Sat Mar 18 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย (ฉบับที่ 18) พ.ศ. 2566


พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย (ฉบับที่ 18) พ.ศ. 2566

พระราชบัญญัติ การเดินเรือในน่านน ้าไทย (ฉบับที่ 18) พ.ศ. 2566 พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ไว้ ณ วันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 25 6 6 เป็นปีที่ 8 ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการเดินเรือในน่านน ้าไทย พระราชบัญญัตินี มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจ้ากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 26 ประกอบกับมาตรา 28 มาตรา 29 มาตรา 33 มาตรา 36 มาตรา 37 และมาตรา 38 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระท้าได้โดยอาศัยอ้านาจ ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เหตุผลและความจ้าเป็นในการจ้ากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลตามพระราชบัญญัตินี เพื่อจัดให้มีการควบคุมเรื่องการทิงขยะในทะเลให้เป็นไปอย่างมีระเบียบและเหมาะสม โดยมุ่งเน้นที่การลด และป้องกันมลพิษ รวมทั งคุ้มครองสิ่งแวดล้อมทางทะเลมิให้ถูกกร ะทบกระเทือนหรือได้รับความเสียหาย ตลอดจนวางมาตรการในการรองรับการด้าเนินการให้ครบถ้วนสมบูรณ์และสอดคล้องกับมาตรฐานสากล ้ หนา 31 ่ เลม 140 ตอนที่ 20 ก ราชกิจจานุเบกษา 19 มีนาคม 2566

ซึ่งการตราพระราชบัญญัตินี สอดคล้องกับเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ในมาตรา 26 ของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทยแล้ว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ต ราพระราชบัญญัติขึ นไว้โดยค้าแนะน้าและยินยอม ของรัฐสภา ดังต่อไปนี มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี เรียกว่า “ พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน ้าไทย (ฉบับที่ 18) พ.ศ. 2566 ” มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นก้าหนดเก้าสิบวันนับแต่วันประกาศ ในราชกิจจานุเบก ษาเป็นต้นไป มาตรา 3 ให้เพิ่มความต่อไปนีเป็น (ฆ/ 3) ว่าด้วยการทิงขยะในทะเล ในหมวดที่ 6 ข้อบังคับเบ็ดเตล็ด ของภาค 1 ข้อบังคับทั่วไป แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน ้าไทย พระพุทธศักราช 2456 “( ฆ/ 3) ว่าด้วยการทิ งขยะในทะเล มาตรา 120/2 ในส่วนนี “ ทิง ” หมายความว่า การท้าให้ขยะลงไปในทะเลไม่ว่าจะเป็นการเท ปล่อย หรือระบาย และให้หมายความรวมถึงการรั่วไหล หรือการกระท้าด้วยประการอื่นใดให้ขยะลงไปในทะเล “ ขยะ ” หมายความว่า สิ่งของหรือของเสียที่เกิดขึ นจากเรือหรือแท่น จากการพักอาศัยบนเรือ หรือแท่น หรือจากการให้บริการหรือใช้บริการบนเรือหรือแท่น หรือที่เกิดขึนในระหว่างการปฏิบัติงาน ตามปกติบนเรือหรือแท่น ดังต่อไปนี (1) อาหาร (2) พลาสติก (3) เศษสินค้า (4) วัสดุที่ใช้ในการขนถ่ายสินค้า (5) สารล้างสินค้า หรือสารล้ำงระวางเรือ (6) เถ้าจากเตาเผา ้ หนา 32 ่ เลม 140 ตอนที่ 20 ก ราชกิจจานุเบกษา 19 มีนาคม 2566

(7) น ้ามันส้าหรับประกอบอาหาร (8) เครื่องมือท้าการประมง (9) ซากสัตว์ (10) สิ่งของหรือของเสียอื่นตามที่ก้าหนดในกฎกระทรวงโดยค้านึงถึงอนุสัญญา อธิบดีกรมเจ้าท่าอาจออกประกาศก้าหนดลักษณะและรายละเอียดของขยะตามวรรคหนึ่งได้ “ เรือไทย ” หมายความว่า เรือตามกฎหมายว่าด้วยเรือไทย แต่ไม่หมายความรวมถึง แท่น ที่จดทะเบียนเป็นเรือไทยตามกฎหมายว่าด้วยเรือไทย “ แท่น ” หมายความว่า สิ่งก่อสร้างในทะเลทั งที่ติดตรึงอยู่กับที่หรือที่ลอยน ้าได้ และ ให้หมายความรวมถึงแท่นที่จดทะเบียนเป็นเรือไทยตา มกฎหมายว่าด้วยเรือไทย “ พื นที่พิเศษ ” หมายความว่า พื นที่ทางทะเลด้วยเหตุผลทางเทคนิคซึ่งเป็นที่ยอมรับ ทางสมุทรศาสตร์ สภาพทางนิเวศวิทยา และลักษณะเฉพาะของการจราจร ในพืนที่ที่จ้าเป็นต้องจัดให้มี วิธีการพิเศษเพื่อป้องกันมลพิษทางทะเลจากขยะ ได้แก่ พืนที่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน พื นที่ทะเลบอลติก พืนที่ทะเลด้า พืนที่ทะเลแดง พืนที่อ่าวเปอร์เซีย พืนที่ทะเลเหนือ พืนที่แอนตาร์กติก ภูมิภาคไวเดอร์ แคริบเบียน ซึ่งรัฐมนตรีประกาศก้าหนดรายละเอียดและพิกัดของพืนที่โดยค้านึงถึงอนุสัญญา รวมทัง พืนที่ทา งทะเลอื่นที่รัฐมนตรีอาจประกาศก้าหนดโดยค้านึงถึงอนุสัญญา “ อนุสัญญา ” หมายความว่า อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการป้องกันมลพิษจากเรือ ค.ศ. 1973 และพิธีสาร ค.ศ. 1978 รวมตลอดถึงภาคผนวก “ รัฐภาคี ” หมายความว่า รัฐภาคีของอนุสัญญา มาตรา 120/3 บทบัญญัติในส่ว นนี ค้าว่า “ ทะเล ” ให้หมายความถึง ทะเลในน่านน ้าไทย และเขตเศรษฐกิจจ้าเพาะตามประกาศเขตเศรษฐกิจจ้าเพาะของราชอาณาจักรไทย แต่ไม่รวมถึง ทะเลสาบสงขลา มาตรา 120/4 บทบัญญัติในส่วนนี มิให้ใช้บังคับแก่เรือของทางราชการหรือเรือที่ใช้ ในกิจการของรัฐซึ่งมิได้มีวัตถุป ระสงค์ในเชิงพาณิชย์ มาตรา 120/5 การกระท้าความผิดในส่วนนี จากเรือไทยหรือแท่นที่เจ้าของหรือ ผู้ครอบครองเป็นผู้มีสัญชาติไทย ที่เกิดขึ นนอกราชอาณาจักรไทย ให้ถือว่าเป็นการกระท้าใน ราชอาณาจักรไทย ้ หนา 33 ่ เลม 140 ตอนที่ 20 ก ราชกิจจานุเบกษา 19 มีนาคม 2566

