Thu Mar 09 2023 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ประกาศผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน เรื่อง แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ พ.ศ. 2566


ประกาศผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน เรื่อง แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ พ.ศ. 2566

ประกาศผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน เรื่อง แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ พ.ศ. 2566 โดยที่เป็นการสมควรกาหนดแนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ เพื่อให้ผู้ตรวจสอบใช้เป็น แนวทางในการตรวจสอบตามประกาศคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน เรื่อง หลักเกณฑ์มาตรฐาน เกี่ยวกับการตรวจเงินแผ่นดิน และให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชีที่สภาวิชาชีพบัญชี ประกาศกาหนด ซึ่งจะทำให้การปฏิบัติงานตรวจสอบมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลยิ่งขึ้น อาศัยอานาจตามมาตรา 54 (5) ประกอบมาตรา 5 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. 2561 ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินจึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ ประกาศผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน เรื่อง แนวปฏิบัติการตรวจสอบ การเงินภาครัฐ พ.ศ. 2566 ” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566 เป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ใช้แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ ตามที่กาหนดท้ายประกาศนี้ ข้อ 4 การดาเนินการใด ๆ ที่ดาเนินการไปก่อนประกาศนี้ใ ช้บังคับ ให้ถือว่าชอบด้วยประกาศนี้ และให้ดาเนินการต่อไปตามที่กาหนดไว้ในประกาศนี้ ข้อ 5 ให้ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ และมีอานาจออกคาสั่ง เพื่อปฏิบัติตามประกาศนี้ กรณีมีเหตุผลความจาเป็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามประกาศนี้ ให้ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน มีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาด หรือยกเว้นผ่อนผันการปฏิบัติตามความในประกาศนี้ ประกาศ ณ วันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 25 6 6 ประจักษ์ บุญยัง ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ้ หนา 10 ่ เลม 140 ตอนที่ 15 ก ราชกิจจานุเบกษา 10 มีนาคม 2566

แนวปฏิบัติ การ ตรวจสอบการเงินภาครัฐ เ ผ ย แ พ ร่ โ ด ย สา นั ก วิ จั ย สา นั ก งำ น กำ ร ต ร ว จ เ งิ น แ ผ่ น ดิ น กั น ยำ ย น 2 5 6 5

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ I คานำ

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ II สารบัญ สารบัญ หน้า คำนำ I สารบัญ II สารบัญตาราง V คำนิยาม V I บทนำ 1 1 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 200 เรื่อง วัต ถุประสงค์โดยรวมของผู้ ตรวจสอบ และการปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐาน การสอบบัญชี 5 2 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 2 1 0 เรื่อง ข้อตกลงในการรับงานสอบบัญชี 7 3 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 2 2 0 เรื่อง การควบคุมคุณภาพการตรวจสอบ รายงาน การเงิน 12 4 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 230 เรื่อง เอกสารหลักฐานของงานตรวจสอบ 1 3 5 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 240 เรื่อง ความรับผิดชอบของผู้ ตรวจสอบ เกี่ยวกับการพิจารณาการทุจริตในการตรวจสอบ รายงาน การเงิน 1 6 6 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครั ฐ รหัส 2 5 0 (ปรับปรุง) เรื่อง การพิจารณากฎหมายและข้อบังคับในการตรวจสอบ รายงาน การเงิน 20 7 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 260 (ปรับปรุง) เรื่อง การสื่อสารกับผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแล 22 8 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 265 เรื่อง การสื่อ สารข้อบกพร่องของการควบคุมภายในไปยังผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแลและ ผู้บริหารขอ งหน่วยงาน 2 4 9 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 300 เรื่อง การวางแผนการตรวจสอบ รายงาน การเงิน 2 5 10 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 315 (ปรับปรุง) เรื่อง การระบุและปร ะเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง อันเป็นสาระสำคัญ 2 8 11 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 320 เรื่อง ความมีสาระสำคัญในการวางแผนและปฏิบัติงานสอบบัญชี 3 3 12 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 330 เรื่อง วิธีปฏิบัติของผู้ ตรวจ สอ บในการตอบสนองต่อความเสี่ยงที่ได้ประเมินไว้ 3 6

