Tue Apr 11 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

คำพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง เรื่อง การแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน [คดีหมายเลขดำที่ อม. 1/2564 คดีหมายเลขแดงที่ อม. 4/2566 ระหว่าง อัยการสูงสุด โจทก์ นายประหยัด พวงจำปา จำเลย]


คำพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง เรื่อง การแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน [คดีหมายเลขดำที่ อม. 1/2564 คดีหมายเลขแดงที่ อม. 4/2566 ระหว่าง อัยการสูงสุด โจทก์ นายประหยัด พวงจำปา จำเลย]

( อม.33 ) คําพิพากษา คดีหมายเลขดําที่ อม. 1/2564 คดีหมายเลขแดงที่ อม. 4/2566 ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดํารงตําแหนงทางการเมือง วันที่ 23 เดือน กุมภาพันธ พุทธศักราช 2566 อัยการสูงสุด โจทก์ นายประหยัด พวงจําปา จําเลย เรื่อง การแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน โจทก์ฟ้องวา จําเลยเขารับตําแหนงรองเลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2557 ต่อมามีประกาศคณะกรรมการปองกันและปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหนงเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งจะต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สิน และหนี้สินตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 40 แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกัน และปราบปรามการทุจริต (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2559 กําหนดให้เจ้าหน้าที่ของรัฐ ตําแหนงรองเลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ มีหน้าที่ยื่นบัญชี แสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีผลใชบังคับวันที่ 4 มกราคม 2560 ระหวาง ้ หนา 8 ่ เลม 140 ตอนที่ 27 ก ราชกิจจานุเบกษา 11 เมษายน 2566

จําเลยจึงมีหน้าที่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินของตน คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ต่อมาเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2560 จําเลยยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สิน และหนี้สิน กรณีเขารับตําแหนงรองเลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ และจําเลยยังได้ยื่นเอกสารประกอบบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินเพิ่มเติมอีกสามครั้ง เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2560 วันที่ 30 พฤษภาคม 2561 และวันที่ 4 มีนาคม 2562 ตามลําดับ จําเลยจงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินดังกลาวด้วยขอความอันเป็นเท็จหรือปกปดขอเท็จจริง ที่ควรแจงให้ทราบ และมีพฤติการณอันควรเชื่อได้วามีเจตนาไม่แสดงที่มาแห่งทรัพย์สินหรือหนี้สิน จํานวน 6 รายการ ได้แก 1. บัญชีเงินฝากธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) สาขาเซ็นทรัล ปนเกลา ประเภทกระแสรายวัน เลขที่บัญชี 758 - 1 - 01003 - 0 ชื่อบัญชี นางธนิภา พวงจําปา ซึ่งเป็นคู่สมรส ยอดเงินฝากคงเหลือ ณ วันที่มีหน้าที่ยื่นบัญชี 10 , 000 บาท 2. บัญชีเงินฝากธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาลอนดอน สหราชอาณาจักร ประเภทเงินฝากกระแสรายวัน ( Current Account) เลขที่บัญชี 0807 - 179574 - 000 ชื่อบัญชี นางธนิภา พวงจําปา ยอดเงินฝากคงเหลือ ณ วันที่มี หน้าที่ยื่นบัญชี 0 ปอนดสเตอรลิง 3. บัญชีเงินฝากธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาลอนดอน สหราชอาณาจักร ประเภทเงินฝาก ( Deposit- Call) เลขที่บัญชี 0807 - 179574 - 400 ชื่อบัญชี นางธนิภา พวงจําปา ยอดเงินฝากคงเหลือ ณ วันที่มีหน้าที่ยื่นบัญชี 12 , 238.28 ปอนดสเตอรลิง 4. บัญชีเงินฝากธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาลอนดอน สหราชอาณาจักร ประเภทเงินฝาก ( Deposit- Call) เลขที่บัญชี 0807 - 179574 - 401 ชื่อบัญชี นางธนิภา พวงจําปา ยอดเงินฝากคงเหลือ ณ วันที่มีหน้าที่ยื่นบัญชี 225 , 721.18 ปอนดสเตอรลิง 5. หองชุด เลขที่ 68 ในอาคารชุด Wolfe House 389 Kensington High Street ลอนดอน สหราชอาณาจักร มี นางธนิภา พวงจําปา เป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์โดยมีการกูเงินจากธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาลอนดอน มีหนี้คงคางกับ ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาลอนดอน บัญชีเงินกูเลขที่ 0807 - 179574 - 100 ณ วันที่มีหน้าที่ยื่นบัญชี 2 , 362 , 500 ปอนดสเตอรลิง และ 6. เงินลงทุนของ นางธนิภา พวงจําปา ในบริษัท ปาลม บิซ คอรปอเรชั่น จํากัด จํานวน 20 , 000 หุน หมายเลขใบหุนที่ 160001 - 180000 ราคาจดทะเบียนหุนละ 100 บาท มูลคารวม 2 , 000 , 000 บาท ขอให้ลงโทษตามพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มาต รา 43 , 81 , ้ หนา 9 ่ เลม 140 ตอนที่ 27 ก ราชกิจจานุเบกษา 11 เมษายน 2566

158 , 167 , 188 , 194 พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม มาตรา 40 , 41 , 42 , 119 ขอให้เพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง ของจําเลย เพิกถอนสิทธิเลือกตั้งของจําเลยมีกําหนดเวลาไม่เกินสิบป และขอศาลมีคําสั่งให้จําเลย พนจากตําแหนงนับแต่วันหยุดปฏิบัติหน้าที่ตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติ จําเลยให้การปฏิเสธ ระหวางพิจารณาจําเลยยื่นคํารองขอให้ศาลวินิจฉัยชี้ขาดเบื้องตนในปญหาขอกฎหมายวา โจทก์ไม่มีอํานาจฟ้อง เพราะคณะกรรมการ ป.ป.ช. ยั งไม่ได้มีการปฏิบัติหรือกระทําการให้ครบถวน ตามบทบัญญัติของกฎหมาย โดยคณะกรรมการ ป.ป.ช. ยังไม่ได้สงเรื่องของจําเลยให้ประธานวุฒิสภา พิจารณากอน เมื่อประธานวุฒิสภาพิจารณาเสร็จแล้วจึงจะสงเรื่องให้อัยการสูงสุดฟ้องคดีต่อศาลฎีกา แผนกคดีอาญาของผู้ดํารงตําแหนงทางการเมือง แต่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ปฏิบัติขามขั้นตอน โดยสงเรื่องให้แกอัยการสูงสุดโดยตรงเพื่อให้ฟ้องจําเลยทันที คณะกรรมการ ป.ป.ช. กระทําโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย การออกกฎหรือระเบียบวาด้วยการยื่นบัญชี การตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินของพนักงานเจ้าหน้าที่ ตามมาตรา 158 และการดําเนินคดีที่เกี่ยวของกับการยื่นบัญชี พ.ศ. 2561 กระทําไปโดยไม่มีอํานาจ ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย ศาลมีคําสั่งให้รอไววินิจฉัยพรอมมีคําพิพากษา พิเคราะหขอเท็จจริงที่ได้จากทางไตสวนและพยานหลักฐานของคู่ความแล้วขอเท็จจริงเบื้องตน รับฟงได้วา จําเลยเขารับตําแหนงรองเลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2557 ตามประกาศสํานักนายกรัฐมนตรีเอกสารหมาย จ.8 ต่อมาประธานกรรมการ ปองกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ออกประกาศ คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหนงเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งจะต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วย การปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 40 แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกันและปราบปรามการทุจริต (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2559 กําหนดให้เจ้าหน้าที่ของรัฐตําแหนงรองเลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ มีหน้าที่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินต่อคณะกรร มการ ป.ป.ช. ประกาศดังกลาวมีผลใชบังคับวันที่ 4 มกราคม 2560 ตามเอกสารหมาย จ.104 จําเลยจึงมีหน้าที่ ้ หนา 10 ่ เลม 140 ตอนที่ 27 ก ราชกิจจานุเบกษา 11 เมษายน 2566

ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินของตน คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ต่อมาเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2560 จําเลยยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน กรณีเขารับตําแหนง รองเลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ตามบัญชีแสดงรายการทรัพย์สิน และหนี้สิน เอกสารหมาย จ.9 นอกจากนี้ จําเลยยังได้ยื่นเอกสารประกอบบัญชีแสดงรายการทรัพย์สิน และหนี้สินเพิ่มเติมอีกสามครั้ง เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2560 วันที่ 30 พฤษภาคม 2561 และวันที่ 4 มีนาคม 2562 ตามเอกสารหมาย จ.10 จ.12 และ จ.27 ตามลําดับ อีกทั้งเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ 2562 จําเลยมีหนังสือถึงคณะกรรมการ ป.ป.ช. เรื่อง ขอสงเอกสารหลักฐาน ประกอบการชี้แจงเพิ่มเติมเกี่ยวกับบัญชีเงินฝากและบัญชีเงินกูธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาลอนดอน ของ นางธนิภา จํานวน 3 บัญชี ตามเอกสารหมาย จ.25 วันที่ 26 เมษายน 2562 จําเลยมีหนังสือถึงคณะกรรมการ ป.ป.ช. เรื่องการชี้แจงขอเท็จจริงและแกขอ กลาวหา (ครั้งที่ 1) เกี่ยวกับบัญชีเงินฝากธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) สาขาเซ็นทรัล ปนเกลา ตามเอกสารหมาย จ. 41 และวันที่ 3 พฤษภาคม 2562 จําเลยมีหนังสือถึงคณะกรรมการ ป.ป.ช. เรื่อง ขอสงเอกสารเพิ่มเติม ประกอบการชี้แจงขอเท็จจริงและแกขอกลาวหา (ครั้งที่ 1) ในสวนเงินลงทุนของ นางธนิภา ในบริษัท ปาลม บิซ คอรปอเรชั่น จํากัด ตามเอกสารหมาย จ.42 คณะกรรมการ ป.ป.ช. พิจารณาแล้ว มีมติเป็นเอกฉันทวา จําเลยจงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินดังกลาวด้วยขอความอันเป็นเท็จ หรือปกปดขอเท็จจริงที่ควรแจงให้ทราบ และมีพฤติการณอันควรเชื่อได้วามีเจตนาไม่แสดงที่มาแห่งทรัพย์สิน หรือหนี้สิน จํานวน 5 รายการ คือ บัญชีเงินฝากธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) สาขาเซ็นทรัล ปนเกลา ประเภทกระแสรายวัน เลขที่บัญชี 758 - 1 - 01003 - 0 บัญชีเงินฝากธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาลอนดอน สหราชอาณาจักร รวม 3 บัญชี ได้แก บัญชีเงินฝาก ประเภทเงินฝากกระแสรายวัน ( Current Account) เลขที่บัญชี 0807 - 179574 - 000 ประเภทเงินฝาก ( Deposit- Call) เลขที่บัญชี 0807 - 179574 - 400 ประเภทเงินฝาก ( Deposit- Call) เลขที่บัญชี 0807 - 179574 - 401 หองชุด เลขที่ 68 ในอาคารชุด Wolfe House 389 Kensington High Street ลอนดอน สหราชอาณาจักร มี นางธนิภา พวงจําปา เป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ และมีมติเสียงขางมากวา การที่จําเลย ไม่แสดงเงินลงทุนของ นางธนิภา ในบริษัท ปาลม บิซ คอรปอเรชั่น จํากัด จํานวน 20 , 000 หุน หมายเลขใบหุนที่ 160001 - 180000 เป็นการจงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน ้ หนา 11 ่ เลม 140 ตอนที่ 27 ก ราชกิจจานุเบกษา 11 เมษายน 2566