มาตรา 120/6 การกระท้าความผิดในส่วนนีจากเรือต่างประเทศหรือแท่นที่เ จ้าของหรือ ผู้ครอบครองมิได้เป็นผู้มีสัญชาติไทย ที่เกิดขึ นในเขตเศรษฐกิจจ้าเพาะตามประกาศเขตเศรษฐกิจจ้าเพาะ ของราชอาณาจักรไทย ให้ถือว่าเป็นการกระท้าในราชอาณาจักรไทย ให้เจ้าท่าแจ้งไปยังประเทศที่เรือนันจดทะเบียน ประเทศที่เจ้าของเรือหรือผู้ครอบครองเรือ หรือเจ้าของแท่นหรือผู้ครอบครองแท่นนันมีสัญชาติ ประเทศซึ่งเป็นรัฐเมืองท่าถัดไปและแจ้งไปยัง องค์การทางทะเลระหว่างประเทศให้ทราบถึงการกระท้าความผิดตามวรรคหนึ่ง รวมทังมาตรการและ การด้าเนินคดีของรัฐบาลไทยด้วย มาตรา 120/7 ห้ามมิให้ผู้ใดทิงขยะจากเรือหรือแท่นลงไปใ นทะเล เว้นแต่เป็นการทิงขยะ ตามประเภทของขยะและทิ งลงในพืนที่ในทะเล ดังต่อไปนี (1) การทิ งอาหารจากเรือในระหว่างเดินเรือตามเส้นทาง ให้ทิ งในระยะไม่น้อยกว่าสามไมล์ทะเล นับจากเส้นฐานออกไปในทะเล และการทิงต้องผ่านเครื่องบดปั่นและผ่านตะแกรงที่มีช่องผ่านขนาด ไม่เกินยี่สิบห้ามิลลิเมตร แต่หากไม่ได้ทิงผ่านเครื่องบดปั่นหรือผ่านตะแกรงดังกล่าว ให้ทิ งตังแต่ สิบสองไมล์ทะเลนับจากเส้นฐานออกไปในทะเล (2) การทิงอาหารจากแท่น รวมถึงเรือที่อยู่ติดกับแท่นหรื ออยู่ใกล้แท่นในระยะไม่เกินห้าร้อยเมตร นับจากแท่น ให้ทิงในระยะไม่น้อยกว่าสิบสองไมล์ทะเลนับจากเส้นฐานออกไปในทะเล และการทิง ต้องผ่านเครื่องบดปั่นและผ่านตะแกรงที่มีช่องผ่านขนาดไม่เกินยี่สิบห้ามิลลิเมตร (3) การทิ งเศษสินค้าที่ไม่สามารถน้ากลับมาใช้ได้อีกหรือวั สดุที่ใช้ในการขนถ่ายสินค้าที่ไม่มีสาร ซึ่งเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมจากเรือในระหว่างเดินเรือตามเส้นทาง ให้ทิ งตังแต่สิบสองไมล์ทะเลนับจาก เส้นฐานออกไปในทะเล (4) การทิ งสารล้างสินค้าหรือสารล้างระวางเรือที่ไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมจากเรือ ในระหว่างเดินเรื อตามเส้นทาง (5) การทิงซากสัตว์ในระหว่างเดินเรือตามเส้นทาง ให้ทิงห่างจากเส้นฐานออกไปในทะเล ให้มากที่สุดตามที่รัฐมนตรีประกาศก้าหนดโดยค้านึงถึงแนวทางขององค์การทางทะเลระหว่างประเทศ (6) การทิ งขยะอื่นนอกจาก (1) ถึง (5) หรือการทิ งขยะที่มีการผสมหรือปนเปื้ อนสารอื่นใด ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีประกาศก้าหนดโดยค้านึงถึงอนุสัญญา ้ หนา 34 ่ เลม 140 ตอนที่ 20 ก ราชกิจจานุเบกษา 19 มีนาคม 2566

รัฐมนตรีอาจประกาศก้าหนดสารซึ่งเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมตามมาตรานีโดยค้านึงถึง แนวทางขององค์การทางทะเลระหว่างประเทศ มาตรา 120/8 ห้ามมิให้ผู้ใดทิ งขยะจากเรือไทยหรื อแท่นลงไปในพื นที่พิเศษ เว้นแต่ เป็นการทิ งขยะตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีประกาศก้าหนดโดยค้านึงถึงอนุสัญญา มาตรา 120/9 ผู้ใดทิ งขยะจากเรือหรือแท่นลงไปในทะเลในกรณีดังต่อไปนี ผู้นั นไม่มี ความผิด (1) เป็นการทิงในปริมาณเท่าที่จ้าเป็นเพื่อรักษาไว้ซึ่งความปลอดภัยของเรือหรือผู้ที่อยู่บนเรือ ความปลอดภัยของแท่นหรือผู้ที่อยู่บนแท่น หรือเพื่อช่วยเหลือชีวิตมนุษย์ (2) เป็นการสละทิ งเครื่องมือท้าการประมงเท่าที่จ้าเป็นเพื่อมิให้สิ่งแวดล้อมทางทะเลถูกท้าลาย หรือเพื่ อความปลอดภัยของเรือหรือผู้ที่อยู่บนเรือนัน (3) เป็นการทิงเศษอาหารที่ปรากฏชัดแจ้งว่า หากเก็บไว้บนเรือในขณะเดินเรือหรือเก็บไว้ บนแท่นจะก่อให้เกิดผลเสียร้ายแรงต่อสุขภาพของผู้ที่อยู่บนเรือหรือผู้ที่อยู่บนแท่น (4) การรั่วไหลของขยะโดยอุบัติเหตุ เนื่องจากควา มเสียหายของเรือหรืออุปกรณ์บนเรือ ความเสียหายของแท่นหรืออุปกรณ์บนแท่น ซึ่งผู้ที่อยู่บนเรือหรือผู้ที่อยู่บนแท่นได้ใช้ความระมัดระวัง ตามสมควรทั งก่อนและหลังจากเกิดความเสียหายเพื่อป้องกันหรือลดการรั่วไหลให้น้อยที่สุดแล้ว (5) เครื่องมือท้าการประมงหลุดหายไปโดย อุบัติเหตุ โดยผู้ควบคุมเรือได้ใช้ความระมัดระวัง อย่างเพียงพอแล้ว มาตรา 120/10 การสละทิงเครื่องมือท้าการประมงหรือเครื่องมือท้าการประมงหลุดหายไป ตามมาตรา 120/9 (2) และ (5) อันอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทางทะเลหรือ การเดินเรืออย่างมีนัยส้าคัญ ให้นา ยเรือรายงานไปยังรัฐที่เรือนันจดทะเบียน และรัฐชายฝั่งในกรณีที่ การสละทิ งหรือการหลุดหายดังกล่าวเกิดขึ นในทะเลที่เป็นเขตอ้านาจของรัฐชายฝั่งนัน มาตรา 120/11 ให้เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ เจ้าของแท่น และผู้ครอบครองแท่น ด้าเนินการให้เรือหรือแท่นต้องมีอุปก รณ์ เครื่องใช้เกี่ยวกับการจัดการขยะ และมีที่กักเก็บขยะ ให้เพียงพอที่สามารถป้องกันการรั่วไหลของขยะได้ และอยู่ในสภาพที่ใช้การได้ดี ้ หนา 35 ่ เลม 140 ตอนที่ 20 ก ราชกิจจานุเบกษา 19 มีนาคม 2566