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ III สารบัญ สารบัญ (ต่อ) หน้า 13 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 402 เรื่อง ข้อพิจารณาในกรณีที่ หน่วยงาน ใช้บริการขององค์กรอื่น 38 14 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 450 เรื่อง การประเมินการแสดงข้อมูล ที่ขัดต่อข้อเท็จจริงที่พบระหว่างการตรวจสอบ 41 15 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 500 เรื่อง หลักฐานการสอบบัญชี 4 3 16 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 50 1 เรื่อง หลักฐานการสอบบัญชี - ข้อพิจารณาเพิ่มเติมเฉพาะรายการ 4 8 17 แนวปฏิบัติการตรวจสอบกำรเงินภาครัฐ รหัส 50 5 เรื่อง การขอคำยืนยันจากบุคคลภายนอก 51 18 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 5 10 เรื่อง การตรวจสอบยอดยกมาในการสอบบัญชีครั้งแรก 5 3 19 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 520 เรื่อง การวิเคราะห์เปรียบเทียบ 5 4 20 แนวปฏิบัติกา รตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 530 เรื่อง การเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชี 5 6 21 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 5 4 0 (ปรับปรุง) เรื่อง การตรวจสอบประมาณการทางบัญชีและการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 5 8 22 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 550 เรื่อง บุคคลหรือ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกัน 62 23 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 5 6 0 เรื่อง เหตุการณ์ภายหลังวันที่ใน รายงาน การเงิน 6 6 24 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 5 7 0 (ปรับปรุง) เรื่อง การดำเนินงานต่อเนื่อง 6 7 25 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภำครัฐ รหัส 5 8 0 เรื่อง หนังสือรับรอง 6 9 26 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 600 เรื่อง ข้อพิจารณาพิเศษ - การตรวจสอบ รายงาน การเงินของกลุ่มกิจการรวมถึง งานของผู้ ตรวจสอบ อื่น 71 27 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 610 (ปรับปรุง) เรื่อง การใช้ผลงาน ของผู้ตรวจสอบภายใน 7 7 28 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 620 เรื่อง การใช้ผลงานของผู้เชี่ยวชาญของผู้ ตรวจสอบ 7 8

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ IV สารบัญ สารบัญ (ต่อ) หน้า 29 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 700 (ปรับปรุง) เรื่อง การแสดงความเห็นและการรายงานต่อ รายงาน การเงิน 80 30 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 701 เรื่อง การสื่อสารเรื่องสำคัญในการตรวจสอบใน รายงานของผู้สอบบัญชีหรือ รายงาน ของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต 82 31 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 705 (ปรับปรุง) เรื่อง การแสดงความเห็นแบบที่เปลี่ยนแปลงไปใน รายงาน ของผู้สอบบัญชีหรือ รายงาน ของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต 85 32 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 706 (ปรับปรุง) เรื่อง วรรคเน้นข้อมูลและเหตุการณ์และวรรคเรื่องอื่นใน รายงานของผู้สอบบัญชีหรือ รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต 87 33 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 710 เรื่อง ข้อมูลเปรียบเทียบ - ตัวเลขเปรียบเทียบและ รายงาน การเงินเปรียบเทียบ 89 34 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 720 (ปรับปรุง) เรื่อง ความรับผิดชอบของผู้ ตรวจสอบ เกี่ยวกับข้อมูลอื่น 90 35 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 800 (ปรับปรุง) เรื่อง ข้อพิจารณา พิเศษ - การตรวจสอบ รายงาน การเงินที่จัดทำตามแม่บท เพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ 91 36 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 805 (ปรับปรุง) เรื่อง ข้อพิจารณาพิเศษ - การตรวจสอบ รายงาน การเงินงบใดงบหนึ่งและการตรวจสอบ เฉพาะส่วนประกอบ หรือบัญชี หรือรายการ ใน รายงาน การเงิน 94 37 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 810 (ปรับปรุง) เรื่อง งานการรายงานต่อ รายงาน การเงินอย่างย่อ 96