ด้วยขอความอันเป็นเท็จหรือปกปดขอเท็จจริงที่ควรแจงให้ทราบและมีพฤติการณอันควรเชื่อได้วามีเจตนา ไม่แสดงที่มาแห่งทรัพย์สินหรือหนี้สิน ที่ประชุมจึงมีมติให้สงเรื่องให้อัยการสูงสุดเพื่อดําเนินการฟ้องคดี ต่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดํารงตําแหนงทางการเมือง เพื่อขอให้พนจากตําแหนงนับแต่วันหยุดปฏิบัติหน้าที่ ให้เพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้งและขอให้ลงโทษทางอาญา ปญหาต้องวินิจฉัยประการแรกตามคํารองขอให้ศาลวินิจฉัยชี้ขาดเบื้องตนในปญหาขอกฎหมาย ฉบับลงวันที่ 29 มกราคม 2563 วา โจทก์มีอํานาจฟ้องหรือไม่ จําเลยอางวา พระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 บัญญัติเรื่องการตรวจสอบ ทรัพย์สินและหนี้สินของขาราชการสํานักงาน ป.ป.ช. ไวเป็นการเฉพาะตามมาตรา 158 ประกอบมาตรา 43 การดําเนินคดีกับพนักงานเจ้าหน้าที่สํานักงาน ป.ป.ช. และคณะกรรมการ ป.ป.ช. ต้องสงสํานวนคดี ให้ประธานวุฒิสภาพิจารณาเพื่อสงเรื่องให้อัยการสูงสุดดําเนินการฟ้องคดีต่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญา ของผู้ดํารงตําแหนงทางการเมือง แต่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ยังไม่ได้สงเรื่องของจําเลยให้ประธานวุฒิสภาพิจารณำ การที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. สงเรื่องฟ้องคดีจําเลยต่ออัยการสูงสุดโดยตรงไม่ชอบด้วยกฎหมาย และการออกระเบียบคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ วาด้วยการยื่นบัญชี การตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา 158 และการดําเนินคดีที่เกี่ยวของกับ การยื่นบัญชี พ.ศ. 2561 ไม่ชอบด้วยกฎหมาย องคคณะผู้พิพากษาเสียงขางมาก เห็นวา จําเลยมีหน้าที่ ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินกรณีเขารับตําแหนงรองเลขาธิการคณะกรรมการปองกัน และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ตามประกาศคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ซึ่งออกตามความในมาตรา 40 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกัน และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มีผลใชบังคับวันที่ 4 มกราคม 2560 จําเลยยื่นบัญชี แสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2560 กับยื่นเอกสารประกอบบัญชี แสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินเพิ่มเติมครั้งที่ 1 วันที่ 26 พฤษภาคม 2560 ครั้งที่ 2 วันที่ 30 พฤษภาคม 2561 และยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินเพิ่มเติมครั้งที่ 3 วันที่ 4 มีนาคม 2562 ในชวงเวลาดังกลาวมีพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกัน และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 ใชบังคับ โดยมาตรา 188 วรรคหนึ่ง กําหนดให้ผู้ที่มีหน้าที่ ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินต่อคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติตามพระราชบัญญัติ ้ หนา 12 ่ เลม 140 ตอนที่ 27 ก ราชกิจจานุเบกษา 11 เมษายน 2566

ประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม หรือตามที่คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติกําหนดตามพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญดังกลาว ยังมีหน้าที่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินต่อไปจนกวาคณะกรรมการปองกัน และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้จะกําหนดเป็นอยางอื่น และการยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินที่ได้ยื่นไวแล้วตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกัน และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม ให้ถือวาเป็นการยื่นตามพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญนี้ ซึ่งมาตรา 158 วรรคหนึ่ง ของพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกัน และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 กําหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตั้งแต่ระดับผู้อํานวยการกองขึ้นไป ผู้ชวยพนักงานไตสวน พนักงานไตสวน หัวหน้าพนักงานไตสวน และพนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งมีตําแหนง และหน้าที่เกี่ยวกับการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สิน มีหน้าที่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินของตน คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ รวมทั้งทรัพย์สินที่มอบหมายให้อยู่ในความครอบครองหรือดูแลของบุคคลอื่น ไม่วาโดยทางตรงหรือทางออมต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. เพื่อตรวจสอบและเปดเผยผลการตรวจสอบ ทรัพย์สินและหนี้สิน อันมีลักษณะเป็นการตรวจสอบภายในองคกร การที่จําเลยดํารงตําแหนงรองเลขาธิการ คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ จึงอยู่ในฐานะเจ้าหน้าที่ของสํานักงาน ป.ป.ช. ตั้งแต่ระดับผู้อํานวยการกองขึ้นไป ยอมมีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน ตามกฎหมายต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. เพื่อตรวจสอบ การยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินของบุคคล ตามที่กําหนดไวในมาตรา 158 จึงต้องยื่นต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. สวนที่มาตรา 158 วรรคสอง กําหนดให้นําความในมาตรา 43 มาใชบังคับกับการดําเนินคดีกับบุคคลตามวรรคหนึ่งด้วยโดยอนุโลมนั้น เมื่อพิจารณาบทบัญญัติในมาตรา 42 ที่กําหนดให้กรรมการมีหน้าที่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินของตน คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ รวมทั้งทรัพย์สินที่มอบหมายให้อยู่ในความครอบครอง หรือดูแลของบุคคลอื่น ไม่วาโดยทางตรงหรือทางออมต่อประธานวุฒิสภา โดยให้ประธานวุฒิสภาแต่งตั้ง คณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สิน เพื่อตรวจสอบเบื้องตนกอนเสนอประธานวุฒิสภาพิจารณา และมาตรา 43 ที่กําหนดให้ในกรณีที่ปรากฏวามีการกระทําความผิดเกี่ยวกับการที่กรรมการผู้ใด จงใจไม่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินต่อประธานวุฒิสภา หรือจงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สิน หรือหนี้สินอันเป็นเท็จ หรือปกปดขอเท็จจริงที่ควรแจงให้ทราบและมีพฤติการณอันควรเชื่อได้วามีเจตนา ้ หนา 13 ่ เลม 140 ตอนที่ 27 ก ราชกิจจานุเบกษา 11 เมษายน 2566

ไม่แสดงที่มาแห่งทรัพย์สินหรือหนี้สิน ให้ประธานวุฒิสภาสงเรื่องให้อัยการสูงสุดเพื่อดําเนินการฟ้องคดี ต่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดํารงตําแหนงทางการเมืองต่อไป จะเห็นได้วา มีการแยกกระบวนการตรวจสอบ กับกระบวนการดําเนินคดีเป็นคนละขั้นตอนกัน ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกระบวนการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สิน ตามที่บัญญัติไวในมาตรา 42 และมาตรา 158 แล้ว ระบุแยกแยะถึงบุคคลที่มีหน้าที่ยื่นบัญชีทรัพย์สิน และหนี้สินออกเป็น 2 กลุ่ม คือ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ซึ่งต้องยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สิน ต่อประธานวุฒิสภา และอีกกลุ่มหนึ่ง ได้แก พนักงานเจ้าหน้าที่ตั้งแต่ระดับผู้อํานวยการกองขึ้นไป ผู้ชวยพนักงานไตสวน พนักงานไตสวน หัวหน้าพนักงานไตสวน และพนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งมีตําแหนง และหน้าที่เกี่ยวกับการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สิน ที่ต้องยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีลักษณะการแบงตามผู้มีอํานาจและหน้าที่ในการตรวจสอบที่แตกตางกันชัดเจน โดยเฉพาะอยางยิ่ง มาตรา 42 และมาตรา 43 บัญญัติอยู่ในหมวด 1 คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ สวนที่ 3 การตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. มาตรา 158 บัญญัติอยู่ในหมวด 9 สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ซึ่งเป็นสวนราชการและมีฐานะเป็นนิติบุคคล รับผิดชอบขึ้นตรงต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. และกฎหมายกําหนดให้เป็นอํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในการเป็นองคกรกลางบริหารงานบุคคลของสํานักงาน ทําหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล มีอํานาจออกระเบียบหรือประกาศเกี่ยวกับเรื่องดังกลาวได้ ตามที่บัญญัติไวในมาตรา 141 และมาตรา 144 อันเป็นการแบงแยกสวนงาน อํานาจหน้าที่ ความรับผิดชอบ การบริหารงานภายในองคกร และลําดับชั้นการบังคับบัญชาอยางเดนชัด หากจะตีความให้นําหลักเกณฑการยื่นและการตรวจสอบ บัญชีทรัพย์สินและหนี้สินของคณะกรรมการ ป.ป.ช. รวมถึงกระบวนการดําเนินคดีทุกขั้นตอน ดังที่บัญญัติไว ในมาตรา 42 และมาตรา 43 มาใชบังคับแกพนักงานเจ้าหน้าที่ตั้งแต่ระดับผู้อํานวยการกองขึ้นไป ผู้ชวยพนักงานไตสวน พนักงานไตสวน หัวหน้าพนักงานไตสวน และพนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งมีตําแหนง และหน้าที่เกี่ยวกับการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินทั้งหมดด้วย กลาวคือ เมื่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ตรวจสอบบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินที่บุคคลดังกลาวยื่นไวแล้วพบวามีการกระทําความผิดเกี่ยวกับการจงใจ ไม่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สิน หรือจงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินหรือหนี้สินอันเป็นเท็จ หรือปกปดขอเท็จจริงที่ควรแจงให้ทราบและมีพฤติการณอันควรเชื่อได้วามีเจตนาไม่แสดงที่มาแห่งทรัพย์สิน หรือหนี้สิน คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะต้องสงเรื่องให้ประธานวุฒิสภาเพื่อตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สิน ้ หนา 14 ่ เลม 140 ตอนที่ 27 ก ราชกิจจานุเบกษา 11 เมษายน 2566

กอนสงเรื่องต่อให้อัยการสูงสุดเพื่อดําเนินการฟ้องคดี ก็จะเป็นการใชอํานาจในการตรวจสอบทรัพย์สิน ที่ซ้ําซอนกันระหวางคณะกรรมการ ป.ป.ช. ตามมาตรา 158 และประธานวุฒิสภา ตามมาตรา 42 ประกอบกับทางไตสวนยังได้ความจากเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. วา ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2560 มีผู้ดํารงตําแหนงซึ่งมีหน้าที่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาด้วยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มาตรา 158 ประกอบด้วย เลขาธิการ 1 คน รองเลขาธิการ 6 คน ผู้ชวยเลขาธิการ 5 คน ผู้ชวยเลขาธิการภาค 1 ถึงภาค 9 จํานวน 9 คน ผู้เชี่ยวชาญ 4 คน ผู้อํานวยการ/ผู้อํานวยการยุติธรรม 97 คน พนักงานไตสวน 162 คน ผู้ชวยพนักงานไตสวน 712 คน และเจ้าพนักงานตรวจสอบทรัพย์สิน 341 คน รวมทั้งสิ้น 1 , 337 คน ตามหนังสือสํานักงาน ป.ป.ช. ที่ ปช 0014/0003 ลงวันที่ 9 มกราคม2566 ซึ่งหากจะมีการสงเรื่องให้ ประธานวุฒิสภาตรวจสอบบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินของบุคคลจํานวนมากเหลานี้ทุกราย ยอมไม่สอดคลอง กับบทบัญญัติของกฎหมาย สวนที่มาตรา 158 วรรคสอง บัญญัติให้นําความในมาตรา 43 มาใชบังคับกับการดําเนินคดีกับบุคคลตามมาตรา 158 วรรคหนึ่ง โดยอนุโลม เมื่อพิจารณาประกอบกับ บทบัญญัติของกฎหมายที่มีลักษณะให้มีการแบงแยกอํานาจหน้าที่ในการตรวจสอบบัญชีทรัพย์สินและหนี้สิน กับอํานาจหน้าที่ในการดําเนินคดีแล้ว คําวา “ โดยอนุโลม ” เป็นเพียงการบัญญัติให้นํากระบวนการ ดําเนินคดีที่ให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. สงเรื่องให้อัยการสูงสุดเพื่อดําเนินการฟ้องคดีต่อศาลฎีกา แผนกคดีอาญาของผู้ดํารงตําแหนงทางการเมืองมาใชบังคับในกรณีที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ตรวจสอบพบวา พนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา 158 วรรคหนึ่ง มีการกระทําความผิดเกี่ยวกับการจงใจไม่ยื่นบัญชี แสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือจงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สิน หรือหนี้สินอันเป็นเท็จ หรือปกปดขอเท็จจริงที่ควรแจงให้ทราบและมีพฤติการณอันควรเชื่อได้วามีเจตนา ไม่แสดงที่มาแห่งทรัพย์สินหรือหนี้สิน มิใชให้นําความในมาตรา 43 มาใชในกรณีนี้ทั้งหมด เมื่อจําเลยดํารงตําแหนงรองเลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ซึ่งเป็นบุคคลตามที่บัญญัติไวในมาตรา 158 วรรคหนึ่ง จําเลยยอมไม่อยู่ภายใตอํานาจการตรวจสอบ การยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินโดยประธานวุฒิสภา คณะกรรมการ ป.ป.ช. จึงไม่จําต้องสงเรื่องให้ ประธานวุฒิสภาเพื่อพิจารณากอนสงให้อัยการสูงสุดดําเนินการฟ้องคดีอีก สวนที่จําเลยอางวา คณะกรรมการ ป.ป.ช. ออกระเบียบและประกาศขัดต่อพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกัน ้ หนา 15 ่ เลม 140 ตอนที่ 27 ก ราชกิจจานุเบกษา 11 เมษายน 2566

และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ พ.ศ. 2561 มาตรา 158 และมาตรา 43 นั้น เมื่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีหน้าที่และอํานาจในการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินของพนักงานเจ้าหน้าที่ของสํานักงาน ป.ป.ช. ที่มีหน้าที่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สิน โดยไม่ต้องสงเรื่องให้ประธานวุฒิสภากอนสงเรื่องให้อัยการสูงสุด ดําเนินการฟ้องคดีดังวินิจฉัยแล้ว การที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ออกระเบียบคณะกรรมการปองกัน และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติวาด้วยการยื่นบัญชี การตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินของพนักงานเจ้าหน้าที่ ตามมาตรา 158 และการดําเนินคดีที่เกี่ยวของกับการยื่นบัญชี พ.ศ. 2561 ขอ 33 กําหนดให้ กรณีการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินของผู้ยื่นบัญชีในตําแหนงตั้งแต่ระดับผู้อํานวยการกองขึ้นไป และพนักงานเจ้าหน้าที่ ซึ่งมีตําแหนงและหน้าที่เกี่ยวกับการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สิน ให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็นผู้ดําเนินการตรวจสอบทรัพย์สินเอง และขอ 35 กําหนดให้กรณีที่ คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติวา ผู้ยื่นบัญชีจงใจไม่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สิน หรือจงใจยื่นบัญชีทรัพย์สิน และหนี้สินด้วยขอความอันเป็นเท็จหรือปกปดขอเท็จจริงที่ควรแจงให้ทราบ และมีพฤติการณอันควรเชื่อได้วา มีเจตนาไม่แสดงที่มาแห่งทรัพย์สินหรือหนี้สินนั้นแล้ว ให้ผู้ตรวจสอบทรัพย์สินหรือผู้ที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมายสงเรื่องให้อัยการสูงสุดเพื่อดําเนินการฟ้องคดีต่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดํารงตําแหนงทางการเมือง จึงเป็นการออกระเบียบและประกาศรองรับให้สอดคลองสัมพันธกับบทบัญญัติของกฎหมายแล้ว การที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. สงเรื่องให้อัยการสูงสุดเพื่อดําเนินการฟ้องเป็นคดีนี้ จึงชอบแล้ว สวนที่จําเลยให้การวา คณะกรรมการ ป.ป.ช. ดําเนินการไตสวนโดยไม่ชอบ กระทําการผิดขั้นตอน เพื่อให้ได้มาซึ่งเอกสาร โดยอางถึงกรณีที่สํานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงินมีหนังสือแจงเบาะแสวา นางธนิภา พวงจําปา ภริยาจําเลยต้องสงสัยวาอาจเกี่ยวของกับการฟอกเงินโดยมีการทําธุรกรรมทั้งใน และตางประเทศในชวงป 2555 ถึง ป 2559 อันเป็นการนําขอเท็จจริงที่ไม่ผานกระบวนการ ที่ชอบด้วยกฎหมายเขามาเพื่อดําเนินการตรวจสอบเชิงลึกกับจําเลย นอกจากนี้ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ยังได้พิจารณาเห็นชอบตามที่สํานักตรวจสอบทรัพย์สินภาครัฐและรัฐวิสาหกิจเสนอวาจําเลยมิได้แสดง บัญชีเงินฝากของ นางธนิภา 7 บัญชี และบัตรเครดิต 4 บัญชี แล้วมีมติให้แจงขอกลาวหาแกจําเลยเป็นคดีนี้ โดยไม่ได้มีการสอบถามขอมูลตาง ๆ จากจําเลยตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 234 (3) และมาตรา 235 วรรคทาย และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกัน และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มาตรา 109 วรรคสอง และมาตรา 114 วรรคสอง ้ หนา 16 ่ เลม 140 ตอนที่ 27 ก ราชกิจจานุเบกษา 11 เมษายน 2566

ทั้งที่จําเลยยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินครั้งแรกตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2560 และยื่นบันทึกชี้แจงรายงานแสดงบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินเพิ่มเติมเป็นครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2561 ไวกอนแล้วด้วยตนเอง การดําเนินการดังกลาวของคณะกรรมการ ป.ป.ช. จึงมิได้เกิดจากการตรวจสอบตามระเบียบ ขอบังคับ หรือประกาศของคณะกรรมการ ป.ป.ช. อีกทั้งเอกสารที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงินอางถึง ก็มีขอพิรุธสงสัย ถึงความมีอยู่จริงและความถูกต้องของเอกสาร เพราะไม่ปรากฏในสํานวนของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ตั้งแต่แรก อีกทั้งการตรวจสอบบัญชีธนาคารตาง ๆ ของ นางธนิภา ตั้งแต่ป 2555 เป็นการตรวจสอบยอนหลัง ซึ่งไม่มีกฎหมายกําหนดให้สามารถดําเนินการได้ จึงเป็นการตรวจสอบโดยมิชอบ การตรวจสอบธุรกรรมทางการเงิน ของจําเลย นางธนิภา และผู้ที่เกี่ยวของก็ไม่มีการขอมติจากคณะกรรมการ ป.ป.ช. เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มาตรา 38 นั้น เห็นวา ในการดําเนินคดีอาญากับเจ้าหน้าที่ของรัฐ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกัน และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 26 ให้อํานาจคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในการแสวงหาขอเท็จจริง และรวบรวมพยานหลักฐานเพื่อที่จะทราบขอเท็จจริงหรือพิสูจนความผิดและเพื่อจะเอาตัวผู้กระทําผิด มาฟ้องลงโทษ มาตรา 37/2 ซึ่งนํามาใชบังคับกับการตรวจสอบบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน ของเจ้าหน้าที่ของรัฐโดยอนุโลมตามมาตรา 42 ยังบัญญัติให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอํานาจในการตรวจสอบ ทรัพย์สินและหนี้สินเพื่อพิสูจนความถูกต้องและความมีอยู่จริงของทรัพย์สินและหนี้สิน หากมีพฤติการณปรากฏ หรือมีเหตุอันควรสงสัยเกี่ยวกับการได้มาซึ่งทรัพย์สินและหนี้สินรายการใดโดยไม่ชอบ ให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอํานาจดําเนินการตรวจสอบธุรกรรมทางการเงินหรือการได้มาซึ่งทรัพย์สินและหนี้สินนั้นได้ โดยให้กระทําได้ ต่อเมื่อมีการยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินแล้ว ทั้งยังให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอํานาจ เรียกขอมูลเกี่ยวกับการทําธุรกรรมทางการเงินของบุคคลที่เกี่ยวของกับผู้มีหน้าที่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สิน และหนี้สินจากสํานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงินได้อีกด้วย การที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ดําเนินการตรวจสอบเชิงลึกเกี่ยวกับทรัพย์สินของ นางธนิภา ภายหลังจากที่จําเลยยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สิน และหนี้สินไวแล้ว เนื่องจากได้รับหนังสือแจงเบาะแสจากสํานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน และได้รับขอมูลจากสํานักตรวจสอบทรัพย์สินภาครัฐและรัฐวิสาหกิจวา นางธนิภา ต้องสงสัยเกี่ยวของกับ การฟอกเงิน อันนํามาสูการแจงขอกลาวหาแกจําเลยเป็นคดีนี้ ยอมถือได้วาเป็นกรณีมีพฤติการณปรากฏ ้ หนา 17 ่ เลม 140 ตอนที่ 27 ก ราชกิจจานุเบกษา 11 เมษายน 2566

หรือมีเหตุอันควรสงสัยเกี่ยวกับการได้มาซึ่งทรัพย์สินและหนี้สินรายการใดโดยไม่ชอบภายหลังจากที่จําเลย ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. แล้ว คณะกรรมการ ป.ป.ช. ยอมมีอํานาจดําเนินการตรวจสอบธุรกรรมทางการเงินหรือการได้มาซึ่งทรัพย์สินและหนี้สินนั้น รวมถึงมีอํานาจ เรียกขอมูลเกี่ยวกับการทําธุรกรรมทางการเงินของบุคคลที่เกี่ยวของกับผู้มีหน้าที่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สิน และหนี้สินจากสํานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงินได้ แมต่อมาพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาด้วยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 จะถูกยกเลิกโดยพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาด้วยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 บัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินที่ยื่น ไวเดิมก็ยังถือวาเป็นการยื่นตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 และการไตสวน รวบรวมพยานหลักฐาน และการดําเนินการดังกลาวของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ยังคงถือเป็นการดําเนินการโดยชอบตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกัน และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มาตรา 188 และมาตรา 194 วรรคสอง นอกจากนี้ มาตรา 4 ยังได้ให้คําจํากัดความของการไตสวนวาหมายถึง การแสวงหา รวบรวม และการดําเนินการอื่นใด เพื่อให้ได้มาซึ่งขอเท็จจริงและพยานหลักฐาน ทั้งมาตรา 38 ยังได้กําหนดให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอํานาจขอขอมูลจากสํานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงินได้ในกรณีที่มีความจําเป็นต้องได้ขอมูล เกี่ยวกับธุรกรรมทางการเงินของบุคคลนั้นหรือบุคคลที่เกี่ยวของในการดําเนินการตรวจสอบหรือไตสวน เพื่อมีความเห็นหรือวินิจฉัยเกี่ยวกับการกระทําของบุคคลใด และมาตรา 67 วรรคสาม บัญญัติให้ คณะกรรมการ ป.ป.ช. อาจนําพยานหลักฐานที่ได้จากการไตสวนหรือพยานหลักฐานที่ได้มาจากตางประเทศ อันได้มาอยางถูกต้องตามกฎหมายในคดีใดคดีหนึ่งมาใชเป็นพยานหลักฐานประกอบสํานวนการไตสวนที่เกี่ยวของได้ สวนที่จําเลยโตแยงวาคณะกรรมการ ป.ป.ช. ดําเนินการไตสวนและตรวจสอบทรัพย์สินของจําเลย กรณีเขารับตําแหนงโดยรวบรัด ไม่ได้ไตสวนให้ได้ความถึงเจตนาของจําเลยและไม่ได้สอบถามขอมูลตาง ๆ จากจําเลยกอน ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 23 4 (3) และมาตรา 235 วรรคทาย และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกันและปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ พ.ศ. 2561 มาตรา 109 วรรคสอง มาตรา 114 วรรคสอง นั้น ทางไตสวนได้ความวา ภายหลังคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ 2562 เห็นชอบให้ดําเนินการแจงขอกลาวหา แกจําเลยกรณีไม่แสดงรายการทรัพย์สิน 8 รายการ กับได้เห็นชอบให้ขยายระยะเวลาสงเอกสารหลักฐาน ้ หนา 18 ่ เลม 140 ตอนที่ 27 ก ราชกิจจานุเบกษา 11 เมษายน 2566