มาตรา 120/12 เพื่อประโยชน์ในการรักษาสิ่งแวดล้อมทางทะเล ให้เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ นายเรือ เจ้าของแท่น ผู้ครอบครอง แท่น และผู้จัดการแท่น มีหน้าที่ดังต่อไปนี (1) เรือที่มีความยาวตลอดล้าตังแต่สิบสองเมตรขึนไป ต้องจัดให้มีป้ายประกาศเพื่ออธิบายถึง ข้อก้าหนดเกี่ยวกับการทิ งขยะ (2) เรือที่มีขนาดตังแต่หนึ่งร้อยตันกรอสขึนไป ต้องจัดให้มีป้ายประกาศตาม (1) และ แผนจัดการขยะเพื่ออธิบายถึงกระบวนการลดปริมาณขยะ การรวบรวม การจัดเก็บ การจัดการ และการทิงขยะ การใช้อุปกรณ์และเครื่องใช้เกี่ยวกับการจัดการขยะบนเรือ การก้าหนดผู้รับผิดชอบ ในการปฏิบัติตามแผนและรายละเอียดอื่น ๆ โดยค้านึงถึงแนวทางปฏิบัติของอนุสัญญา (3) เรือที่มีขนาดตังแต่สี่ร้อยตันกรอสขึนไป หรือเรือที่บรรทุกคนได้ตังแต่สิบห้าคนขึนไป ต้องจัดให้มีป้ายประกาศตาม (1) แผนจัดการขยะตาม (2) และบันทึกการจัดการขยะในปูมเรือ หรือเอกสารอื่น เว้นแต่เรือที่บรรทุกคนได้ตังแต่สิบห้าคนขึนไปดังกล่าวใช้ระยะเวลาเดิ นทางไม่เกิน หนึ่งชั่วโมงที่อธิบดีกรมเจ้าท่าประกาศยกเว้นการจัดท้าบันทึกการจัดการขยะ (4) แท่นต้องจัดให้มีป้ายประกาศ แผนจัดการขยะ และบันทึกการจัดการขยะ เว้นแต่อธิบดี กรมเจ้าท่าเห็นเป็นการสมควร อาจยกเว้นการจัดท้าบันทึกการจัดการขยะก็ได้ การจัดท้าป้ายประกาศ แผน จัดการขยะ และบันทึกการจัดการขยะตามวรรคหนึ่ง ให้ใช้ภาษา ที่ใช้ในการปฏิบัติงานของคนประจ้าเรือหรือผู้ปฏิบัติหน้าที่บนแท่นและภาษาอังกฤษ และให้เป็นไป ตามวิธีการและแบบที่อธิบดีกรมเจ้าท่าประกาศก้าหนด มาตรา 120/13 ให้เจ้าของเรือหรือผู้ครอบครองเรือด้าเนินการจัดให้นา ยเรือ ลูกเรือ และคนประจ้าเรือ มีทักษะและความคุ้นเคยในการจัดการขยะ ให้เจ้าของแท่นหรือผู้ครอบครองแท่นด้าเนินการจัดให้ผู้จัดการแท่นและผู้ปฏิบัติหน้าที่บนแท่น มีทักษะและความคุ้นเคยในการจัดการขยะ ทักษะและความคุ้นเคยในการจัดการขยะตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ การประเมินที่อธิบดีกรมเจ้าท่าประกาศก้าหนด มาตรา 120/14 ให้นายเรือควบคุมลูกเรือหรือคนประจ้าเรือน้าขยะจากเรือ หรือ ผู้จัดการแท่นควบคุมผู้ปฏิบัติหน้าที่บนแท่นน้าขยะจากแท่น ไปทิ งที่เรือรับขยะหรือสิ่งรองรับขยะบนท่าเรือ ้ หนา 36 ่ เลม 140 ตอนที่ 20 ก ราชกิจจานุเบกษา 19 มีนาคม 2566