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ V สารบัญตาราง สารบัญ ตาราง ตารางที่ หน้า 1 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ GUID 2900 และมาตรฐานการสอบบัญชี 2 2 ความเสี่ยงแ ละแหล่งที่มาของหลักฐานการสอบบัญชี 4 5

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ VI คานิยาม คำนิยาม การตรวจสอบการเงิน หมายถึง การตรวจสอบการแสดงข้อมูลทางการเงินของหน่วยรับตรวจ ว่าเป็นไปตามแม่บทการรายงานทางการเงิน และอาจรวมถึง การตรวจสอบ การปฏิบัติตามกฎหมายที่มีผลกระทบต่อ การกา หนดจา นวนเงินและการเปิดเผยข้อมู ลที่มีสาระสา คัญ ในรายงานการเงิน ผู้ตรวจสอบ หมายถึง ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน หรือเจ้าหน้าที่ที่ผู้ว่าการ ตรวจเงินแผ่นดินมอบหมายให้ดำเนินการตรวจสอบตาม พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงิน แผ่นดิน พ.ศ. 2561 และผู้สอบบัญชีที่สำนักงาน การตรวจเงินแผ่นดิ นให้ความเห็นชอบตามมาตรา 71 แห่ง พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 หน่วยงาน ภาค รัฐ หมายถึง หน่วยรับตรวจตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. 2561 แม่บทการรายงาน ทางการเงิน หมายถึง มาตรฐานการบัญชีที่หน่วยรับตรวจใช้ใ นการจัดทำ รายงานทางการเงิน ได้แก่ มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและ นโยบายการบัญชีภาครัฐ มาตรฐานการบัญชีที่รับรอง ทั่วไป หรือมาตรฐานการบัญชีอื่นที่หน่วยงาน ภาค รัฐกา หนด รายงานการเงิน หมายถึง รายงานการเงินตามรอบระยะเวลาบัญชีที่หน่วยงาน ภาค รัฐ ต้องจัดทา ขึ้น ซึ่งรายงานการ เงินอย่างน้อยต้องประกอบด้วย งบแสดงฐานะการเงินและงบแสดงผลการดำ เนินงาน ทางการเงิน ทั้งเงินงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ และ เงินอื่นใด รวมถึงการก่อหนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ กระทรวงการคลังกา หนด ตามกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงิน การคลังของรัฐ รายงานการเงิน แผ่นดินประ จำปี หมายถึง รายงานการเงินประจำ ปีงบประมาณที่กระทรวงการคลัง ต้องจัดทา ขึ้น อย่างน้อยต้องประกอบด้วย งบแสดงฐานะ การเงิน งบแสดงผลการดา เนินงานทางการเงิน งบแสดง การเปลี่ยนแปลงสินทรัพย์สุทธิ งบกระแสเงินสด และ รายงานการรับจ่ายเงิน ประจำปีงบประมาณ ทั้งนี้ ตามกฎหมายว่ำด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ สิ่งที่ผู้บริหาร ได้ให้การรับรองไว้ หมายถึง การที่ผู้บริหารของหน่วยรับตรวจได้ให้การรับรองรายงาน การเงินอย่างชัดเจนหรือโดยนัยถือได้ว่า ได้มีการรับรอง ซึ่งผู้ตรวจสอบนา มาใช้ในการพิจารณาว่าการแสดงข้อมูล หรือการไม่แสดงข้อมูลในรา ยงานการเงินนั้นขัดต่อ ข้อเท็จจริง หรือไม่