ประกอบคําชี้แจงเพิ่มเติมตามที่จําเลยรองขอ และมอบหมายให้กรรมการ ป.ป.ช. ผู้รับผิดชอบ สํานวนพิจารณาขยายระยะเวลาชี้แจงแกขอกลาวหาหากมีการขอ ตามเอกสารหมาย จ. 24 แล้ว ต่อมาจําเลยได้ยื่นหนังสือ ฉบับลงวันที่ 24 และวันที่ 25 กุมภาพันธ 2562 ขอสงเอกสารหลักฐาน ประกอบคําชี้แจงเพิ่มเติมและขอความเป็นธรรม ฉบับลงวันที่ 26 กุมภาพันธ 2562 ขอเลื่อน การรับทราบขอกลาวหาออกไปจนกวาคณะกรรมการ ป.ป.ช. พิจารณาคําชี้แจงและการขอความเป็นธรรม ฉบับลงวันที่ 4 มีนาคม 2562 ขอแจงบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน รายการเงินฝากของคู่สมรส เพิ่มเติม 3 บัญชี และฉบับลงวันที่ 5 มีนาคม 2562 ขอเลื่อนการรับทราบขอกลาวหาครั้งที่ 2 เนื่องจากติดอบรมในวันที่ 6 มีนาคม 2562 ซึ่งตรงกับวันที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ให้มารับทราบขอกลาวหา และมีกําหนดเดินทางไปตางประเทศ ระหวางวันที่ 7 ถึง 18 มีนาคม 2562 ซึ่งสํานักงาน ป.ป.ช. ได้มีหนังสือลงวันที่ 5 มีนาคม 2562 ถึงจําเลยแจงวา คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีกําหนดพิจารณา เรื่องการขอความเป็นธรรมในวันที่ 6 มีนาคม 2562 ผลเป็นประการใดให้จําเลยไปพบคณะกรรมการ ป.ป.ช. ผู้รับผิดชอบสํานวนในวันดังกลาวเวลาประมาณ 14 นาฬิกา ตามเอกสารหมาย จ. 29 จนกระทั่ง เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2562 คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติวา คําชี้แจงเพิ่มเติมของจําเลยไม่มีขอเท็จจริง หรือขอมูลใหมที่จะเป็นเหตุให้ยุติการแจงขอกลาวหา และให้คณะกรรมการดําเนินการตรวจสอบทรัพย์สินต่อไป แต่ในวันดังกลาวจําเลยไม่มาพบคณะกรรมการ ป.ป.ช. ตามนัดในหนังสือแจง ตามเอกสารหมาย จ.30 แสดงให้เห็นวา คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้ให้โอกาสจําเลยในการยื่นเอกสารหลักฐานประกอบคําชี้แจง ชี้แจงขอเท็จจริงใหมเพิ่มเติม และพิจารณาเรื่องที่จําเลยรองขอความเป็นธรรมแล้ว รวมถึงอนุญาตให้จําเลย เลื่อนการรับทราบขอกลาวหาถึง 2 ครั้ง และนัดจําเลยให้ไปชี้แจงต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. แต่จําเลยไม่ไปพบ ทั้งพยานหลักฐานของจําเลยก็ไม่เพียงพอที่จะเป็นเหตุให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. พิจารณายุติการแจงขอกลาวหา การไตสวนและตรวจสอบทรัพย์สินของคณะกรรมการ ป.ป.ช. จึงมิได้เป็นการดําเนินการอยางรวบรัด ดังที่จําเลยกลาวอาง แต่อยางใด ถือได้วาคณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้ให้โอกาสจําเลยแกขอกลาวหา พอสมควรแล้ว ดังนั้น การมีมติให้ไตสวน การดําเนินการไตสวน การแจงขอกลาวหา การตรวจสอบขอเท็จจริง การรวบรวมพยานหลักฐาน และการสงเรื่องให้อัยการสูงสุดเพื่อดําเนินการฟ้องคดีของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ที่ดําเนินการมาจึงชอบด้วยกฎหมาย โจทก์มีอํานาจฟ้อง ขออางของจําเลยฟงไม่ขึ้น ้ หนา 19 ่ เลม 140 ตอนที่ 27 ก ราชกิจจานุเบกษา 11 เมษายน 2566

ปญหาต้องวินิจฉัยต่อไปวา จําเลยจงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินด้วยขอความ อันเป็นเท็จหรือปกปดขอเท็จจริงที่ควรแจงให้ทราบ และมีพฤติการณอันควรเชื่อได้วามีเจตนาไม่แสดงที่มา แห่งทรัพย์สินหรือหนี้สินตามฟ้องหรือไม่ เนื่องจากมีทรัพย์สินและหนี้สินหลายรายการ จึงเห็นควรวินิจฉัย ตามกลุ่มของทรัพย์สินและหนี้สินเป็นลําดับไป สําหรับบัญชีเงินฝากธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) สาขาเซ็นทรัล ปนเกลา ประเภทกระแสรายวัน เลขที่ 758 - 1 - 01003 - 0 ชื่อบัญชี นางธนิภา พวงจําปา คู่สมรสจําเลย มียอดเงินฝากคงเหลือ ณ วันที่มีหน้าที่ยื่นบัญชี 10 , 000 บาท จําเลยให้การวา บัญชีเงินฝากกระแสรายวันดังกลาวผูกคู่กับบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ซึ่งจําเลยได้แสดงในการยื่นบัญชี แสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินไวแล้ว โดยมีเงื่อนไขวาหากมีการสั่งจายเช็คจากบัญชีเงินฝากกระแสรายวัน เป็นจํานวนเงินเทาใด ธนาคารจะตัดยอดเงินดังกลาวจากบัญชีเงินฝากออมทรัพย์โดยอัตโนมัติ รายการเคลื่อนไหว ทั้งสองบัญชีจึงเกี่ยวของสัมพันธกัน เงินที่ผานบัญชีเงินฝากกระแสรายวันทั้งหมดตัดยอดหรือโอนมาจาก บัญชีเงินฝากออมทรัพย์ มีรายการเคลื่อนไหวทางบัญชีอยางเดียวกัน การที่ไม่ได้แจงบัญชีเงินฝาก กระแสรายวันเกิดจากความเขาใจของ นางธนิภา วาไม่มีจํานวนเงินคงเหลือเป็นการเขาใจที่คลาดเคลื่อน องคคณะผู้พิพากษาเสียงขางมาก เห็นวา ทางไตสวนได้ความจาก นางสาววิไลรัตน์ ลิ้มดําเนิน ผู้จัดการธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) สาขาเซ็นทรัล ปนเกลา วา นางธนิภา เปดบัญชีเงินฝาก ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) สาขาเซ็นทรัล ปนเกลา ประเภทออมทรัพย์ เลขที่ 758 - 2 - 01443 - 9 เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2541 ต่อมา นางธนิภา เปดบัญชีเงินฝากกระแสรายวัน เลขที่ 758 - 1 - 01003 - 0 เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2551 มีการยื่นคําขอผูกบัญชีเงินฝากกระแสรายวันไวกับบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ดังกลาว ให้ธนาคารหัก และ/หรือโอนเงินจากบัญชีเงินฝากออมทรัพย์เขาบัญชีเงินฝากกระแสรายวันดังกลาว และต้องมีเงินฝากในบัญชีเงินฝากกระแสรายวันขั้นต่ํา 10 , 000 บาท เพื่อสํารองในการสั่งจายเช็ค เมื่อลูกคาสั่งจายเช็คธนาคารจะตัดเงินที่มีอยู่ในบัญชีเงินฝากกระแสรายวัน ลูกคาสามารถฝากหรือโอนเงิน เขาบัญชีเงินฝากกระแสรายวันได้ ในกรณีที่มีการสั่งจายเช็คแต่เงินในบัญชีเงินฝากกระแสรายวันไม่เพียงพอ ธนาคารจะโอนเงินจากบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ที่ผูกไวมายังบัญชีเงินฝากกระแสรายวันโดยอัตโนมัติ ทั้งยังได้ความจาก นางธนิภา ด้วยวา เปดบัญชีเงินฝากกระแสรายวันดังกลาวมา กวา 10 ป แล้ว ธนาคารไม่ได้สงรายการเคลื่อนไหวทางบัญชีของบัญชีเงินฝากกระแสรายวันให้แก นางธนิภา เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2559 นางธนิภา เดินทางไปยังธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) สาขาเซ็นทรัล ปนเกลา ้ หนา 20 ่ เลม 140 ตอนที่ 27 ก ราชกิจจานุเบกษา 11 เมษายน 2566

เพื่อตรวจสอบบัญชีเงินฝากที่มีชื่อ นางธนิภา และพบกับ นางสาวพิชานัน กิจจานุกิจ ผู้ชวยผู้จัดการธนาคาร แต่ นางสาวพิชานัน ก็ไม่ได้แจงให้ทราบถึงบัญชีเงินฝากกระแสรายวัน จําเลยไม่ได้เดินทางไปด้วย และไม่เคยไป หรือเขามายุงเกี่ยว แต่อยางใด เหตุที่ไม่ได้แสดงบัญชีเงินฝากกระแสรายวันดังกลาวเพราะเชื่อโดยสุจริตวา รายการเคลื่อนไหวที่มีการเรียกเก็บเงินตามเช็คผานบัญชีเงินฝากกระแสรายวันทุกรายการ ธนาคารจะหัก หรือโอนมาจากบัญชีเงินฝากออมทรัพย์โดยอัตโนมัติ ไม่มีจํานวนยอดคงเหลือ และไม่มีการทําธุรกรรม ในวันที่จําเลยยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน นางธนิภา แจงให้จําเลยทราบเกี่ยวกับ บัญชีเงินฝากออมทรัพย์ดังกลาว ซึ่งจําเลยได้แสดงต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. แล้ว ดังนี้ เมื่อ นางธนิภา มีคําขอผูกบัญชีเงินฝากกระแสรายวันเขากับบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ ทั้งรายการเดินบัญชีเงินฝาก ทั้งสองบัญชีดังกลาวตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 จนถึงวันที่จําเลยยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน กรณีเขารับตําแหนง ปรากฏวาเงินที่โอนเขาบัญชีเงินฝากกระแสรายวันทุกรายการถูกโอนมาจากบัญชีเงินฝาก ออมทรัพย์เพื่อชําระหนี้ตามเช็คเทานั้น โดยยอดเงินฝากเขาและถอนออกเป็นจํานวนเดียวกันทุกจํานวน เวนแต่เพียงรายการถอนเงินออกเพื่อชําระคาธรรมเนียมให้แกธนาคารเทานั้น ยอดเงินที่เคลื่อนไหว ในบัญชีเงินฝากกระแสรายวันทุกรายการจึงปรากฏอยู่ในบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ที่ได้ผูกกันไว บัญชีเงินฝากกระแสรายวันดังกลาวจึงเปดขึ้นเพื่อความสะดวกในการทําธุรกรรมทางการเงิน และให้สิทธิธนาคาร ที่จะโอนเงินจากบัญชีเงินฝากออมทรัพย์เพื่อปรับยอดในบัญชีเงินฝากกระแสรายวันได้ โดยที่ นางธนิภา ไม่ต้องดําเนินการใด ๆ นอกจากนี้ บัญชีดังกลาวเปดมาเป็นระยะเวลาเกือบ 10 ป กอนที่จําเลยมีหน้าที่ ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน ทั้งเป็นการเปดบัญชีเพื่อทําธุรกรรมของกิจการภายในหมู่พี่นอง ของ นางธนิภา เอง โดยไม่ปรากฏวาจําเลยมีสวนเกี่ยวของกับการดําเนินกิจการดังกลาว ทั้งยอดเงินในบัญชี เงินฝากกระแสรายวันก็มีเป็นจํานวนนอยเมื่อเทียบกับยอดเงินในบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ซึ่งมีเป็นจํานวนมาก และจําเลยแสดงบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. แล้ว อาจทําให้ นางธนิภา ไม่ได้แจงให้จําเลยทราบถึงรายละเอียดเกี่ยวกับบัญชีเงินฝากกระแสรายวัน เป็นเหตุให้จําเลยไม่ทราบ จึงไม่ได้แสดงไวในบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินหรือหนี้สินที่ยื่นไวต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ทั้งไม่ปรากฏ มูลเหตุที่จําเลยต้องปกปดไม่แสดงรายการธุรกรรมการเงินในบัญชีเงินฝากกระแสรายวันดังกลาว ขอเท็จจริงจึงยังฟงไม่ได้วา จําเลยมีเจตนาไม่แสดงที่มาแห่งทรัพย์สินในสวนนี้ ้ หนา 21 ่ เลม 140 ตอนที่ 27 ก ราชกิจจานุเบกษา 11 เมษายน 2566