ทั งนี ลักษณะของเรือรั บขยะหรือสิ่งรองรับขยะบนท่าเรือ และวิธีการทิ ง ให้เป็นไปตามที่อธิบดีกรมเจ้าท่า ประกาศก้าหนด มาตรา 120/15 ให้นายเรือควบคุมผู้ที่อยู่บนเรือ หรือผู้จัดการแท่นควบคุมผู้ที่อยู่บนแท่น ให้ทิ งขยะลงในภาชนะหรือสถานที่ที่จัดไว้บนเรือหรือแท่น แล้วแต่กรณี มาตรา 120/16 ในกรณีที่มีเหตุอันควรเชื่อได้ว่า เรือหรือแท่นใดในทะเลในน่านน ้าไทย มีการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามบทบัญญัติในส่วนนี เจ้าท่าอาจสั่งด้วยวาจาหรือมีหนังสือให้นายเรือ ผู้ควบคุมเรือ ผู้ครอบครองแท่น หรือผู้จัดการแท่น ชะลอ หยุด หรือจอดเรือหรือแท่นเป็ นการชั่วคราว และขึนไปตรวจสอบเรือหรือแท่นได้ทังในเวลากลางวันและเวลากลางคืน ตลอดจนสั่งให้เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ นายเรือ เจ้าของแท่น ผู้ครอบครองแท่น หรือผู้จัดการแท่น แสดงเอกสาร หรือหลักฐานที่เกี่ยวข้อง มาตรา 120/17 ในกรณีที่มีเหตุอันควรเชื่อ ได้ว่า เรือหรือแท่นใดที่อยู่ในเขตเศรษฐกิจ จ้าเพาะตามประกาศเขตเศรษฐกิจจ้าเพาะของราชอาณาจักรไทย มีการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติ ตามบทบัญญัติในส่วนนี เจ้าท่าอาจสั่งด้วยวาจาหรือมีหนังสือให้เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ นายเรือ เจ้าของแท่น ผู้ครอบครองแท่น หรือผู้ จัดการแท่น แสดงเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องก่อนที่จะขึนไป ตรวจสอบเรือหรือแท่นได้ หากเจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ นายเรือ เจ้าของแท่น ผู้ครอบครองแท่น หรือผู้จัดการแท่น ไม่แสดงเอกสารหรือหลักฐาน แสดงเอกสารหรือหลักฐานอันเป็นเท็จ หรือพบว่าการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติ ตามในเรื่องดังกล่าวก่อให้เกิดความเสียหายหรือเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดมลพิษอย่างมีนัยส้าคัญอันมีผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมทางทะเล เจ้าท่าอาจสั่งด้วยวาจาหรือมีหนังสือให้นายเรือ ผู้ควบคุมเรือ ผู้ครอบครองแท่น หรือผู้จัดการแท่น ชะลอ หยุด หรือจอดเรือหรือแท่นเป็นการชั่วคราว และขึ นไปตรวจสอบเรือ หรือแท่นดังกล่าวทั งในเวลากลางวันและเวลากลางคืนได้ มาตรา 120/18 ในกรณีที่เรือต่างประเทศที่อยู่ภายในทะเลในน่านน ้าไทย ซึ่งได้กระท้าการ ในลักษณะที่เป็นความผิดตามมาตรา 120/7 หรือมาตรา 120/8 ใ นน่านน ้าภายในทะเลอาณาเขต หรือเขตเศรษฐกิจจ้าเพาะของรัฐภาคีอื่น ซึ่งไม่ใช่ความผิดต่อเนื่องที่อยู่ในเขตอ้านาจของศาลไทย และรัฐภาคีซึ่งเรือนันจดทะเบียนหรือรัฐภาคีอื่นซึ่งได้รับความเสียหายหรือได้รับผลกระทบจากการทิ งขยะ ้ หนา 37 ่ เลม 140 ตอนที่ 20 ก ราชกิจจานุเบกษา 19 มีนาคม 2566

ของเรือนั นร้องขอให้รัฐบาลไทยตรวจสอบเรื อต่างประเทศดังกล่าว ให้เจ้าท่าด้าเนินการตรวจสอบ การกระท้าความผิดและด้าเนินคดีกับเรือต่างประเทศนั น ทั งนี ให้น้าความในมาตรา 120/6 วรรคสอง และมาตรา 120/16 มาใช้บังคับ มาตรา 120/19 การด้าเนินคดีแทนรัฐภาคีที่ร้องขอตามมาตรา 120/18 ต้องอยู่ภายใต้ หลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี (1) การด้าเนินคดีนั นต้องไม่ขัดต่อประโยชน์สาธารณะ (2) การกระท้าซึ่งเป็นมูลกรณีของการด้าเนินคดีนั นเข้าลักษณะความผิดตามบทบัญญัติในส่วนนี (3) รัฐภาคีที่ร้องขอตกลงหรือยินยอมที่จะให้ความช่วยเหลือในท้านองเดียวกันเป็นการตอบแทน หากได้รับค้าร้องขอจากรัฐบาลไทย ในกรณีที่รัฐภาคีที่ร้องขอแจ้งว่าจะด้าเนินคดีกับเรือต่างประเทศดังกล่าวเอง ให้เจ้าท่า ส่งหลักฐานที่เกี่ยวข้องและบันทึกผลการตรวจสอบ ตลอดจนส่งหลักประกันที่เจ้าของเรือต่างประเทศหรือ ผู้ครอบครองเรือต่างประเทศดังกล่าววางไว้แก่เจ้าท่ำไปยังรัฐภาคีที่ร้องขอ และให้เจ้าท่าระงับ การด้าเนินคดีนับแต่วันที่ได้ส่งหลักฐานที่เกี่ยวข้อง บันทึกผลการตรวจสอบ และหลักประกันนัน เพื่อประโยชน์ในการด้าเนินการตามมาตรานี รัฐบาลไทยอาจเรียกค่าใช้จ่ายที่เกิดขึนใน การด้าเนินการจากรัฐภาคีที่ร้องขอได้ มาตรา 120/20 ในกรณีที่เจ้าท่าขึนไปตรวจสอบบนเรือใดตามมาตรา 120/16 หรือ มาตรา 120/17 หากพบว่ามีการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา 120/7 มาตรา 120/8 หรือ มาตรา 120/14 ให้เจ้าท่ามีค้าสั่งห้ามออกเรือ หรือให้น้าเรือไปจอดในบริเวณที่เจ้าท่าก้าหนด ในกรณีที่เป็นเรื อต่างประเทศ ให้เจ้าท่าแจ้งเหตุในการออกค้าสั่งดังกล่าวไปยังรัฐที่เรือนั นจดทะเบียนด้วย มาตรา 120/21 ในกรณีที่เจ้าท่าขึนไปตรวจสอบบนเรือใดตามมาตรา 120/16 หรือ มาตรา 120/17 หากพบว่าเรือนั น (1) ไม่มีอุปกรณ์หรือเครื่องใช้เกี่ยวกับการจัดการขยะ ไม่มีที่กักเก็ บขยะ หรือมีอุปกรณ์ หรือเครื่องใช้เกี่ยวกับการจัดการขยะ หรือมีที่กักเก็บขยะไม่เพียงพอหรือไม่อยู่ในสภาพที่เหมาะสมในการใช้ หรือเรือมีสภาพเสี่ยงที่จะเกิดการรั่วไหลของขยะอันอาจส่งผลกระทบต่อการรักษาสิ่งแวดล้อมทางทะเล ้ หนา 38 ่ เลม 140 ตอนที่ 20 ก ราชกิจจานุเบกษา 19 มีนาคม 2566

