ้าหน้าที่ของรัฐปฏิเสธที่จะเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับผู้ถูกควบคุมตัว ผู้รองขอมีสิทธิยื่นคํารองต่อศาลที่ตนเองมีภูมิลําเนา ศาลอาญาหรือศาลจังหวัดแห่งทองที่ที่เชื่อวา มีการทรมาน การกระทําที่โหดราย ไรมนุษยธรรม หรือย่ํายีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษยหรือพบเห็นผู้ถูกกระทํา ให้สูญหายครั้งสุดทาย แล้วแต่กรณี เพื่อให้ศาลสั่งเปดเผยขอมูลดังกลาวได้ ” และวรรคสาม บัญญัติวา “ ศาลมีอํานาจสั่งให้เจ้าหน้าที่ของรัฐตามวรรคหนึ่งเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับผู้ถูกควบคุมตัวตามมาตรา 23 ให้แกผู้รองขอได้ ในกรณีที่ศำลมีคําสั่งไม่เปดเผยขอมูล ผู้รองขออาจอุทธรณไปยังศาลอุทธรณ คําสั่งศาลอุทธรณให้เป็นที่สุด ” และมาตรา 25 บัญญัติวา “ เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับผิดชอบหรือศาล อาจไม่เปดเผยขอมูลเกี่ยวกับผู้ถูกควบคุมตัวตามมาตรา 23 หากผู้นั้นอยู่ภายใตการคุมครอง ของกฎหมายโดยเป็นผู้อยู่ในอํานาจศาล และการเปดเผยดังกลาวอาจละเมิดต่อความเป็นสวนตัว หรือกอให้เกิดผลรายต่อบุคคล หรือเป็นอุปสรรคต่อการสืบสวนสอบสวนคดีอาญา ” พระราชบัญญัตินี้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2565 และให้ใชบังคับเมื่อพนกําหนดหนึ่งรอยยี่สิบวัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา คือ วันที่ 22 กุมภาพันธ 2566 เป็นตนไป สําหรับพระราชกําหนดแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมาน และการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566 ตราขึ้นโดยมีสาระสําคัญเพื่อขยายกําหนดเวลา การมีผลใชบังคับของพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 มาตรา 22 มาตรา 23 มาตรา 24 และมาตรา 25 จากเดิมที่จะมีผลใชบังคับ ในวันที่ 22 กุมภาพันธ 2566 แกไขเป็นให้ใชบังคับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2566 เป นตนไป โดยระบุเหตุผลในการตราตามหมายเหตุทายพระราชกําหนดวา “… โดยที่พระราชบัญญัติปองกัน ้ หนา 48 ่ เลม 140 ตอนที่ 35 ก ราชกิจจานุเบกษา 12 มิถุนายน 2566

และปราบปรามการทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 จะมีผลใชบังคับในวันที่ 22 กุมภาพันธ พ.ศ. 2566 ในขณะที่ปรากฏขอเท็จจริงวา สํานักงานตํารวจแห่งชาติซึ่งเป็นหนวยงานหลัก ในการปฏิบัติการตามกฎหมาย และหนวยงานอื่นที่มีหน้าที่รับผิดชอบการควบคุมตัวยังมีปญหา และอุปสรรคเกี่ยวกับความพรอมดานงบประมาณ การจัดหาเครื่องมือและอุปกรณ และขั้นตอน การปฏิบัติงานในการบังคับใชพระราชบัญญัติดังกลาว ซึ่งเป็นเรื่องที่ มีความละเอียด ซับซอน และมีผลกระทบต่อความปลอดภัยในชีวิตและรางกายของประชาชนโดยตรง รวมถึงสงผลให้เกิดความไม่ปลอดภัย ต่อสาธารณะหากมีการใชบังคับกฎหมายในขณะที่หนวยงานยังไม่มีความพรอม จะทําให้การเฝาระวัง และการเก็บรวบรวมและบันทึกพยานหลักฐานในระหวางการควบคุมตัวของเจ้าหน้าที่มีความไม่สมบูรณ ซึ่งอาจทําให้เป็นประเด็นโตแยงในชั้นการดําเนินคดีต่อผู้กระทําความผิด สงผลให้การจับมิชอบ การบังคับใชกฎหมายขาดประสิทธิภาพ และไม่บรรลุวัตถุประสงคในการปองกันและปราบปราม การกระทําความผิด ซึ่งจะเป็นผลรายแรงต่อสังคมและความปลอดภัยสาธารณะอยางรายแรง อีกทั้งเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ไม่มีทรัพยากรในการปฏิบัติงานที่พรอมยังต้องเสี่ยงต่อการถูกดําเนินคดี ทั้งทางอาญาและทางวินัยอีกด้วย ขอเท็จจริงดังกลาวถือเป็นกรณีฉุกเฉินที่มีความจําเป็นรีบดวน อันมิอาจจะหลีกเลี่ยงได้ เพื่อประโยชนในอันที่จะรักษาความปลอดภัยของประเทศและความปลอดภัยสาธารณะ จึงสมควรขยายกําหนดเวลาในการมีผลใชบังคับของบทบัญญัติเพียงเฉพาะในมาตราที่เกี่ยวของกับ การใชกลองบันทึกภาพและเสียงในขณะการควบคุมตัวเพื่อให้สํานักงานตํารวจแห่งชาติและหนวยงานของรัฐ ที่มีหน้าที่รับผิดชอบการควบคุมตัวได้เตรียมความพรอมในดานอุปกรณและบุคลากรสําหรับการปฏิบัติงาน อยางเหมาะสมและเพียงพอ ตลอดจนให้มีการวางหลักเกณฑและมาตรฐานการปฏิบัติงานอยางรอบคอบ เพื่อให้การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐเป็นประโยชนต่อการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและรางกาย ของประชาชนอยางแทจริง … ” กรณีนี้ รัฐสภาได้ตราพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทํา ให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 ขึ้นใชบังคับโดยมีเจตจํานงเพื่อปองกันและปราบปรามการทรมาน และการกระทําให้บุคคลสูญหายซึ่งกระทําโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐ อันเป็นกำรละเมิดสิทธิมนุษยชน อยางรายแรง พระราชบัญญัติดังกลาวเป็นกฎหมายเพื่อคุมครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ซึ่งได้ผานกระบวนการพิจารณาของรัฐสภาโดยชอบด้วยรัฐธรรมนูญแล้ว การที่คณะรัฐมนตรีอางเหตุผล ้ หนา 49 ่ เลม 140 ตอนที่ 35 ก ราชกิจจานุเบกษา 12 มิถุนายน 2566

ในการตราพระราชกําหนดแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทํา ให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566 ที่ให้ขยายระยะเวลาการใชบังคับพระราชบัญญัติดังกลาว ออกไปเพราะเหตุความไม่พรอมดานงบประมาณและเจ้าหน้าที่ของรัฐยังไม่มีความพรอม หากใชบังคับ พระราชบัญญัติดังกลาวอาจทําให้เกิดผลกระทบต่อความปลอดภัยของประเทศหรือความปลอดภัยสาธารณะ เห็นวา พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 มาตรา 2 บัญญัติระยะเวลาการมีผลใชบังคับเมื่อพนกําหนดหนึ่งรอยยี่สิบวันนับแต่วันประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเป็นตนไป คือ วันที่ 22 กุมภาพันธ 2566 หนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของ ในการบังคับใชกฎหมายหรืออยู่ในบังคับของกฎหมายดังกลาว มีระยะเวลาในการเตรียมการได้ถึง 120 วัน ในการจัดเตรียมความพรอมทั้งในดานบุคลากรและงบประมาณในการจัดหาเครื่องมือและอุปกรณ รวมถึงการกําหนดขั้นตอนและแนวทางการปฏิบัติงานภายในสําหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐในการบังคับใช พระราชบัญญัติดังกลาว อีกทั้งในกระบวนการรางกฎหมายดังกลาวมีการประเมินผลกระทบจาก รางกฎหมายดังกลาวทุกดานด้วยแล้ว โดยเฉพาะผลกระทบเกี่ยวกับงบประมาณในการเตรียมการกอนที่จะให้มี การบังคับใชกฎหมาย ดังนั้น เมื่อไม่ปรากฏวามีเหตุผลอื่นใดอีกที่อยู่นอกเหนือจากความคาดหมาย ในการประเมินผลกระทบดังกลาวแล้ว ฝ่ายบริหารยอมไม่อาจอาศัยเหตุผลดังที่ปรากฏในพระราชกําหนดนั้น มาเป็นขออางเพื่อให้ต้องขยายระยะเวลาการใชบังคับพระราชบัญญัตินี้ได้ พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 มาตรา 22 มาตรา 23 มาตรา 24 และมาตรา 25 เป็นบทบัญญัติที่มุงคุมครองสิทธิมนุษยชน ของบุคคลจากการทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหาย และควบคุมการปฏิบัติหน้าที่ของหนวยงาน และเจ้าหน้าที่ของรัฐให้เกิดความโปรงใสและตรวจสอบได้ เพื่อปองกันไม่ให้เกิดการทรมานและการกระทํา ให้บุคคลสูญหายในระหวางการจับและควบคุมตัวดังกลาว อันเป็นประโยชนทั้งต่อประชาชน และความสงบเรียบรอยของประเทศชาติและสังคมโดยสวนรวม การที่ฝ่ายบริหารตราพระราชกําหนด แกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566 ยอมสงผลให้การทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหายที่กระทํา โดยเจ้าหน้าที่ของรัฐยังคงเกิดขึ้นและมีอยู่โดยไม่ได้รับการแกไขหรือขจัดออกไปจากสังคมไทย กระทบต่อสิทธิและเสรีภาพความปลอดภัยในชีวิตและรางกายของประชาชน และความสงบเรียบรอย ้ หนา 50 ่ เลม 140 ตอนที่ 35 ก ราชกิจจานุเบกษา 12 มิถุนายน 2566