สําหรับเงินลงทุนของ นางธนิภา ในบริษัท ปาลม บิซ คอรปอเรชั่น จํากัด จํานวน 20 , 000 หุน หมายเลขใบหุนที่ 160001 - 180000 ราคาจดทะเบียนหุนละ 100 บาท มูลคารวม 2 , 000 , 000 บาท จําเลยให้การวา นางธนิภา โอนหุนดังกลาวให้แก นายธนกร นันที นองชาย เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2553 ภายหลังจําเลยทราบขอกลาวหาจึงได้ตรวจสอบขอเท็จจริงพบวา เป็นขอบกพรองในการนําสงบัญชีรายชื่อผู้ถือหุนซึ่งมีการนับรายชื่อผู้ถือหุนผิดพลาด เป็นเรื่องของการจัดทําเอกสาร นอกจากนี้ จําเลยยังตรวจสอบพบวาในป 2554 มีการยื่นบัญชีรายชื่อผู้ถือหุนเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2554 ไม่มีชื่อ นางธนิภา เป็นผู้ถือหุนซึ่งเป็นขอมูลที่ถูกต้อง แต่ในการนําสงเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2554 กลับมีชื่อ นางธนิภา เป็นผู้ถือหุนอีก โดยที่ นางธนิภา ไม่ทราบขอเท็จจริง การที่ นางธนิภา มีชื่อในบัญชีรายชื่อผู้ถือหุนในการนําสงวันที่ 17 ธันวาคม 2554 วันที่ 30 ตุลาคม 2559 (ครั้งที่ 1) วันที่ 30 ตุลาคม 2559 (ครั้งที่ 2) วันที่ 30 ตุลาคม 2560 และวันที่ 30 ตุลาคม 2561 เกิดจากความผิดพลาดทางธุรการ ไม่มีเหตุผลที่ นางธนิภา จะกลับเขาไปถือหุนอีกเพราะผลประกอบการ ของบริษัทดังกลาวขาดทุนมาโดยตลอดไม่ได้รับเงินปนผล หยุดดําเนินงานมาหลายป และมูลคาหุน เทากับศูนยบาท องคคณะผู้พิพากษาเสียงขางมาก เห็นวา แมตามสําเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุนเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2554 และวันที่ 30 ตุลาคม 2559 ครั้งที่ 1 และที่ 2 ซึ่งเป็นเวลากอนจําเลย ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน กรณีเขารับตําแหนง มีรายชื่อผู้ถือหุน 5 คน คือ นายมณฑล นันที นายวัชรินทร สุทธิประภา นายธกฤษณ พรหมเดชะ เด็กหญิงเมสา เจน สิริดํารงพันธุ รวมทั้ง นางธนิภา ซึ่งระบุจํานวนหุนและหมายเลขใบหุนเหมือนกันทุกครั้ง แต่ตามสําเนาบัญชีรายชื่อ ผู้ถือหุนเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2553 วันที่ 30 ตุลาคม 2554 และป 2555 ถึงป 2558 มีรายชื่อผู้ถือหุน 6 คน คือ นายธนกร นายประจวบ นันที พลตํารวจ เอก สมจิตต นันที นายวัชรินทร นายธกฤษณ และ เด็กหญิงเมสา เจน ระบุจํานวนหุนและหมายเลขใบหุนเหมือนกันทุกครั้ง โดยไม่ปรากฏชื่อของ นางธนิภา เป็นผู้ถือหุน สอดคลองกับที่จําเลยอางวา นางธนิภา โอนหุนคืนให้ นายธนกร แล้วตั้งแต่วันที่ 28 ตุลาคม 2553 สวนสําเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุนที่ยื่นในป 2559 ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2559 และครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2559 สําหรับรอบบัญชีวันที่ 30 ตุลาคม 2559 กลับมาปรากฏชื่อ นางธนิภา ถือหุน 20 , 000 หุน หมายเลขใบหุนที่ 160001 - 180000 ราคาจดทะเบียนมูลคาหุน หุนละ 100 บาท รวมมูลคา ้ หนา 22 ่ เลม 140 ตอนที่ 27 ก ราชกิจจานุเบกษา 11 เมษายน 2566

2 , 000 , 000 บาท อีก ซึ่งขณะนั้นบริษัท ปาลม บิซ คอรปอเรชั่น จํากัด ยังไม่มีการเลิกกิจการก็ตาม แต่ได้ความจากคําเบิกความของ นายมณฑล นายธนกร และ นายธกฤษณ ทํานองเดียวกันวา บริษัท ปาลม บิซ คอรปอเรชั่น จํากัด ไม่ได้ดําเนินกิจการมาหลายป ผลประกอบการของบริษัท ขาดทุนมาโดยตลอด ไม่มีการจายเงินปนผล สอดคลองกับรายงานของผู้สอบบัญชีเสนอต่อผู้บริหาร ของบริษัท ปาลม บิซ คอรปอเรชั่น จํากัด ประกอบงบกําไรขาดทุน ตามสําเนางบแสดงฐานะการเงิน ของบริษัท ปาลม บิซ คอรปอเรชั่น จํากัด เอกสารหมาย จ.51 วา ในป 2561 บริษัท ปาลม บิซ คอรปอเรชั่น จํากัด มีหนี้สินหมุนเวียนสูงกวาสินทรัพย์หมุนเวียน และมีผลขาดทุนเกินทุนเป็นจํานวนมาก ทั้งไม่ปรากฏวา นางธนิภา เขาไปมีสวนเกี่ยวของในการดําเนินกิจการหรือได้รับผลประโยชนในบริษัท ปาลม บิซ คอรปอเรชั่น จํากัด อยางไร จึงไม่มีเหตุให้ นางธนิภา กลับเขาเป็นผู้ถือหุนในบริษัทดังกลาวอีก นอกจากนี้ การนําสงบัญชีรายชื่อผู้ถือหุน (บอจ.5) เป็นหน้าที่ของกรรมการผู้มีอํานาจเป็นผู้ดําเนินการ นางธนิภา มีชื่อเป็นเพียงผู้ถือหุน ไม่มีสวนเกี่ยวของกับการทําเอกสาร การตรวจสอบรายชื่อผู้ถือหุน และการยื่นบัญชีรายชื่อผู้ถือหุนต่อนายทะเบียนหุนสวนและบริษัท อาจทําให้ นางธนิภา เขาใจวา นางธนิภา ไม่ได้ถือหุนในบริษัท ปาลม บิซ คอรปอเรชั่น จํากัด แล้ว จึงไม่ได้แจงให้จําเลยทราบ ทั้งหุนดังกลาวเป็นของบริษัทซึ่งเป็นกิจการในหมู่พี่นองของ นางธนิภา ที่มีมานานแล้ว โดยไม่ปรากฏวา จําเลยมีสวนเกี่ยวของในการประกอบธุรกิจในหมู่พี่นองของ นางธนิภา และในขณะที่จําเลยมีหน้าที่ ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน กรณีเขารับตําแหนง บริษัทดังกลาวก็ไม่ได้ประกอบกิจการ มีผลขาดทุน ไม่มีการจายเงินปนผลไม่มีมูลเหตุให้จําเลยต้องปกปดการเป็นผู้ถือหุนของ นางธนิภา จึงเชื่อวาจําเลยไม่ทราบถึงการเป็นผู้ถือหุนของ นางธนิภา ในบริษัทดังกลาว ขอเท็จจริงจึงยังฟงไม่ได้วา จําเลยมีเจตนาไม่แสดงที่มาแห่งทรัพย์สินในสวนนี้ สําหรับบัญชีเงินฝากธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาลอนดอน สหราชอาณาจักร ประเภทกระแสรายวัน ( Current Account) เลขที่บัญชี 0807 - 179574 - 000 ชื่อบัญชี นางธนิภา พวงจําปา ยอดเงินฝากคงเหลือ ณ วันที่มีหน้าที่ยื่นบัญชี 0 ปอนดสเตอรลิง ประเภทออมทรัพย์ ( Deposit Call Account) เลขที่บัญชี 0807 - 179574 - 400 ชื่อบัญชี นางธนิภา พวงจําปา ยอดเงินฝากคงเหลือ ณ วันที่มีหน้าที่ยื่นบัญชี 12 , 238.28 ปอนดสเตอรลิง ประเภท ออมทรัพย์ ( Deposit Call Account) เลขที่บัญชี 0807 - 179574 - 401 ชื่อบัญชี นางธนิภา พวงจําปา ้ หนา 23 ่ เลม 140 ตอนที่ 27 ก ราชกิจจานุเบกษา 11 เมษายน 2566