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 1 บทนำ บทนา สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินได้กำหนดเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ด้านการยกระดับ การตรวจเงินแผ่นดินให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล มิติด้านประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ ซึ่งกาหนดให้มีคู่มือ และแนวปฏิบัติการตรวจเงินแผ่นดินที่ สอดคล้องกับมาตรฐานสากล ประกอบกับที่ผ่านมา องค์การสถาบัน การตรวจสอบสูงสุดระหว่างประเทศ ( International Organization of Supreme Audit Institutions: INTOSAI) ได้ออกประกาศมาตรฐานทางวิชาชีพ ( Professional pronouncements) ซึ่งเรียกว่า คาประกาศกรอบมาตรฐาน ทางวิชา ชีพขององค์การสถาบันการตรวจสอบสูงสุดระหว่างประเทศ ( The INTOSAI Framework of Professional Pronouncements: IFPP) สาหรับการตรวจสอบการเงิน องค์การสถาบันการตรวจสอบสูงสุดระหว่างประเทศ ได้นา มาตรฐานการสอบบัญชีระหว่างประเทศของคณะกรรมการกาหนดมาตรฐานการสอบบัญชีและงานที่ ให้ความเชื่อมั่น ระหว่างประเทศ ( International Auditing and Assurance Standards Board : IAASB ) มาใช้และ ได้ จัดทา GUID 2900 Guidance to the financial auditing standards เพื่อให้ข้อ ปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐาน การสอบบัญชีระหว่างประเทศดังกล่าว สานักงานการตรวจเงิ นแผ่นดินจึงได้ปรับปรุงแนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ โดยนา GUID 2900 Guidance to the financial auditing standards ของ องค์การสถาบันการตรวจสอบสูงสุดระหว่างประเทศ มาปรับให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์มาตรฐานเกี่ยวกับการตรวจเงินแผ่นดินและ ในบริบทของหน่วยงานภาครัฐ แล ะให้ ข้อปฏิบัติ เพิ่มเติม จาก มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 200 ถึง รหัส 810 ที่สภาวิชาชีพบัญชีประกาศกาหนด เกี่ยวกับคาจากัดความที่จาเป็นต่อการทาความเข้าใจสาหรับแนวปฏิบัติแต่ละฉบับตามความเหมาะสม วัตถุประสงค์ ข้อกำหนดและคาอธิบาย แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ จัด ทาขึ้นเพื่อให้ผู้ตรวจสอบใช้เป็นแนวทางในการตรวจสอบ ตามหลักเกณฑ์มาตรฐานเกี่ยวกับการตรวจเงินแผ่นดินและ ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจาก มาตรฐานการสอบบัญชี เพื่อแสดงความเห็นต่อรายงานการเงิน ของหน่วยรับตรวจ ว่าเป็นไปโดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสาคัญตามแม่บท การรายงานทางการเงิน หรือไม่ โดยใช้ควบคู่กับคู่มือ แนวปฏิบัติ คาสั่ง ระเบียบหรือประกาศที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ได้ แสดงให้เห็นความสอดคล้องของแนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ GUID 2900 และมาตรฐานการสอบบัญชี ตามตาราง ที่ 1