(2) ไม่ปฏิบัติตามมาตรา 120/12 วรรคหนึ่ ง (1) (2) หรือ (3) (3) ไม่ปฏิบัติตามมาตรา 120/13 วรรคหนึ่ง ให้เจ้าท่ามีค้าสั่งห้ามออกเรือ หรือให้น้าเรือไปจอดในบริเวณที่เจ้าท่าก้าหนดและห้ามน้าเรือ ออกจากบริเวณนั น และสั่งให้เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ หรือนายเรือ ปฏิบัติหรือแก้ไขให้ถูกต้อง ภายในร ะยะเวลาที่ก้าหนด เมื่อได้ปฏิบัติหรือแก้ไขให้ถูกต้องตามค้าสั่งแล้วให้เจ้าท่ายกเลิกค้าสั่ง ห้ามออกเรือได้ มาตรา 120/22 ในกรณีที่มีการออกค้าสั่งห้ามออกเรือตามมาตรา 120/20 และ มาตรา 120/21 ให้เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ หรือนายเรือจัดให้มีมาตรการรักษาความปลอดภัย และการดูแลรักษาเรือเพื่อมิให้มีผลกระทบต่อการเดินเรือและสภาพแวดล้อมทางทะเล มาตรา 120/23 ในระหว่างการด้าเนินคดีอันเกี่ยวกับการกระท้าความผิดในส่วนนี เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ หรือนายเรืออาจร้องขอให้เจ้าท่ายกเลิ กค้าสั่งห้ามออกเรือตามมาตรา 120/20 หรือมาตรา 120/21 ได้ หากเจ้าท่าพิจารณาแล้วเห็นว่า เรือดังกล่าวมีอุปกรณ์หรือเครื่องใช้เกี่ยวกับ การจัดการขยะ หรือมีที่กักเก็บขยะอย่างเพียงพอและเหมาะสมในการใช้ หรือมีมาตรการในการป้องกัน การทิ งขยะตามที่อธิบดีกรมเจ้า ท่าประกาศก้าหนด และได้ด้าเนินการแก้ไขหรือจัดการขยะที่ทิ ง ดังกล่าวแล้ว ให้เจ้าท่าก้าหนดให้เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ หรือนายเรือ วางหลักประกันเพื่อความรับผิด ในโทษปรับทางอาญาและค่าปรับทางปกครอง และค่าเสียหายของสิ่งแวดล้อมตามจ้านวนที่เจ้าท่าก้าหนด เมื่อ วางหลักประกันครบถ้วนแล้ว ให้เจ้าท่ายกเลิกค้าสั่งห้ามออกเรือได้ ทังนี ไม่เป็นการลบล้างค้าสั่ง ของเจ้าท่าที่สั่งตามมาตรา 139 หรือมาตรา 160 การก้าหนดหลักประกันตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดี กรมเจ้าท่าก้าหนด โดยให้ค้านึงถึงอัตราค่าป รับขันสูงสุด ความร้ายแรงของพฤติการณ์แห่งการกระท้าความผิด และค่าเสียหายของสิ่งแวดล้อมด้วย วิธีการวางหลักประกัน การเก็บรักษาหลักประกัน การเปลี่ยนแปลงหลักประกัน การเรียก หลักประกันเพิ่ม การหักหลักประกันเป็นการช้าระแทนค่าปรับและค่าเสียหายของสิ่งแวดล้อม และ การขอรับหลักประกันคืน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมเจ้าท่าประกาศก้าหนด ในกรณีที่มีเงินเหลือจากการหักหลักประกันช้าระแทนค่าปรับและค่าเสียหายของสิ่งแวดล้อม ให้เจ้าท่าแจ้งโดยไม่ชักช้าแก่เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ หรือนายเรือทราบ เพื่อให้ขอรับหลักประกัน ้ หนา 39 ่ เลม 140 ตอนที่ 20 ก ราชกิจจานุเบกษา 19 มีนาคม 2566

ที่เหลือคืนภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่ได้รับแจ้งจากเจ้าท่า หากไม่ติดต่อขอรับคืนภายในก้าหนดเวลาดังกล่าว ให้เงินดังกล่าวนั นตกเป็นของแผ่นดิน มาตรา 120/24 ในกรณีที่เจ้าท่าขึนไปตรวจสอบบนแท่นใดตามมาตรา 120/16 หรือ มาตรา 120/17 หากพบว่าแท่นนัน (1) ไม่มีอุปกรณ์หรือเครื่องใช้เกี่ยวกับการจัดการขยะ ไม่มีที่กักเก็บขยะ หรือมีอุปกรณ์ หรือเครื่องใช้เกี่ยวกับการจัดการขยะ หรือมีที่กักเก็บขยะไม่เพียงพอหรือไม่อยู่ในสภาพที่เหมาะสมในการใช้ หรือแท่นมีสภาพเสี่ยงที่จะเกิดการรั่วไ หลของขยะอันอาจส่งผลกระทบต่อการรักษาสิ่งแวดล้อมทางทะเล (2) ไม่ปฏิบัติตามมาตรา 120/12 วรรคหนึ่ง (4) (3) ไม่ปฏิบัติตามมาตรา 120/13 วรรคสอง ให้เจ้าท่าสั่งให้เจ้าของแท่น ผู้ครอบครองแท่น หรือผู้จัดการแท่นปฏิบัติหรือแก้ไขให้ถูกต้อง ภายในระยะเวลาที่ก้าหนด มา ตรา 120/25 เจ้าท่าอาจขอความช่วยเหลือจากพนักงานฝ่ายปกครองหรือต้ารวจ ศูนย์อ้านวยการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล หรือหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องในการขึ นไปตรวจสอบเรือ หรือแท่นตามบทบัญญัติในส่วนนี ก็ได้ ให้กรมเจ้าท่าด้าเนินการเพื่อให้มีการบูรณาการในการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเฝ้าระวัง ตรวจสอบ หรือเตรียมการป้องกันเพื่อไม่ให้เกิดเหตุการณ์ หรือสถานการณ์ใด ที่อาจเป็นการละเมิดหรือฝ่าฝืนบทบัญญัติในส่วนนี มาตรา 120/26 การด้าเนินคดีเกี่ยวกับการกระท้าความผิดในส่วนนีที่เกิดจากเรือหรือแท่น ให้ศาลที่มีเขตอ้านาจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาช้าระคดีนั น มาตรา 120/27 ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา 120/7 ในทะเลในน่านน ้าไทย อันก่อให้เกิดความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมอย่างร้าย แรง ต้องระวางโทษจ้าคุกไม่เกินสามปี หรือ ปรับ ไม่เกินสามแสนบาท หรือทั งจ้าทั งปรับ มาตรา 120/28 ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา 120/7 ในเขตเศรษฐกิจจ้าเพาะ ตามประกาศเขตเศรษฐกิจจ้าเพาะของราชอาณาจักรไทย ต้องระวางโทษปรับทางปกครองไม่เกินสี่ล้านบาท ้ หนา 40 ่ เลม 140 ตอนที่ 20 ก ราชกิจจานุเบกษา 19 มีนาคม 2566