ยอดเงินฝากคงเหลือ ณ วันที่มีหน้าที่ยื่นบัญชี 225 , 721.18 ปอนดสเตอรลิง และหองชุดเลขที่ 68 ในอาคารชุด Wolfe House 389 Kensington High Street ลอนดอน สหราชอาณาจักร มีชื่อ นางธนิภา พวงจําปา เป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์โดยมีการกูเงินจากธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาลอนดอน มีหนี้คงคางกับธนาคารบัญชีเงินกู ( Loan Account) เลขที่ 0807 - 179574 - 100 ณ วันที่มีหน้าที่ยื่นบัญชี 2 , 362 , 500 ปอนดสเตอรลิง นั้น เห็นควรวินิจฉัยไปในคราวเดียวกัน จําเลยให้การวา นางธนิภา เพียงแต่ถือกรรมสิทธิ์ในหองชุดแทน นายโรเบิรต ลี (Mr.Robert Man Fa Li) นางธนิภา ไม่มีสวนเกี่ยวของกับบริษัท Mega City Holdings Limited นายโรเบิรต เป็นผู้ผอนชําระเงินกู ขณะที่จําเลยยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน จําเลยเขาใจโดยสุจริตวา นางธนิภา โอนกรรมสิทธิ์หองชุดและปดบัญชีตามคําฟ้องแล้ว จําเลยเพิ่งทราบจาก นางธนิภา หลังจากยื่นบัญชี แสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินไปแล้ววา ยังไม่สามารถไถถอนจํานองและปดบัญชีได้ จําเลยจึงมี หนังสือชี้แจงเพิ่มเติม ครั้งที่ 2 ฉบับลงวันที่ 30 พฤษภาคม 2561 ประกอบคําชี้แจงเพิ่มเติม ฉบับลงวันที่ 24 กุมภาพันธ 2562 ตามเอกสารหมาย จ.12 ทางไตสวนได้ความจาก นายพีริยเทพ หอมหวล ผู้จัดการธนาคารกรุงเทพ จํากั ด (มหาชน) สาขาลอนดอน เบิกความยืนยันวา นายพีริยเทพ ได้รับแจงจาก นายธนกร นันที ซึ่งเป็นเจ้าของรานอาหารไทยในกรุงลอนดอนวา นางธนิภา ต้องการกูเงิน จากธนาคาร ต่อมา นางธนิภา โทรศัพทติดต่อ นายพีริยเทพ แจงวาต้องการกูเงินเพื่อนําไปซื้อหองชุดป ลอยให้เชา หลังจากนั้น ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ในประเทศไทยมอบหมายให้เจ้าหน้าที่ธนาคารนําเอกสาร ที่เกี่ยวของไปให้ นางธนิภา กรอกขอมูลตามแบบฟอรมของธนาคารเพื่อใชในการขอกูเงิน เป็นการขอกูเงิน ในรูปแบบ Buy to Let คือ การกูเงินเพื่อนําไปซื้ออสังหาริมทรัพย์เพื่อปลอยเชาโดยนําคาเชา มาชําระเงินกูถือเป็นการลงทุนรูปแบบหนึ่ง ซึ่งธนาคารต้องประเมินหลักทรัพย์ที่นํามาค้ําประกันเงินกูวา มีศักยภาพในการนําไปปลอยเชาเพื่อนําคาเชามาชําระเงินกูได้มากนอยเพียงใด รวมทั้งมูลคาหลักทรัพย์ หองชุดที่ นางธนิภา จะซื้อเป็นอสังหาริมทรัพย์ใหม อยู่ในทําเลดีเพิ่งกอสรางเสร็จ ธนาคารจึงพิจารณา ปลอยกู 3 , 150 , 000 ปอนดสเตอรลิง จากยอดซื้อ 4 , 500 , 000 ปอนดสเตอรลิง หองชุดดังกลาว ได้รับการประเมินวาสามารถปลอยเชาได้ในราคาประมาณ 130 , 000 ปอนดสเตอรลิง ต่อป ธนาคารยังประเมินความสามารถในการชําระหนี้ของผู้กู คือ นางธนิภา ซึ่งสงเอกสารแสดงวา นางธนิภา มีแหลงเงินได้จากบริษัท Mega City Holdings Limited ที่ นางธนิภา เป็นกรรมการและได้รับเงินปนผล ้ หนา 24 ่ เลม 140 ตอนที่ 27 ก ราชกิจจานุเบกษา 11 เมษายน 2566

กับเอกสารรับรองสถานะทางการเงินที่ออกโดยธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) ของบริษัท Global Palm Oil Co.,Ltd. ในประเทศไทย ซึ่ง นางธนิภา เป็นกรรมการผู้จัดการ ตามเอกสารหมาย จ.66 และ จ. 67 ในการนี้ นางธนิภา ได้เปดบัญชีกับธนาคารเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2557 เพื่อใชในการชําระหนี้เงินกูแกธนาคาร นางธนิภา เบิกถอนเงินกูทั้งจํานวนเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2557 ในสวนหองชุดดังกลาว นางธนิภา ทําการซื้อและกรรมสิทธิ์ถูกโอนมายัง นางธนิภา ในวันเดียวกัน โดยมีการจดทะเบียนจํานองไวกับธนาคาร และปรากฏชื่อบริษัท Falcon Energy International Limited ซึ่งมีความเกี่ยวของกับ นางธนิภา เป็นผู้ริเริ่มซื้อหองชุดดังกลาว และกอนการขอกูเงินจากธนาคาร มีการชําระเงินดาวนคาหองชุด จํานวน 4 ครั้ง เป็นเงินรวม 1 , 116 , 000 ปอนดสเตอรลิง ตามเอกสารหมาย จ.68 และ จ.69 ซึ่ง นายพีริยเทพ เชื่อวาเป็นเงินของ นางธนิภา ต่อมา นางธนิภา โทรศัพทแจง นายพีริยเทพ วาทําสัญญาขายหองชุดแก นายโรเบิรต แล้ว นายพีริยเทพ จึงแจงให้ นางธนิภา ทราบถึงวิธีปฏิบัติที่ถูกต้องและธนาคารไม่รับรูและไม่ยอมรับเรื่องดังกลาว แต่ต่อมา นางธนิภา ยังคงมีหนังสือลงวันที่ 3 มกราคม 2560 ถึงธนาคารแจงเรื่อง การขายหองชุดดังกลาวแก นายโรเบิรต ตามเอกสารหมาย จ.76 และ จ.77 หนังสือดังกลาว นายโรเบิรต เป็นผู้นํามามอบให้ภายหลังจาก วันที่ลงในหนังสือแล้ว 2 ถึง 3 เดือน ต่อมาธนาคารจึงมีหนังสือฉบับลงวันที่ 19 กันยายน 2560 ยืนยันวา นางธนิภา ยังเป็นลูกหนี้ของธนาคารและหองชุดดังกลาวยังเป็นหลักประกันตามกฎหมาย ตามเอกสารหมาย จ.80 และ จ.81 ภายหลัง นางธนิภา มีหนังสือแจงธนาคารขอยกเลิกการซื้อขายหองชุด โดยยอมรับวายังเป็นลูกหนี้ตามสัญญากูกับธนาคารอยู่ ตามเอ กสารหมาย จ. 82 และ จ. 83 ต่อมา นางธนิภา มีหนังสือแจงธนาคารวาประสงคจะขายหองชุดและไถถอนจํานอง โดยแจงลวงหน้า ประมาณ 2 เดือน กอนทําสัญญาขายหองชุด นางธนิภา ไถถอนจํานองและปดบัญชีเงินกูเมื่อวันที่ 23 มกราคม 2561 และปดบัญชีที่เหลือทั้งหมด ในวันที่ 29 มกราคม 2561 นอกจากนี้ ยังได้ความจาก นางสาวเกษมาภรณ เจริญกุล ผู้ชํานาญการฝ่ายอํานวยการสาขาตางประเทศ ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) วา ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาลอนดอน ต้องการให้ นางธนิภา ยืนยันตัวตน นางสาวเกษมาภรณ ได้รับมอบหมายจากธนาคารให้นําสําเนาหนังสือเดินทางมาให้ นางธนิภา ลงชื่อรับรอง และขอรับสําเนาบัตรประจําตัวประชาชนและสําเนาทะเบียนบ้านจาก นางธนิภา โดยให้ลงลายมือชื่อรับรองเอกสารดังกลาวต่อหน้า นางสาวเกษมาภรณ เมื่อตรวจสอบความถูกต้อง ้ หนา 25 ่ เลม 140 ตอนที่ 27 ก ราชกิจจานุเบกษา 11 เมษายน 2566

ของเอกสารทั้งหมดแล้ว จึง สงไปยังธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาลอนดอน เห็นวา ทางไตสวนได้ความจาก นายพีริยเทพ เจ้าหน้าที่ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาลอนดอน วา นางธนิภา เป็นผู้ติดต่อธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาลอนดอน ด้วยตนเอง ตั้งแต่การขอกูยืมเงิน การแจงเรื่อง การขายหองชุดให้ นายโรเบิรต จนกระทั่งการแจงปดบัญชีและไถถอนจํานอง นางธนิภา เป็นผู้ทําสัญญาในฐานะผู้กู เพื่อซื้อหองชุดและเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์หองชุดดังกลาว โดยไม่ได้ระบุวา มีผู้ใดรวมลงทุนด้วย อีกทั้งการขอกูยืม นางธนิภา สงมอบหลักฐานแสดงสถานะทางการเงินของตนเอง เพื่อใชประกอบการพิจารณาคําขอกูยืม ระบุวา นางธนิภา เป็นเจ้าของและได้รับเงินปนผลจาก บริษัท Mega City Holdings Limited ซึ่งเป็นผู้ค้ําประกันเงินกู โดย นายโรเบิรต ในฐานะผู้จัดการ บริษัท Mega City Holdings Limited มีเอกสารรับรองต่อธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาลอนดอน เองวา บริษัท Mega City Holdings Limited ได้จายเงินปนผลให้ นางธนิภา ซึ่งมีฐานะเป็นรักษาการ ประธานของบริษัท Mega City Holdings Limited เป็นจํานวนเงิน 2 , 000 , 000 เหรียญสหรัฐ สอดคลองกับที่ นางธนิภา ระบุในเอกสารประกอบการขอกูเงินต่อธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาลอนดอน ดังกลาว นายโรเบิรต ถูกระบุให้เป็นเพียงผู้ประสานงานเนื่องจากสื่อสารภาษาอังกฤษได้ดี และลงนามในฐานะพยานในสัญญากูเทานั้น ไม่ปรากฏวา นายโรเบิรต เ ปนผู้รวมลงทุน ผู้กูรวม ผู้ค้ําประกันเงินกู หรือมีอํานาจในการบริหารบัญชีเงินกูหรือบัญชีเงินฝากของ นางธนิภา แต่อยางใด นอกจากนี้ ยังได้ความจาก นายพีริยเทพ วา ในการยืนยันสถานะทางการเงินของบริษัทดังกลาว ประกอบการพิจารณาสินเชื่อ นางธนิภา จัดสงเอกสารที่ นางธนิภา จางบริษัท Mourant Ozannes ให้ทําความเห็นเกี่ยวกับบริษัท Mega City Holdings Limited เพื่อแสดงสถานะทางการเงินของ บริษัท Mega City Holdings Limited ด้วย และ นางธนิภา ยื่นเอกสารประกอบการขอกูเงินระบุวา นางธนิภา เป็นเจ้าของบริษัท Mega City Holdings Limited มีการเปดบัญชีกับธนาคาร Hongkong and Shanghai Banking Corporation (HSBC) และมีแหลงเงินได้จากบริษัท Mega City Holdings Limited ซึ่งสอดคลองกับที่ นายพีริยเทพ เบิกความวา โดยหลักผู้ค้ําประกันต้อง มีความเกี่ยวของกับผู้กู แต่ นางธนิภา กลับเบิกความวาไม่ได้เกี่ยวของกับบริษัท Mega City Holdings Limited คําเบิกความของ นางธนิภา จึงขัดแยงกับเอกสารที่ยื่นประกอบการขอกู ทั้งการที่ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาลอนดอน อนุมัติให้บริษัท Mega City Holdings Limited เขาเป็นผู้ค้ําประกันการกูเงินของ ้ หนา 26 ่ เลม 140 ตอนที่ 27 ก ราชกิจจานุเบกษา 11 เมษายน 2566