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 2 บทนำ ตาราง ที่ 1 แ นวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ GUID 2900 และมาตรฐานการสอบบัญชี ลำดับ แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 1 GUID 2900 2 มาตรฐานการสอบบัญชี 1 รหัส 200 เรื่อง วัตถุประสงค์โดยรวมของ ผู้ตรวจสอบและการปฏิบัติงานตรวจสอบ ตามมาตรฐานการสอบบัญชี ISSAI 2200 - Overall Objectives of the Independent Auditor an d the Conduct of an Audit in Accordance w ith International Standards on Auditing รหัส 200 เรื่อง วัตถุประสงค์โดยรวม ของผู้สอบบัญชีรั บอนุ ญาตแ ละ การปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐาน การสอบ บัญชี 2 รหัส 210 เรื่อง ข้อตกลงในการรับงาน สอบบัญชี ISSAI 2210 - Agreeing th e Terms of Audit Engagements รหัส 210 เรื่อง ข้อตกลงในการรั บ งาน สอบบัญชี 3 รหัส 220 เรื่อง การควบคุมคุณภาพ การตรวจสอบรายงานการเงิน ISSAI 2220 - Quality Control for an Audit of Financial Statements รหัส 220 เรื่อง การ ควบคุมคุณ ภาพ การตรวจสอบงบการเงิน 4 ร หัส 230 เรื่อง เอกสารหลักฐานขอ ง งานตรวจสอบ ISSAI 2230 - Audit Documentation รหัส 230 เรื่อง เอกสารหลักฐานของ งานตรวจสอบ 5 รหัส 240 เรื่อง ความรับผิดชอบ ของผู้ ตรวจสอบ เกี่ยวกับการพิจารณา การทุจริตในการตรวจสอบรายงาน การเงิน ISSAI 2240 - The Auditor’s Responsi bilities Relating to Fraud in an Audit of Financial Statements รหัส 240 เรื่อง ความรับผิดชอบของ ผู้สอบบัญชีเกี่ยวกับการพิจารณา การทุจริตในการตรวจสอบงบการเงิน 6 รหัส 250 (ปรับปรุง) เรื่อง การพิจารณา กฎหมายและข้อบังคับในกา ร ตรวจสอบ รายงานการเงิน ISSAI 2250 (Re vised) - Consideration of Laws and Regulations in an Audit of Financial Statements รหัส 250 (ปรับปรุง) เรื่อง การ พิจารณากฎหมายและข้อบังคับในการ ตรวจสอบงบการเงิน 7 รหัส 260 (ปรับปรุง) เรื่อง การสื่อสาร กับผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแล ISSAI 2260 (Revised) - Com munication with Those Charged with Governance รหัส 260 ( ปรับปรุง) เรื่อง การสื่อสาร กับผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแล 8 รหัส 265 เรื่อง การสื่อสารข้อบกพร่อง ของการควบคุมภายในไปยังผู้มีหน้าที่ ในการกำกับดูแลและผู้บริหารของ หน่วยงาน ISSAI 2265 - Communicating Defi ciencies in Internal Control to Those Charged with Governance and Management รหัส 265 เรื่อง การสื่อสารข้อบกพร่อง ของการควบคุมภายในไปยังผู้มีหน้าที่ ในการกำกับดูแลและผู้บริหารของ กิจการ 9 รหัส 300 เรื่อง การวางแผนการตรวจสอบ รายงานการเงิน ISSAI 2300 - Plannin g an Audit of Financial Statements รหัส 300 เรื่อง การวางแผนกา ร ตรวจสอบงบการเงิน 10 รหัส 315 (ปรับปรุง) เรื่อง การระบุ และประเมินความเสี่ยงจากการแสดง ข้ อมูลที่ขั ดต่อข้ อเท็จจริ งอั นเป็น สาระสำคัญ ISSAI 2315 (Revised 2019) - Identifying and Assessing the Risks of Material Misstatement รหัส 315 ( ปรับปรุง 2564) เรื่อง การ ระบุและประเมินความเสี่ยงจากการ แสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็น สาระสำคัญ 11 รหัส 320 เรื่อง ความมีสาระสำคัญใน การวางแผนและปฏิบัติงานสอบบัญชี ISSAI 2320 - Materiality in Planning and Performing an Audit รหัส 320 เรื่อง ความมีสาระสาคัญใน การวางแผนและปฏิบัติงานสอบบัญชี