มาตรา 120 / 29 ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา 120/8 ในพืนที่พิเศษ ต้องระวางโทษ จ้าคุกไม่เกินสี่ปี หรือปรับไม่เกินสี่แสนบาท หรือทั งจ้าทั งปรับ มาตรา 120/30 ถ้าการกระท้าความผิดตามมาตรา 120/7 หรือมาตรา 120/8 เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส ผู้กระท้าความผิดต้องระวางโทษจ้าคุกไม่เกินเจ็ดปี และปรับไม่เกิน สี่แสนบาท ถ้าการกระท้าความผิดตามวรรคหนึ่ง เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย ผู้กระท้าความผิด ต้องระวางโทษจ้าคุกตังแต่หนึ่งปีถึงสิบปี และปรับไม่เกินห้าแสนบาท มาตรา 120/31 ผู้กระท้าความผิดตามมาตรา 1 20/7 หรือมาตรา 120/8 และ เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ เจ้าของแท่น หรือผู้ครอบครองแท่น แล้วแต่กรณี ต้องร่วมกันด้าเนินการแก้ไข หรือจัดการขยะที่ทิ ง หรือร่วมกันชดใช้ค่าเสียหายของสิ่งแวดล้อมภายในระยะเวลาที่เจ้าท่าก้าหนด ค่าเสียหายของสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ค่าใช้จ่ายที่หน่วยงานของรัฐต้องเสียไปในการขจัดขยะหรือ มลพิษ ค่าชดเชยความเสียหายของสิ่งแวดล้อม ค่าใช้จ่ายในการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมให้กลับคืนสู่ สภาพเดิม และค่าเสียหายอื่นที่เกี่ยวเนื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการในการค้านวณค่าเสียหายของสิ่งแวดล้อม ให้เป็นไปตามที่รัฐมนตรี ประกาศก้าหนด ในกรณีที่มีการวางหลักประกันตามมาตรา 120/23 ให้หักหลักประกันเป็นการชดใช้ ค่าเสียหายของสิ่งแวดล้อมได้ ในกรณีที่ผู้ต้องรับผิดไม่ชดใช้ค่าเสียหายของสิ่งแวดล้อมภายในระยะเ วลาที่ก้าหนด ให้น้า มาตรการบังคับทางปกครองตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมาใช้บังคับโดยอนุโลม มาตรา 120/32 การทิ งขยะที่ผู้กระท้าไม่มีความผิดตามมาตรา 120/9 หากก่อให้เกิด มลพิษหรือความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อม และหน่วยงานของรัฐต้องด้าเนินการขจัดขยะหรื อมลพิษและ ฟื้นฟูสภาพแวดล้อมที่เสียไปให้กลับคืนสู่สภาพเดิม ผู้นันต้องชดใช้ค่าเสียหายของสิ่งแวดล้อม โดยให้น้า ความในมาตรา 120/31 วรรคสอง วรรคสาม และวรรคห้า มาใช้บังคับ ้ หนา 41 ่ เลม 140 ตอนที่ 20 ก ราชกิจจานุเบกษา 19 มีนาคม 2566

มาตรา 120/33 เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ หรือนายเรือ ไม่จัดให้เรือมีอุปกรณ์หรือ เค รื่องใช้เกี่ยวกับการจัดการขยะ หรือมีที่กักเก็บขยะ หรือเรือมีสภาพที่ไม่สามารถป้องกันการรั่วไหล ของขยะได้ตามมาตรา 120/11 ต้องระวางโทษปรับทางปกครองไม่เกินสี่แสนบาท หากเรือมีอุปกรณ์หรือเครื่องใช้เกี่ยวกับการจัดการขยะ หรือมีที่กักเก็บขยะไม่เพียงพอหรือ ไม่ อยู่ในสภาพที่เหมาะสมในการใช้ หรือเรือมีสภาพเสี่ยงที่จะเกิดการรั่วไหลของขยะอันอาจส่งผลกระทบ ต่อการรักษาสิ่งแวดล้อมทางทะเล ให้เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ หรือนายเรือ ต้องระวางโทษปรับ ทางปกครองไม่เกินสองแสนบาท มาตรา 120/34 เจ้าของแท่น ผู้ครอบครองแท่น ห รือผู้จัดการแท่น ไม่จัดให้แท่นมีอุปกรณ์ หรือเครื่องใช้เกี่ยวกับการจัดการขยะ หรือมีที่กักเก็บขยะ หรือแท่นมีสภาพที่ไม่สามารถป้องกัน การรั่วไหลของขยะได้ตามมาตรา 120/11 ต้องระวางโทษปรับทางปกครองไม่เกินแปดแสนบาท หากแท่นมีอุปกรณ์หรือเครื่องใช้เกี่ยวกับการจั ดการขยะ หรือมีที่กักเก็บขยะไม่เพียงพอหรือ ไม่ อยู่ในสภาพที่เหมาะสมในการใช้ หรือแท่นมีสภาพเสี่ยงที่จะเกิดการรั่วไหลของขยะอันอาจส่งผลกระทบ ต่อการรักษาสิ่งแวดล้อมทางทะเล ให้เจ้าของแท่น ผู้ครอบครองแท่น หรือผู้จัดการแท่น ต้องระวางโทษปรับ ทางปกครองไม่เกินสี่แสนบาท มาตรา 120/35 เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ หรือนายเรือของเรือล้าใด ฝ่าฝืนหรือ ไม่ปฏิบัติตามมาตรา 120/12 ในเรื่องดังต่อไปนี (1) ไม่มีป้ายประกาศ แผนจัดการขยะ หรือบันทึกการจัดการขยะในปูมเรือหรือเอกสารอื่น ต้องระวางโทษปรับทางป กครองไม่เกินสองแสนบาท (2) มีป้ายประกาศ แผนจัดการขยะ หรือบันทึกการจัดการขยะในปูมเรือหรือเอกสารอื่น ที่ไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้อง ต้องระวางโทษปรับทางปกครองไม่เกินหนึ่งแสนบาท มาตรา 120/36 เจ้าของแท่น ผู้ครอบครองแท่น หรือผู้จัดการแท่นของแท่นใด ฝ่าฝืน หรือไม่ ปฏิบัติตามมาตรา 120/12 ในเรื่องดังต่อไปนี (1) ไม่มีป้ายประกาศ แผนจัดการขยะ หรือบันทึกการจัดการขยะ ต้องระวางโทษปรับ ทางปกครองไม่เกินสี่แสนบาท ้ หนา 42 ่ เลม 140 ตอนที่ 20 ก ราชกิจจานุเบกษา 19 มีนาคม 2566