นางธนิภา ได้ แสดงให้เห็นวาบริษัท Mega City Holdings Limited มีสถานะทางการเงินที่นาเชื่อถือ จึงขัดแยงกับขออางของจําเลยที่วา นายโรเบิรต เคยขอกูยืมเงินจากธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาลอนดอน ในนามของบริษัท Mega City Holdings Limited เพื่อซื้อหองชุดดังกลาว แต่ธนาคารปฏิเสธการขอกู เนื่องจากไม่มีความนาเชื่อถือ ดังนั้น การชี้แจงและคําเบิกความของ นายโรเบิรต ที่วา นายโรเบิรต เป็นเจ้าของและผู้ถือหุนเพียงคนเดี ยวของบริษัท Mega City Holdings Limited นางธนิภา ไม่เกี่ยวของกับบริษัท และไม่เคยได้รับเงินปนผลหรือประโยชนตอบแทน จากบริษัท และบริษัท Mega City Holdings Limited เคยยื่นคําขอกูยืมเงินจากธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาลอนดอน แต่ธนาคารปฏิ เสธคําขอ เนื่องจากบริษัทไม่มีความนาเชื่อถือเพียงพอ ตามหนังสือชี้แจงขอเท็จจริงฉบับลงวันที่ 22 ธันวาคม 2563 เอกสารหมาย จ.76 จ.97 และ ล.34 ลวนขัดแยงกับเอกสารที่ นางธนิภา และ นายโรเบิรต เคยยื่นขอสินเชื่อไวกับธนาคารดังกลาวขางตน ยิ่งไปกวานั้น ยังได้ความจาก นายพีริยเทพ วา นายโรเบิรต ไม่ได้เป็นลูกคาของธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาลอนดอน และไม่เคยยื่นขอกูเงินกับธนาคารมากอน คําเบิกความของ นายโรเบิรต จึงเป็นคําเบิกความแต่เพียงลอย ๆ ทั้งยังเป็นการชี้แจงหลังจากคณะกรรมการ ป.ป.ช. ชี้มูลความผิดแกจําเลยแล้ว อาจเป็นไปเพื่อชวยเหลือจําเลยและ นางธนิภา จึงมีน้ําหนักให้รับฟงนอย เมื่อพิจารณาพฤติการณของ นางธนิภา ที่ยื่นเอกสารประกอบการขอกูเงินต่อธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาลอนดอน ระบุวา นางธนิภา เป็นเจ้าของบริษั ท Mega City Holdings Limited และมีแหลงเงินได้จาก บริษัท Mega City Holdings Limited เชนเดียวกับบริษัท Global Palm Oil Co.,Ltd. ซึ่งมี นางธนิภา เป็นกรรมการผู้จัดการ ประกอบกับพยานหลักฐานอื่น ดังวินิจฉัยขางตนแล้ว จึงเชื่อวา นางธนิภา เป็นเจ้าของบริษัท Mega City Holdings Limited ด้วยเชนเดียวกัน ขอเท็จจริงรับฟงได้วา นางธนิภา เป็นผู้ริเริ่มติดต่อขอกูยืมเงินกับธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาลอนดอน และเปดบัญชี ประเภทเงินฝากกระแสรายวัน Current Account เลขที่บัญชี 0807 - 179574 - 000 ชื่อบัญชี นางธนิภา พวงจําปา บัญชีประเภท Deposit-Call เลขที่บัญชี 0807 - 179574 - 400 ชื่อบัญชี นางธนิภา พวงจําปา และบัญชีประเภท Deposit-Call เลขที่บัญชี 0807 - 179574 - 401 ชื่อบัญชี นางธนิภา พวงจําปา ด้วยตนเอง สวนการชําระเงินคาหองชุดที่จําเลยอางวา นายโรเบิรต เป็นผู้ชําระ นางธนิภา ไม่มีสวนเกี่ยวของในการชําระเงินด้วยนั้น ได้ความจาก นายพีริยเทพ ซึ่งให้การสอดคลองกับ ้ หนา 27 ่ เลม 140 ตอนที่ 27 ก ราชกิจจานุเบกษา 11 เมษายน 2566

คําเบิกความของ นายธกฤษณ วา นายธกฤษณ เป็นผู้ริเริ่มจองหองชุดดังกลาวในนามของ บริษัท Falcon Energy International Limited และเป็นผู้ชําระเงินคาจองหองชุดดังกลาวทั้งสี่งวด เป็นเงิน 1 , 116 , 000 ปอนดสเตอรลิง ในนามของบริษัท Falcon Energy International Limited นายธกฤษณ ยังเบิกความด้วยวา นายโรเบิรต ประสงคจะขอเขารวมลงทุนกับ นายธกฤษณ แต่ นายโรเบิรต รวมลงทุนเพียงรอยละ 10 เทานั้น หลังจากที่ นายธกฤษณ ในนามของบริษัท Falcon Energy International Limited ชําระเงินคาจองหองชุดดังกลาวไปแล้ว เมื่อถึงเวลาที่ต้องโอนกรรมสิทธิ์ของหองชุด นายธกฤษณ ไม่สามารถหาเงินมาชําระคาซื้อหองชุดได้ และเมื่อธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาลอนดอน ปฏิเสธการกูเงินของ นายโรเบิรต นายธกฤษณ จึงแนะนําให้ นายโรเบิรต รูจักกับ นางธนิภา เพื่อขอให้ชวยกูเงินจากธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาลอนดอน มาชําระคาซื้อหองชุดดังกลาว ให้แทน นายธกฤษณ ซึ่งขัดแยงกับเอกสารหมาย ล.34 ขอ 5 ที่ นายโรเบิรต มีหนังสือชี้แจง คณะกรรมการ ป.ป.ช. วา เมื่อธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาลอนดอน ปฏิเสธไม่ปลอยเงินกู ให้แก บริษัท Mega City Holdings Limited นายโรเบิรต จึงปรึกษากับ นายธกฤษณ หาใช นายธกฤษณ เป็นผู้ริเริ่มแนะนําให้ นายโรเบิรต รูจักกับ นางธนิภา นอกจากนี้ ยังได้ความวา นายธกฤษณ รูจักคุนเคยกับครอบครัวของ นางธนิภา มา กวา 10 ป แล้ว หากเป็นเชนนั้น นายธกฤษณ ซึ่งมีความสนิทสนมกับ นางธนิภา มายาวนาน ก็ นาจะเป็นผู้ขอความชวยเหลือจาก นางธนิภา ให้ชวยกูเงินเพื่อนํามาชําระคาซื้อหองชุดแทน นายธกฤษณ ไม่จําต้องแนะนํา นายโรเบิรต ซึ่งมีสวนรวมลงทุน ในการจองหองชุดดังกลาวเพียงรอยละ 10 ให้รูจัก นางธนิภา เพื่อขอให้ชวยกูเงินมาชําระคาซื้อหองชุด ดังกลาวแทน นายธกฤษณ แต่อยางใด และเมื่อปรากฏขอเท็จจริงวาบริษัท Falcon Energy International Limited สามารถชําระเงินคาจองหองชุดดังกลาวได้เป็นเงินถึง 1 , 116 , 000 ปอนดสเตอรลิง และไม่มีประวัติความไม่นาเชื่อถือทางการเงิน นายธกฤษณ ในนามของบริษั ท Falcon Energy International Limited ในฐานะผู้ชําระเงินคาจองหองชุดดังกลาว ก็ยอมที่จะเป็นผู้ขอกูเงินกับธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาลอนดอน ได้เองตั้งแต่ตน มิใชให้ นายโรเบิรต ในนามบริษัท Mega City Holdings Limited ซึ่งเป็นผู้รวมลงทุนด้วยเพียงรอยละ 10 และไม่มีความนาเชื่อถือทางการเงิน เป็นผู้มายื่นขอกูเงินกับธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาลอนดอน จนต้องมาขอความชวยเหลือ จาก นางธนิภา ทั้งที่ นางธนิภา ก็เพิ่งรูจักกับ นายโรเบิรต ไม่นาที่จะมีความไววางใจถึงขนาดยอมช วยกูเงิน ้ หนา 28 ่ เลม 140 ตอนที่ 27 ก ราชกิจจานุเบกษา 11 เมษายน 2566

จากธนาคารในจํานวนเงินสูงถึง 3 , 150 , 000 ปอนดสเตอรลิง การกระทําของ นางธนิภา จึงเป็นเรื่องที่ ผิดปกติวิสัย และเมื่อพิจารณาประกอบกับพฤติการณของ นายธกฤษณ ภายหลังจากที่ได้แนะนํา นายโรเบิรต ให้รูจักกับ นางธนิภา แล้ว ก็ไม่ปรากฏวา นายธก ฤษณ จะได้เขามาเกี่ยวของกับหองชุดดังกลาว อีกทั้ง ๆ ที่ นายธกฤษณ ในนามของบริษัท Falcon Energy International Limited เป็นผู้ชําระ เงินคาจองหองชุดดังกลาวเป็นเงินจํานวนมากถึง 1 , 116 , 000 ปอนดสเตอรลิง การกระทําของ นายธกฤษณ นายโรเบิรต และ นางธนิภา จึงไม่สมเหตุสมผล นอกจากนี้ เมื่อตามคําเบิกความของ นายธกฤษณ ปรากฏวา บริษัท Falcon Energy International Limited เป็นผู้ชําระเงินคาจองหองชุดดังกลาว จํานวน 4 งวด เป็นเงิน 1 , 116 , 000 ปอนดสเตอรลิง แต่กลับปรากฏวาเมื่อ นางธนิภา ยื่นขอกูเงินจาก ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาลอนดอน เพื่อซื้อหองชุดดังกลาว นางธนิภา ได้อางสิทธิ ในเงินคาจองหองชุด หาใชบริษัท Falcon Energy International Limited ซึ่งเป็นผู้ชําระเงิน คาจองหองชุดดังกลาวเป็นผู้อางสิทธิ แต่อยางใดไม่ ซึ่งตามคําเบิกความของ นายพีริยเทพ ที่เชื่อวา เงินคาจองหองชุดดังกลาวชําระโดย นางธนิภา ดังนั้น การที่ นางธนิภา อางสิทธิเขารับเอาประโยชน จากเงินคาจองหองชุดดังกลาวซึ่งบริษัท Falcon Energy International Limited ได้ชําระไวแล้ว จํานวน 4 งวด เป็นเงิน 1 , 116 , 000 ปอนดสเตอรลิง โดยไม่ปรากฏวา นายธกฤษณ หรือบริษัท Falcon Energy International Limited หรือ นายโรเบิรต มีหนังสือโอนสิทธิในเงินคาจองหองชุดให้แก นางธนิภา เชื่อวา นางธนิภา เป็นผู้ชําระเงินคาจองหองชุดดังกลาวทั้งสี่ง วดเอง หาใช นายธกฤษณ หรือบริษัท Falcon Energy International Limited เป็นผู้ชําระเงินคาจองหองชุด สวนที่จําเลย อางพยานเอกสารและหลักฐานการเคลื่อนไหวทางบัญชี การผอนชําระในแต่ละงวด เพื่อยืนยันวาเงินที่ผอนชําระ ในแต่ละงวดไม่ใชเงินของ นางธนิภา แต่เป็นของ นายโรเบิรต ก็ปรากฏขอเท็จจริงตามสําเนารายการ เดินบัญชีเงินฝากเอกสารหมาย จ.92 และ จ.93 วา นายโรเบิรต นําเงินเขาบัญชีเพื่อชําระหนี้เงินกูดังกลาว เพียงบางสวน ซึ่งเมื่อเทียบกับจํานวนเงินกูทั้งหมดแล้วถือวาเป็นจํานวนไม่มากนัก อีกทั้งในบัญชีดังกลาว ยังมีบุคคลตาง ๆ นําเงินเขาฝากอีกเป็นจํานวนมาก ซึ่งรวมถึง นางธนิภา ที่โอนเงินเขาบัญชีเป็นเงินถึง 136 , 865.91 ปอนดสเตอรลิง ขออางของจําเลยที่วา นายโรเบิรต และบริษัท Mega City Holdings Limited เป็นผู้รับผิดชอบชําระคาหองชุดแต่เพียงผู้เดียว จึงยังไม่มีน้ําหนักให้รับฟงได้ สวนที่จําเลยอางวา นางธนิภา กับ นายโรเบิรต ได้ทําสัญญาแบงปนผลประโยชนลงวันที่ ้ หนา 29 ่ เลม 140 ตอนที่ 27 ก ราชกิจจานุเบกษา 11 เมษายน 2566