ของประเทศและสังคมโดยสวนรวม แมจะเป็นการขยายกําหนดเวลาใชบังคับพระราชบัญญัติปองกัน และปราบปรามการทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 เพียงเฉพาะมาตรา 22 มาตรา 23 มาตรา 24 และมาตรา 25 เทานั้น โดยยังคงมีมาตรการในการคุมครองสิทธิมนุษยชนอื่น ๆ ตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 ก็ตาม แต่หากไรซึ่งกลไกและมาตรการปองกันการทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหายตามมาตรา 22 มาตรา 23 มาตรา 24 และมาตรา 25 แล้ว ยอมสงผลให้การทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหาย ที่กระทําโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐยังคงเกิดขึ้นและมีอยู่ รวมถึงการสืบเสาะหาหลักฐานที่จะเอาผิด ผู้กระทําความผิดดังกลาวอาจเป็นไปด้วยความยากลําบากจนไม่สามารถหาตัวผู้กระทําความผิดมาลงโทษได้ ประกอบกับมาตรา 22 บัญญัติขอยกเวนหากกรณีเหตุสุดวิสัยที่ไม่อาจดําเนินการบันทึกภาพและเสียง เป็นการเฉพาะไวด้วยแล้ว นอกจากนี้ การขยายกําหนดระยะเวลาการมีผลใชบังคับของบทบัญญัติ มาตราของพระราชบัญญัติดังกลาวซึ่งเป็นมาตรการคุมครองสิทธิและเสรีภาพของบุคคลผู้ถูกควบคุมตัว จากการถูกทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหาย ยอมสงผลกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพ ความปลอดภัยในชีวิตและรางกายของประชาชน และความสงบเรียบรอยของประเทศและสังคม โดยสวนรวมอันเป็นความปลอดภัยสาธารณะ ที่ได้รับจากการทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหาย อันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนอยางรายแรง ทั้งที่รัฐมีหน้าที่ต้องดูแลให้มีการปฏิบัติตามและบังคับใชกฎหมาย อยางเครงครัด ตามที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญ มาตรา 53 การที่ฝ่ายบริหารใชอํานาจตราพระราชกําหนดให้ขยายระยะเวลาการใชบังคับพระราชบัญญัติ ซึ่งผานกระบวนการพิจารณาของรัฐสภาโดยชอบด้วยรัฐธรรมนูญแล้ว ด้วยเหตุผลเพียงเรื่องความไม่พรอม ของเจ้าหน้าที่และงบประมาณในการจัดซื้ออุปกรณเพื่อใชปฏิบัติงานโดยไม่ปรากฏขอเท็จจริงใด ที่ชี้ให้เห็นวาเป็นกรณีที่เกิดภาวะวิกฤต หรือมีภยันตรายซึ่งกระทบต่อความปลอดภัยของประเทศ หรือความปลอดภัยสาธารณะ ยอมแสดงให้เห็นวาพระราชกําหนดที่ฝ่ายบริหารตราขึ้นมีลักษณะในเชิงปฏิเสธ ที่จะให้การคุมครองสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติซึ่งฝ่ายนิติบัญญัติตราขึ้น แต่ฝ่ายบริหารกลับให้การคุมครองเจ้าหน้าที่ของรัฐมากกวาบุคคลที่พระราชบัญญัติดังกลาวมุงหมาย จะให้การคุมครอง การที่เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบไม่ต้องดําเนินการตามบทบัญญัติดังกลาว ยอมทําให้ประสิทธิภาพ ในการปองกันการกระทําความผิดและการคุมครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนจากการใชอํานาจ ้ หนา 51 ่ เลม 140 ตอนที่ 35 ก ราชกิจจานุเบกษา 12 มิถุนายน 2566