(2) มีป้ายประกาศ แผนจัดการขยะ หรือบันทึกการจัดการขยะที่ไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้อง ต้องระวางโทษปรับทางปกครอ งไม่เกินสองแสนบาท มาตรา 120/37 เจ้าของเรือหรือผู้ครอบครองเรือไม่ด้าเนินการให้นายเรือ ลูกเรือ หรือ คนประจ้าเรือมีทักษะและความคุ้นเคยในการจัดการขยะ ตามมาตรา 120/13 วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษปรับทางปกครองไม่เกินหนึ่งแสนบาท มาตรา 120/38 เจ้าของแท่นหรือผู้ครอบครองแท่นไม่ด้าเนินการให้ผู้จัดการแท่นหรือ ผู้ปฏิบัติหน้าที่บนแท่นมีทักษะและความคุ้นเคยในการจัดการขยะ ตามมาตรา 120/13 วรรคสอง ต้องระวางโทษปรับทางปกครองไม่เกินสองแสนบาท มาตรา 120/39 นายเรือหรือผู้จัดการแท่นผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตำมมาตรา 120/14 ต้องระวางโทษปรับทางปกครองไม่เกินห้าหมื่นบาท ในกรณีที่มีการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา 120/14 เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ เจ้าของแท่น หรือผู้ครอบครองแท่น ต้องระวางโทษปรับทางปกครองไม่เกินหนึ่งแสนบาท มาตรา 120/40 นายเรือหรือผู้จัดการแท่นผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา 120/15 ต้องระวางโทษปรับทางปกครองไม่เกินหนึ่งแสนบาท มาตรา 120/41 ในกรณีที่เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ หรือนายเรือ ไม่ปฏิบัติหรือแก้ไข ให้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่เจ้าท่าก้าหนดตามมาตรา 120/21 วรรค หนึ่ง (1) ให้เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ หรือนายเรือ ต้องโทษปรับรายวันในอัตราดังต่อไปนี ตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืน จนกว่าจะปฏิบัติหรือแก้ไขให้ถูกต้อง (1) วันละไม่เกินสองแสนบาท ส้าหรับกรณีไม่มีอุปกรณ์หรือเครื่องใช้เกี่ยวกับการจัดการขยะ ไม่มีที่กักเก็บขย ะ หรือเรือมีสภาพที่ไม่สามารถป้องกันการรั่วไหลของขยะได้ (2) วันละไม่เกินหนึ่งแสนบาท ส้าหรับกรณีมีอุปกรณ์หรือเครื่องใช้เกี่ยวกับการจัดการขยะ หรือมีที่กักเก็บขยะไม่เพียงพอหรือไม่อยู่ในสภาพที่เหมาะสมในการใช้ หรือเรือมีสภาพเสี่ยงที่จะเกิด การรั่วไหลของขยะอันอำจส่งผลกระทบต่อการรักษาสิ่งแวดล้อมทางทะเล มาตรา 120/42 ในกรณีที่เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ หรือนายเรือ ไม่ปฏิบัติหรือแก้ไข ให้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่เจ้าท่าก้าหนดตามมาตรา 120/21 วรรคหนึ่ง (2) ให้เจ้าของเรือ ้ หนา 43 ่ เลม 140 ตอนที่ 20 ก ราชกิจจานุเบกษา 19 มีนาคม 2566

ผู้ครอบครองเรือ หรือนายเรือ ต้องโทษปรับรายวันในอัตราดังต่อไปนี ตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืนจนกว่า จะปฏิบัติหรือแก้ไขให้ถูกต้อง (1) วันละไม่เกินหนึ่งแสนบาท ส้าหรับกรณีไม่มีป้ายประกาศ แผนจัดการขยะ หรือบันทึก การจัดการขยะในปูมเรือหรือเอกสารอื่น (2) วันละไม่เกินห้าหมื่นบาท ส้าหรับกรณีมีป้าย ประกาศ แผนจัดการขยะ หรือบันทึก การจัดการขยะในปูมเรือหรือเอกสารอื่น ที่ไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้อง มาตรา 120/43 ในกรณีที่เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ หรือนายเรือ ไม่ปฏิบัติหรือแก้ไข ให้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่เจ้าท่าก้าหนดตามมาตรา 120/21 วรรคหนึ่ง (3) ใ ห้เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ หรือนายเรือ ต้องโทษปรับรายวัน วันละไม่เกินห้าหมื่นบาท ตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืน จนกว่าจะปฏิบัติหรือแก้ไขให้ถูกต้อง มาตรา 120/44 ในกรณีที่เจ้าของแท่น ผู้ครอบครองแท่น หรือผู้จัดการแท่น ไม่ปฏิบัติหรือ แก้ไขให้ถูกต้องภายในระยะเว ลาที่เจ้าท่าก้าหนดตามมาตรา 120/24 วรรคหนึ่ง (1) ให้เจ้าของแท่น ผู้ครอบครองแท่น หรือผู้จัดการแท่น ต้องโทษปรับรายวันในอัตราดังต่อไปนี ตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืน จนกว่าจะปฏิบัติหรือแก้ไขให้ถูกต้อง (1) วันละไม่เกินสี่แสนบาท ส้าหรับกรณีไม่มีอุปกรณ์หรือเครื่อง ใช้เกี่ยวกับการจัดการขยะ ไม่มีที่กักเก็บขยะ หรือแท่นมีสภาพที่ไม่สามารถป้องกันการรั่วไหลของขยะได้ (2) วันละไม่เกินสองแสนบาท ส้าหรับกรณีมีอุปกรณ์หรือเครื่องใช้เกี่ยวกับการจัดการขยะ หรือมีที่กักเก็บขยะไม่เพียงพอ หรือไม่อยู่ในสภาพที่เหมาะสมในการใช้ หรื อแท่นมีสภาพเสี่ยงที่จะเกิด การรั่วไหลของขยะอันอาจส่งผลกระทบต่อการรักษาสิ่งแวดล้อมทางทะเล มาตรา 120/45 ในกรณีที่เจ้าของแท่น ผู้ครอบครองแท่น หรือผู้จัดการแท่น ไม่ปฏิบัติหรือ แก้ไขให้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่เจ้าท่าก้าหนดตามมาตรา 120/24 วรรคหนึ่ง (2) ให้เ จ้าของแท่น ผู้ครอบครองแท่น หรือผู้จัดการแท่น ต้องโทษปรับรายวันในอัตราดังต่อไปนี ตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืน จนกว่าจะปฏิบัติหรือแก้ไขให้ถูกต้อง (1) วันละไม่เกินสองแสนบาท ส้าหรับกรณีไม่มีป้ายประกาศ แผนจัดการขยะ หรือบันทึก การจัดการขยะ ้ หนา 44 ่ เลม 140 ตอนที่ 20 ก ราชกิจจานุเบกษา 19 มีนาคม 2566