14 พฤษภาคม 2557 ตามเอกสารหมาย ล.40 เพื่อแสดงให้เห็นวา นางธนิภา ได้รับสวนแบงจาก นายโรเบิรต รอยละ 10 ของผลกําไ รที่ได้จากการขายหองชุดเป็นการตอบแทนที่ นางธนิภา ชวยถือกรรมสิทธิ์แทน นายโรเบิรต ก็ขัดแยงกับหนังสือลงวันที่ 3 มกราคม 2560 ที่ นางธนิภา สงถึงธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาลอนดอน แจงวา ได้ทําสัญญาซื้อขายหองชุดให้แก นายโรเบิรต ไปแล้ว เพราะจะทําให้ นางธนิภา ไม่ได้รับสวนแบงรอยละ 10 จาก นายโรเบิรต นอกจากนี้ ก็ได้ความวา จําเลยแต่เพียงชี้แจงเรื่องดังกลาวไวในหนังสือขอสงเอกสารหลักฐาน ประกอบคําชี้แจงเพิ่มเติม และขอความเป็นธรรม ฉบับลงวันที่ 24 กุมภาพันธ2562 ตามเอกสารหมาย จ. 25 ซึ่งเป็นเวลาภายหลังจากจําเลยมีบันทึกยื่นเอกสารเพิ่มเติมครั้งที่ 2 ตามเอกสารหมาย จ. 12 แล้วเป็นเวลาหลายเดือน อีกทั้งเมื่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติตรวจสอบเชิงลึกเกี่ยวกับทรัพย์สินจําเลยแล้ว ก็ไม่ปรากฏวามีการสงหลักฐานดังกลาวต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ทันทีในชวงเวลานั้น สัญญาแบงปน ผลประโยชนเป็นเอกสารที่ทําขึ้นกันเองระหวาง นายโรเบิรต กับ นางธนิภา โดยไม่มีพยานหลักฐานอื่น มาสนับสนุนให้เชื่อได้ดังที่อาง จึงมีน้ําหนักนอย เมื่อขอเท็จจริงฟงได้วา นางธนิภา เป็นผู้ชําระเงิน คาจองหองชุดดังกลาวทั้งสี่งวด เป็นผู้นําเงินเขาบัญชีเพื่อผอนชําระเงินกูในแต่ละงวด และเป็นผู้รับโอน กรรมสิทธิ์หองชุดดังกลาว จึงเชื่อวา นางธนิภา เป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์หองชุด เลขที่ 68 ในอาคารชุด Wolfe House 389 Kensington High Street ลอนดอน สหราชอาณาจักร ซึ่งได้จดทะเบียน จํานองไวแกธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาลอนดอน และเมื่อขอเท็จจริงฟงได้วา นางธนิภา เป็นผู้กูเงินจากธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาลอนดอน กับเปดบัญชีประเภทเงินฝากกระแสรายวัน Current Account เลขที่บัญชี 0807 - 179574 - 000 ประเภท Deposit-Call เลขที่บัญชี 0807 - 179574 - 400 ประเภท Deposit -Call เลขที่บัญชี 0807 - 179574 - 401 รวมทั้งเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ หองชุดเลขที่ 68 ซึ่งได้จดทะเบียนจํานองไวแกธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาลอนดอน ในขณะที่จําเลยมีหน้าที่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินในกรณีเขารับตําแหนงรองเลขาธิการ คณะกรรมการ ป.ป.ช. แมจําเลยอางวาจําเลยเชื่อโดยสุจริตในวันที่จําเลยยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สิน และหนี้สิน กรณีเขารับตําแหนงวา นางธนิภา ไถถอนจํานองและปดบัญชีดังกลาวเรียบรอยแล้ว แต่หนังสือของ นางธนิภา ที่แจงธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาลอนดอน เรื่อง การขายหองชุดให้แก นายโรเบิรต ระบุวันที่ 3 มกราคม 2560 กอนจําเลยมีหน้าที่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน ้ หนา 30 ่ เลม 140 ตอนที่ 27 ก ราชกิจจานุเบกษา 11 เมษายน 2566

เพียง 1 วัน ซึ่ง นายพีริยเทพ เบิกความยืนยันวาเคยแจ ง นางธนิภา ทางโทรศัพทกอนแล้ววา ธนาคารไม่รับรูเรื่องการขายหองชุดให้แก นายโรเบิรต เนื่องจากขัดต่อกฎหมายของสหราชอาณาจักร ทั้ง นายโรเบิรต เพิ่งนําหนังสือฉบับดังกลาวมาแสดงกับธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สาขาลอนดอน หลังจากวันที่ระบุในหนังสือกวา 2 ถึง 3 เดือน นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2560 ธนาคารก็ยังมีหนังสือแจง นางธนิภา อยางเป็นทางการอีกครั้งยืนยันวา นางธนิภา ยังเป็นลูกหนี้ ของธนาคารอยู่ และหองชุดยังคงเป็นหลักประกันตามกฎหมายของสหราชอาณาจักร ตามเอกสารหมาย จ.80 และ จ.81 และเมื่อวันที่ 26 กันยายน 2560 นางธนิภา มีหนังสือขอยกเลิกการขายหองชุด และยอมรับวายังเป็นลูกหนี้ตามสัญญาเงินกูกับธนาคาร ตามเอกสารหมาย จ. 82 และ จ. 83 แต่จําเลยเพิ่งมีหนังสือชี้แจงขอเท็จจริงเพิ่มเติม ครั้งที่ 2 ฉบับลงวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 อันเป็นเวลาหลังจากสํานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงินมีหนังสือแจงเบาะแสเรื่อง นางธนิภา แล้วตั้งแต่วันที่ 15 กุมภาพันธ 2561 นอกจากนี้ ยังเป็นเวลาภายหลังจากที่ธนาคารมีหนังสือแจง เรื่อง การขายที่ไม่มีผลทางกฎหมายเป็นเวลานานกวา 8 เดือน และเป็นเวลาหลังจากขายหองชุด และปดบัญชีตามคําฟ้องไปแล้วกวา 4 เดือน นางธนิภา ยอมทราบดีวา ณ วันที่จําเลยมีหน้าที่ ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินนั้น กรรมสิทธิ์ในหองชุดยังเป็นชื่อของ นางธนิภา อยู่ เมื่อหองชุดดังกลาวมียอดหนี้คงคางกับธนาคาร ณ วันที่จําเลยมีหน้าที่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สิน และหนี้สินเป็นเงิน 2 , 362 , 500 ปอนดสเตอรลิง คิดเป็นเงินไทย 102 , 382 , 717.50 บาท และมีเงินในบัญชีเงินฝาก ประเภทเงินฝาก ( Deposit- Call) เลขที่บัญชี 0807 - 179574 - 400 และเลขที่บัญชี 0807 - 179574 - 401 คงเหลือคิดเป็นเงินไทย 530 , 365.45 บาท และ 9 , 781 , 988.49 บาท ตามลําดับ นับวามีมูลคาสูงมากเมื่อเปรียบเทียบกับมูลคาทรัพย์สินและหนี้สินที่จําเลยแสดงไวในบัญชี แสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน กรณีเขารับตําแหนง จําเลยดํารงตําแหนงขาราชการระดับผู้บริหาร ของสํานักงาน ป.ป.ช. ซึ่งเป็นหนวยงานเกี่ยวของกับการยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินโดยตรง ทั้ง นางธนิภา เป็นนักธุรกิจมีความนาเชื่อถือทางการเงินที่สามารถกูเงินซื้ออสังหาริมทรัพย์มูลคาสูง ในตางประเทศได้ เชื่อวายอมศึกษาหาขอมูลกอนทํานิติกรรมซื้อขายหองชุดเป็นอยางดี รวมถึงยอมต้องตรวจสอบ การโอนกรรมสิทธิ์หองชุดดังกลาววามีผลในทางกฎหมายหรือไม่ อยางไร กรณีจึงเชื่อวาจําเลยยอมต้องทราบวา นางธนิภา ยังคงเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์หองชุดซึ่งยังมียอดหนี้คางชําระกับธนาคารและมีบัญชีเงินฝาก ้ หนา 31 ่ เลม 140 ตอนที่ 27 ก ราชกิจจานุเบกษา 11 เมษายน 2566

และเงินกูตามคําฟ้อง ในขณะจําเลยยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน กรณีเขารับตําแหนง เมื่อขออางของจําเลยสวนนี้ไม่มีน้ําหนักให้รับฟง การกระทําของจําเลยจึงเป็นการจงใจยื่นบัญชี แสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ด้วยขอความอันเป็นเท็จ หรือปกปดขอเท็จจริงที่ควรแจงให้ทราบและมีพฤติการณอันควรเชื่อได้วาจําเลยมีเจตนาไม่แสดงที่มา แห่งทรัพย์สินหรือหนี้สินนั้น อันเป็นความผิดตามฟ้อง อนึ่ง แมภายหลังการกระทําความผิดได้มีพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกัน และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มีผลใชบังคับเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2561 โดยยกเลิก พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 แต่พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มาตรา 167 ซึ่งเป็นกฎหมายที่ใชภายหลังการกระทําความผิดยังคงบัญญัติให้การกระทําตามคํารอง เป็นความผิดอยู่และมีระวางโทษเทาเดิม จึงต้องใชกฎหมายที่ใชในขณะกระทําผิดบังคับแกคดีนี้ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 2 วรรคหนึ่ง สวนมาตรการจํากัดสิทธิทางการเมือง ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มาตรา 81 ไม่เป็นคุณ จึงต้องใชพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกัน และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 41 บังคับแกคดีนี้ มีผลให้จําเลยพนจากตําแหนง นับแต่วันที่มีคําวินิจฉัย นอกจากนี้ การกระทําของจําเลยยังเป็นความผิดฐานเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ จงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบด้วยขอความอันเป็นเท็จ หรือปกปดขอเท็จจริงที่ควรแจงให้ทราบต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ตามมาตรา 119 ด้วย พิพากษาวา นายประหยัด พวงจําปา จําเลยจงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน และเอกสารประกอบต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ด้วยขอความอันเป็นเท็จหรือปกปดขอเท็จจริง ที่ควรแจงให้ทราบ กรณีเขารับตําแหนงรองเลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 40 และมาตรา 41 ประกอบพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกัน และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มาตรา 43 , 114 วรรคหนึ่ง และมาตรา 158 มีผลให้จําเลย พนจากตําแหนงนับแต่วันที่มีคําวินิจฉัย และหามมิให้จําเลยดํารงตําแหนงเจ้าหน้าที่ของรัฐเป็นเวลาหาป ้ หนา 32 ่ เลม 140 ตอนที่ 27 ก ราชกิจจานุเบกษา 11 เมษายน 2566

นับแต่วันที่พนจากตําแหนง ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 41 กับมีความผิดตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการปองกัน และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 119 องคคณะผู้พิพากษาเสียงขางมาก เห็นควร ลงโทษจําคุก 4 เดือน และปรับ 10 , 000 บาท เมื่อไม่ปรากฏวาจําเลยเคยได้รับโทษจําคุกมากอน โทษจําคุกให้รอการลงโทษไวมีกําหนด 1 ป ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 56 ไม่ชําระคาปรับ ให้จัดการตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 29 , 30 คําขออื่นนอกจากนี้ให้ยก. นายประสิทธิ์ เจริญถาวรโภคา นายชัยเจริญ ดุษฎีพร นายประทีป อาววิจิตรกุล นายสวัสดิ์ สุรวัฒนานันท นายจักษชัย เยพิทักษ์ นายแรงรณ ปริพนธพจนพิสุทธิ์ นายวรงคพร จิระภาค นายพันธุเลิศ บุญเลี้ยง นายอธิคม อินทุภูติ ้ หนา 33 ่ เลม 140 ตอนที่ 27 ก ราชกิจจานุเบกษา 11 เมษายน 2566