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 3 บทนำ ตารางที่ 1 แ นวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ GUID 2900 และมาตรฐานการสอบบัญชี (ต่อ) ลำดับ แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 1 GUID 2900 2 มาตรฐานการสอบบัญชี 12 รหัส 330 เรื่ อง วิธีปฏิบัติของผู้ตรวจสอบ ในการตอบสนองต่อความเสี่ยงที่ได้ ประเมินไว้ ISSAI 2330 - The Auditor’s Responses to Assessed Risks รหัส 330 เรื่อง วิธีปฏิบัติของผู้สอบบัญชี ในการตอบสนองต่อความเสี่ยงที่ได้ ประเมินไว้ 13 รหัส 402 เรื่อง ข้อพิจารณาในกรณีที่ หน่วยงาน ใ ช้บริการขององค์กรอื่น ISSAI 2402 - Audit Considerations Relating to an Entity Using a Service Organization รหัส 402 เรื่อง ข้อพิจารณาในกรณี ที่กิจการใช้บริการขององค์กรอื่น 14 รหัส 450 เรื่อง การประเมินการแสดง ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงที่พบระหว่าง การตรวจสอบ ISSAI 2450 - Evaluation of Misstatement s Identified during the Audit รหัส 450 เรื่อง การประเมินการแสดง ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงที่พบ ระหว่างการตรวจสอบ 15 รหัส 500 เรื่อง หลักฐานการสอบบัญชี ISSAI 2500 - Audit Evidence รหัส 500 เรื่อง หลักฐานการสอบบัญชี 1 6 รหัส 501 เรื่อง หลักฐานการสอบบัญชี - ข้อพิจารณาเพิ่มเติมเฉพาะรายการ ISSAI 2501 - Audit Evidence - Specific Considerations for Selected Items รหัส 501 เรื่อง หลักฐานการสอบบัญชี - ข้อพิจารณาเพิ่มเติมเฉพาะรายการ 17 รหัส 505 เรื่อง การขอคำยืนยันจาก บุคคลภายนอก ISSAI 2505 - External Confirmations รหัส 505 เรื่อง การขอคายืนยันจาก บุคคลภายนอก 18 รหัส 510 เรื่อง การตรวจสอบยอดยกมา ในการสอบบัญชีครั้งแรก ISSAI 2510 - Initial Audit Engagements - Opening Balance รหัส 510 เรื่อง การตรวจสอบยอด ยกมาในการสอบบัญชีครั้งแรก 19 รหัส 520 เรื่อง การวิเคราะห์เปรียบเทียบ ISSAI 2520 - Analytical Procedures รหัส 520 เรื่อง การวิเคราะห์เปรียบเทียบ 20 รหัส 530 เรื่อง การเลือกตัวอย่างใน การสอบบัญชี ISSAI 2530 - Audit Sampling รหัส 530 เรื่อง การเลือกตัวอย่างใน การสอบบัญชี 21 รหัส 540 (ป รับปรุง) เรื่อง การตรวจสอบ ประมาณการทางบัญชีและการเปิดเผย ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ISSAI 2540 (Revised) - Auditing Accounting Estimates and Related Disclosures รหัส 540 ( ปรับปรุง) เรื่อง การตรวจสอบ ประมาณการทางบัญชีและการเปิดเผย ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 22. รหัส 550 เรื่ อง บุคคลหรือ หน่วยงาน ที่ เกี่ยวข้องกัน ISSAI 2550 - Related Parties รหัส 550 เรื่อง บุคคลหรือกิจการที่ เกี่ยวข้องกัน 23 รหัส 560 เรื่อง เหตุการณ์ภายหลังวันที่ ในรายงานการเงิน ISSAI 2560 - Subsequent Events รหัส 560 เรื่อง เหตุการณ์ภายหลัง วันที่ในงบการเงิน 24 รหัส 570 (ปรั บปรุ ง) เรื่ อง การ ดำเนินงานต่อเนื่อง ISSAI 2570 (Revised) - Going Concern รหัส 570 ( ปรับปรุง) เรื่อง การ ดำเนินงานต่อเนื่อง 25 รหัส 580 เรื่อง หนังสือรับรอง ISSAI 2580 - Written Representations รหัส 580 เรื่อง หนังสือรับรอง 26 รหัส 600 เรื่ อง ข้อพิจารณาพิเศษ - การ ตรวจสอบรายงานการเงินของกลุ่ม กิจการ รวมถึงงานของผู้ตรวจสอบอื่น ISSAI 2600 - Special C onsiderations - Audits of Group Financial Statements (Including the Work of Component Auditors) รหัส 600 เรื่อง ข้อพิจารณาพิเศษ - การตรวจสอบงบการเงินขอ งกลุ่ม กิจการรวมถึงงานของผู้สอบบัญชีอื่น 27 รหัส 610 (ปรับปรุง) เรื่อง การใช้ผลงาน ของผู้ตรวจสอบภายใน ISSAI 2610 (Revised 2013) - Using the Work of Internal Auditors รหัส 610 ( ปรับปรุง) เรื่อง การใช้ ผลงานของผู้ตรวจสอบภายใน 28 รหัส 620 เรื่อง การใช้ผลงานขอ ง ผู้เชี่ยวชาญของผู้ตรวจสอบ ISSAI 2620 - Using the Work of an Auditor’s Expert รหัส 620 เรื่อง การใช้ผลงานของ ผู้เชี่ยวชาญของผู้สอบบัญชี