(2) วันละไม่เกินหนึ่งแส นบาท ส้าหรับกรณีมีป้ายประกาศ แผนจัดการขยะ หรือบันทึก การจัดการขยะที่ไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้อง มาตรา 120/46 ในกรณีที่เจ้าของแท่น ผู้ครอบครองแท่น หรือผู้จัดการแท่น ไม่ปฏิบัติ หรือแก้ไขให้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่เจ้าท่าก้าหนดตามมาตรา 120/24 วรรคหนึ่ง (3) ให้เจ้าของแท่น ผู้ครอบครองแท่น หรือผู้จัดการแท่น ต้องโทษปรับรายวัน วันละไม่เกินหนึ่งแสนบาท ตลอดเวลาที่ยัง ฝ่าฝืนจนกว่าจะปฏิบัติหรือแก้ไขให้ถูกต้อง มาตรา 120/47 ผู้ใดต่อสู้หรือขัดขวางไม่ให้เจ้าท่าขึ นไปตรวจสอบเรือหรือแท่นในทะเล หรือปิดบังหรือซ่อ นเร้นเอกสารหรือหลักฐานต่อเจ้าท่า ไม่ให้เอกสารหรือหลักฐานตามที่เจ้าท่าร้องขอ หรือแสดงเอกสารหรือหลักฐานหรือแจ้งข้อความอันเป็นเท็จต่อเจ้าท่า ต้องระวางโทษจ้าคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั งจ้าทั งปรับ ถ้าการต่อสู้หรือขัดขวางตามวรรคหนึ่ งได้กระท้าโดยใช้ก้าลังประทุษร้ายหรือขู่เข็ญว่าจะใช้ก้าลัง ประทุษร้าย ผู้กระท้าต้องระวางโทษจ้าคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือทั งจ้าทั งปรับ ถ้าการกระท้าตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองได้กระท้าโดยมีหรือใช้อาวุธ ผู้กระท้าต้องระวางโทษ หนักกว่าโทษที่กฎหมายบัญญั ติไว้ในสองวรรคก่อนกึ่งหนึ่ง มาตรา 120/48 ให้เจ้าท่ามีอ้านาจเปรียบเทียบความผิดที่มีโทษปรับทางปกครองตามส่วนนี หลักเกณฑ์ในการเปรียบเทียบตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามที่อธิบดีกรมเจ้าท่าประกาศก้าหนด โดยค้านึงถึงความร้ายแรงของพฤติการณ์แห่งการกระท้าความผิดด้วย มาตรา 120/ 49 ในกรณีที่ผู้ถูกปรับทางปกครองตามส่วนนีไม่ช้าระค่าปรับทางปกครอง ให้เจ้าท่ามีอ้านาจฟ้องคดีต่อศาลที่มีเขตอ้านาจในการพิจารณาคดีอาญาเพื่อบังคับช้าระค่าปรับทางปกครอง ในการนี ถ้าศาลพิพากษาให้ช้าระค่าปรับทางปกครอง หากผู้นันไม่ช้าระค่าปรับทางปกครองภายใน สามสิบวันนับแต่วันที่ศาลมีค้าพิพากษา ให้ยึดทรัพย์สินของผู้นันเพื่อชดใช้แทนค่าปรับทางปกครอง แต่มิให้น้ามาตรการกักขังแทนค่าปรับมาใช้แก่ผู้นัน ในกรณีที่มีการวางหลักประกันตามมาตรา 120/23 ให้หักหลักประกันเป็นการช้าระค่าปรับ ้ หนา 45 ่ เลม 140 ตอนที่ 20 ก ราชกิจจานุเบกษา 19 มีนาคม 2566

มาตรา 120/50 เมื่อเจ้าท่าได้กระท้า การเปรียบเทียบความผิดตามส่วนนี และผู้กระท้า ความผิดได้ช้าระค่าปรับตามที่เจ้าท่าเปรียบเทียบภายในสามสิบวันนับแต่วันที่มีการเปรียบเทียบแล้ว ให้คดีนั นเป็นอันเลิกกัน ในกรณีที่ผู้กระท้าความผิดยินยอมให้เปรียบเทียบแต่ไม่ช้าระเงินค่าปรับภายในระยะเวลา ที่ก้าหนดตามวรรคหนึ่ง ให้ด้าเนินคดีเพื่อฟ้องร้องต่อไป ในกรณีเช่นว่านี ให้อายุความเริ่มนับเมื่อพ้น ก้าหนดระยะเวลาดังกล่าว ” ผู้รับสนองพระ บรม ราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ้ หนา 46 ่ เลม 140 ตอนที่ 20 ก ราชกิจจานุเบกษา 19 มีนาคม 2566

หมายเหตุ : - เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี คือ โดยที่ประเทศไทยมีนโยบายที่จะเข้าเป็น ภาคีอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการป้องกันมลพิษจากเรือ ค.ศ. 1973 ภาคผนวก 5 ว่าด้วย กฎข้อบังคับส้าหรับการป้องกันมลพิษจากขยะบนเรือ ( MARPOL Annex V Regulations for the Prevention of Pollution by Garbage from Ships ) เพื่อร่วมมือกับนานาประเทศในการควบคุมมิให้มี การทิ งขยะจากเรือหรือแท่นที่เป็นสิ่งก่อสร้างในทะเลทั งที่ติดตรึงอยู่กับที่หรือที่ลอยน ้าได้ ให้เป็นไป ตามข้อก้าหนดและมาตรฐานที่อนุสัญญาก้าหนด และสอดคล้องกับอนุสัญญาสหประชาชำ ติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ( United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 ) เกี่ยวกับการป้องกัน การลดและการควบคุมภาวะมลพิษของสิ่งแวดล้อมทางทะเล โดยรัฐภาคีต้องด้าเนินการควบคุมมิให้เรือหรือ แท่นที่อยู่ในทะเลอาณาเขตและเขตเศรษฐกิจจ้าเพาะ รวมทังเรือของรัฐภาคีที่เดิ นอยู่ในทะเลทั่วโลก ละเมิด ข้อก้าหนดของอนุสัญญา และต้องจัดให้มีมาตรการเพื่อรองรับการด้าเนินการดังกล่าว ซึ่งกฎหมายไทย ที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบั นยังไม่คร อบคลุมเพียงพอ สมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการเดินเรือในน่านน ้าไทย โดยเพิ่มบทบัญญัติว่าด้วยการทิงขยะใ นทะเล ก้าหนดมาตรการในการควบคุมการทิงขยะจากเรือและแท่น ให้เป็นไปตามหลักมาตร ฐานสากลและให้เป็นไปตามพันธกรณีแห่งอนุสัญญา อันเป็นการป้องกันมิให้เกิดมลพิษ และคุ้มครองสิ่งแวดล้อมทางทะเล จึงจ้าเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี ้ หนา 47 ่ เลม 140 ตอนที่ 20 ก ราชกิจจานุเบกษา 19 มีนาคม 2566