พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยปริญญาในสาขาวิชา อักษรย่อสำหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจำตำแหน่งของมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2565
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยปริญญาในสาขาวิชา อักษรย่อสำหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจำตำแหน่งของมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2565
พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยปริญญาในสาขาวิชา อักษรย่อสาหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจาตาแหน่ง ของมหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 256 6 พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ไว้ ณ วันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 256 6 เป็นปีที่ 8 ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยปริญญาในสาขาวิชา อักษรย่อสำหรับ สาขาวิชา ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจำตาแหน่งของมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 175 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย กับมาตรา 56 วรรคสอง และมาตรา 60 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาขึ้นไว้ ดังต่อไปนี้ มาตรา 1 พระราชกฤษฎีกานี้เรียกว่า “ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยปริญญา ในสาขาวิชา อักษรย่อสาหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจาตาแหน่งของมหาวิทยาลัย ราชภัฏรำไพพรรณี (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 256 6 ” มาตรา 2 พระราชกฤษฎีกานี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป ้ หนา 116 ่ เลม 140 ตอนที่ 20 ก ราชกิจจานุเบกษา 19 มีนาคม 2566
มาตรา 3 ให้ยกเลิกความในมาตรำ 3 แห่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยปริญญาในสาขาวิชา อักษรย่อสาหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจาตาแหน่งของมหาวิทยาลัย ราชภัฏราไพพรรณี พ.ศ. 2552 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยปริญญาในสาขาวิชา อักษรย่อสาหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐา นะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจาตาแหน่งของมหาวิทยาลัย ราชภัฏรำไพพรรณี (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2560 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ มาตรา 3 ให้กาหนดปริญญาในสาขาวิชาและอักษรย่อสาหรับสาขาวิชาของมหาวิทยาลัย ราชภัฏรำไพพรรณี ดังต่อไปนี้ (1) สาขาวิชาการบัญชี มีปริญญาสามชั้ น คือ (ก) เอก เรียกว่า “ บัญชีดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ บช.ด. ” และ “ ปรัชญา ดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ปร.ด. ” (ข) โท เรียกว่า “ บัญชีมหาบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ บช.ม. ” (ค) ตรี เรียกว่า “ บัญชีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ บช.บ. ” (2) สาขาวิชาการศึกษา มีปริญญาสามชั้น คือ (ก) เอก เรียกว่า “ ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ค.ด. ” และ “ ปรัชญา ดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ปร.ด. ” (ข) โท เรียกว่า “ ครุศาสตรมหาบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ค.ม. ” (ค) ตรี เรียกว่า “ ครุศาสตรบัณฑิต ” ใช้ อักษรย่อ “ ค.บ. ” (3) สาขาวิชาครุศาสตร์อุตสาหกรรม มีปริญญาสามชั้น คือ (ก) เอก เรียกว่า “ ครุศาสตร์อุตสาหกรรมดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ค.อ.ด. ” และ “ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ปร.ด. ” (ข) โท เรียกว่า “ ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ค.อ.ม. ” (ค) ตรี เรียกว่า “ ครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ค.อ.บ. ” (4) สาขาวิชาเทคโนโลยี มีปริญญาหนึ่งชั้น คือ ตรี เรียกว่า “ เทคโนโลยีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ทล.บ. ” (5) สาขาวิ ชานิติศาสตร์ มีปริญญาสามชั้น คือ (ก) เอก เรียกว่า “ นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ น.ด. ” และ “ ปรัชญา ดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ปร.ด. ” ้ หนา 117 ่ เลม 140 ตอนที่ 20 ก ราชกิจจานุเบกษา 19 มีนาคม 2566
(ข) โท เรียกว่า “ นิติศาสตรมหาบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ น.ม. ” (ค) ตรี เรียกว่า “ นิติศาสตรบัณฑิต ” ใช้อั กษรย่อ “ น.บ. ” (6) สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มีปริญญาสามชั้น คือ (ก) เอก เรียกว่า “ นิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ นศ.ด. ” และ “ ปรัชญา ดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ปร.ด. ” (ข) โท เรียกว่า “ นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ นศ.ม. ” (ค) ตรี เรียกว่า “ นิเทศศาสตรบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ นศ.บ. ” (7) สาขาวิชาบริหารธุรกิจ มีปริญญาสามชั้น คือ (ก) เอก เรียกว่า “ บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ บธ.ด. ” และ “ ปรัชญา ดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ปร.ด. ” (ข) โท เรียกว่า “ บริหารธุรกิจม หาบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ บธ.ม. ” (ค) ตรี เรียกว่า “ บริหารธุรกิจบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ บธ.บ. ” (8) สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ มีปริญญาสามชั้น คือ (ก) เอก เรียกว่า “ พยาบาลศาสตรดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ พย.