ของเจ้าหน้าที่ของรัฐตามพระราชบัญญัตินี้ถูกลดทอนไปอยางมีนัยสําคัญ การตราพระราชกําหนด เพื่อขยายระยะเวลาการใชบังคับของพระราชบัญญัติดังกลาวไม่ใชกรณีฉุกเฉินที่มีความจําเป็นรีบดวน อันมิอาจจะหลีกเลี่ยงได้เพื่อประโยชนในอันที่จะรักษาความปลอดภัยของประเทศและความปลอดภัยสาธารณะ ตามเงื่อนไขที่รัฐธรรมนูญ มาตรา 172 วรรคหนึ่ง บัญญัติไว ในทางกลับกัน การขยายระยะเวลา การใชบังคับดังกลาวกลับทําให้มาตรการในการปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทํา ให้บุคคลสูญหายซึ่งเกิดจากการใชอํานาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐต่อประชาชนขาดประสิทธิภาพ ไม่บรรลุเจตนารมณของกฎหมายและไม่สอดคลองกับพันธกรณีระหวางประเทศ ทั้งยังกระทบ ต่อหลักประกันสิทธิและเสรีภาพของประชาชน และสงผลเสียต่อสวัสดิภาพและความปลอดภัยของประชาชน ที่รัฐธรรมนูญให้การรับรองและคุมครอง การตราพระราชกําหนดแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติปองกัน และปราบปรามการทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566 เป็นไปเพื่อประโยชน ของเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือหนวยงานของรัฐเพียงฝ่ายเดียว ไม่เป็นไปเพื่อประโยชนต่อประชาชนโดยทั่วไป หรือเพื่อประโยชนสาธารณะ ดังนั้น พระราชกําหนดแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมาน และการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566 ไม่เป็นไปเพื่อประโยชนในอันที่จะรักษา ความปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือปองปดภัยพิบัติสาธารณะตามเงื่อนไขของรัฐธรรมนูญ มาตรา 172 วรรคหนึ่ง เมื่อศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวาพระราชกําหนดดังกลาวไม่เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 172 วรรคหนึ่งแล้ว ให้พระราชกําหนดนั้นไม่มีผลใชบังคับมาแต่ตนตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 173 วรรคสาม อยางไรก็ดี การที่พระราชกําหนดนี้ไม่มีผลใชบังคับมาแต่ตน ยอมไม่กระทบต่อกิจการที่ได้เป็นไป ในระหวางที่ใชพระราชกําหนดนั้น ซึ่งสอดคลองกับที่รัฐธรรมนูญ มาตรา 172 วรรคสาม บัญญัติไว สําหรับการดําเนินการเพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทํา ให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 หลังจากที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคําวินิจฉัย หนวยงานที่เกี่ยวของ สมควรกําหนดแนวทางปฏิบัติให้กับเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับผิดชอบเพื่อแกไขขอจํากัดของหนวยงาน ในการปฏิบัติให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทําให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 ้ หนา 52 ่ เลม 140 ตอนที่ 35 ก ราชกิจจานุเบกษา 12 มิถุนายน 2566

ศาลรัฐธรรมนูญมีมติเสียงขางมาก (8 ต่อ 1) ซึ่งมีคะแนนเสียงไม่นอยกวาสองในสาม ของจํานวนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญทั้งหมดเทาที่มีอยู่ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 173 วรรคสี่ วินิจฉัยวา พระราชกําหนดแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทํา ให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566 ไม่เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 172 วรรคหนึ่ง และให้พระราชกําหนดแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทํา ให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566 ไม่มีผลใชบังคับมาแต่ตนตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 173 วรรคสาม นายวรวิทย กังศศิเทียม ประธานศาลรัฐธรรมนูญ นายนครินทร เมฆไตรรัตน์ นายปญญา อุดชาชน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ นายอุดม สิทธิวิรัชธรรม นายวิรุฬห แสงเทียน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ นายจิรนิติ หะวานนท นายนภดล เทพพิทักษ์ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ นายบรรจงศักดิ์ วงศปราชญ นายอุดม รัฐอมฤต ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ้ หนา 53 ่ เลม 140 ตอนที่ 35 ก ราชกิจจานุเบกษา 12 มิถุนายน 2566