ด. ” และ “ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ปร .ด. ” (ข) โท เรียกว่า “ พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ พย.ม. ” (ค) ตรี เรียกว่า “ พยาบาลศาสตรบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ พย.บ. ” (9) สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มีปริญญาสามชั้น คือ (ก) เอก เรียกว่า “ รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ รป. ด. ” และ “ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ปร.ด. ” (ข) โท เรียกว่า “ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ รป.ม. ” (ค) ตรี เรียกว่า “ รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ รป.บ. ” (10) สาขาวิชารัฐศาสตร์ มีปริญญาสามชั้น คือ (ก) เอก เรียกว่า “ รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ร.ด. ” และ “ ปรัชญา ดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ปร.ด. ” (ข) โท เรียกว่า “ รัฐศาสตรมหาบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ร.ม. ” (ค) ตรี เรียกว่า “ รัฐศาสตรบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ร.บ. ” ้ หนา 118 ่ เลม 140 ตอนที่ 20 ก ราชกิจจานุเบกษา 19 มีนาคม 2566
(11) สาขาวิชาวิจิตรศิลป์และประยุกต์ศิลป์ มีปริญญาสามชั้น คือ (ก) เอก เรียกว่า “ ศิลปกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ศป.ด. ” และ “ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ปร.ด. ” (ข) โท เรียกว่า “ ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ศป.ม. ” (ค) ตรี เรียกว่า “ ศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ศป.บ. ” (12) สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ มีปริญญาสามชั้น คือ (ก) เอก เรียกว่า “ วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ วท.ด. ” และ “ ปรัชญา ดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ปร.ด. ” (ข) โท เรียกว่า “ วิทยาศาสตรมหาบัณ ฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ วท.ม. ” (ค) ตรี เรียกว่า “ วิทยาศาสตรบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ วท.บ. ” (13) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มีปริญญาสามชั้น คือ (ก) เอก เรียกว่า “ วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ วศ.ด. ” และ “ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ปร.ด . ” (ข) โท เรียกว่า “ วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ วศ.ม. ” (ค) ตรี เรียกว่า “ วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ วศ.บ. ” (14) สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มีปริญญาสามชั้น คือ (ก) เอก เรียกว่า “ ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ศศ.ด. ” และ “ ปรัชญา ดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ปร.ด. ” (ข) โท เรียกว่า “ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ศศ.ม. ” (ค) ตรี เรียกว่า “ ศิลปศาสตรบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ศศ.บ. ” (15) สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ มีปริญญาสามชั้น คือ (ก) เอก เรียกว่า “ เศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ศ.ด. ” และ “ ปรัชญา ดุษฎีบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ปร.ด. ” (ข) โท เรียกว่า “ เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ศ.ม. ” (ค) ตรี เรียกว่า “ เศรษฐศาสตรบัณฑิต ” ใช้อักษรย่อ “ ศ.บ. ” ทั้งนี้ หากมีสาขาหรือวิชาเอกให้ระบุชื่อสาขาหรือวิชาเอกนั้นไว้ในวงเล็บต่อท้ายปริญญาด้วย ” มาตรา 4 ให้ยกเลิกความในมาตรา 7 แห่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยปริญญาในสาขาวิชา อักษรย่อสาหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจาตาแหน่งของมหาวิทยาลัย ้ หนา 119 ่ เลม 140 ตอนที่ 20 ก ราชกิจจานุเบกษา 19 มีนาคม 2566
ราชภัฏราไพพรรณี พ.ศ. 2552 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยปริญญาในสาขาวิชา อักษรย่อสาหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจาตาแหน่งของมหาวิทยาลัย ราชภัฏรำไพพรรณี (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2560 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ มาตรา 7 สีประจำ คณะ มีดังต่ อไปนี้ (1) คณะครุศาสตร์ สีฟ้า (2) คณะเทคโนโลยีการเกษตร สีเขียวตองอ่อน (3) คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สีแดงเลือดหมู (4) คณะนิติศาสตร์ สีขาว (5) คณะนิเทศศาสตร์ สีม่วง (6) คณะพยาบาลศาสตร์ สีเหลืองส้ม (7) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สีแดงเลือดนก (8) คณะวิทยาการคอ มพิวเตอร์ สีน้ำเงินคราม และเทคโนโลยีสารสนเทศ (9) คณะวิทยาการจัดการ สีส้ม (10) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สีเหลือง ” ผู้รับสนองพระ บรม ราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ้ หนา 120 ่ เลม 140 ตอนที่ 20 ก ราชกิจจานุเบกษา 19 มีนาคม 2566
หมายเหตุ : - เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ได้เปิดสอนสาขาวิชาครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ และสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ เพิ่มขึ้น รวมทั้งได้ยุบเลิกคณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์เพื่อไปควบรวมกับคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สมควรกาหนดปริญญาในสาขาวิชาและอักษรย่ อสำหรับสาขาวิชาดังกล่าว รวมทั้งกาหนดสีประจาคณะ ของคณะพยาบาลศาสตร์ จึงจำเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้ ้ หนา 121 ่ เลม 140 ตอนที่ 20 ก ราชกิจจานุเบกษา 19 มีนาคม 2566