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 4 บทนำ ตารางที่ 1 แ นวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ GUID 2900 และมาตรฐานการสอบบัญชี (ต่อ) 1 เป็นข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี 2 เป็นข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจาก International Standards on Auditing (ISAs) ลำดับ แนวปฏิบัติการตรวจสอบกำรเงินภาครัฐ 1 GUID 2900 2 มาตรฐานการสอบบัญชี 29 รหัส 700 (ปรับปรุง) เรื่อง การแสดง ความเห็นและการรายงานต่อรายงาน การเงิน ISSAI 2700 (Revised) - Forming an Opinion and Reporting on Financial Statements รหัส 700 ( ปรับปรุง) เรื่อง การแสดง ความเห็นและการรายงานต่อ งบการเงิน 30 รหัส 701 เรื่อง การสื่อสารเรื่องสำคัญใน การตรวจสอบในรายงานของผู้สอบบัญชี หรือรายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ISSAI 2701 - Communicating Key Audit Matters in the Independent Auditor’s Report รหัส 701 เรื่อง การสื่อสารเรื่อง สำคัญในการตรวจสอบในรายงำน ของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต 31 รหัส 705 (ปรับปรุง) เรื่อง การแสดง ความเห็นแบบที่เปลี่ยนแปลงไปใน รายงานของผู้สอบบัญชีหรือรายงานของ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ISSAI 2705 (Revised) - Modifications to the Opinion in the Independent Auditor’s Report รหัส 705 ( ปรับปรุง) เ รื่อง การแสดง ความเห็นแบบที่เปลี่ยนแปลงไปใน รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต 32 รหัส 706 (ปรับปรุง) เรื่อง วรรคเน้น ข้อมูลและเหตุการณ์และวรรคเรื่องอื่น ในรายงานของผู้สอบบัญชีหรือรายงาน ของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ISSAI 2706 (Revised) - Emphasis of Matter Paragraphs and Other Matter Paragraphs in the Independent Auditor’s Report รหัส 706 ( ปรับปรุง) เรื่อง วรรคเน้น ข้อมูลและเหตุการณ์และวรรค เรื่องอื่น ในรายงานของผู้สอบบัญชี รับอนุญาต 33 รหัส 710 เรื่อง ข้อมูลเปรียบเทียบ - ตัวเลขเปรียบเทียบและรายงานการเงิน เปรียบเทียบ ISSA I 2710 - Comparative Information - Corresponding Figures and Comparative Financial Statements รหัส 710 เรื่อง ข้อมูลเปรียบเทียบ - ตัวเลขเปรียบเทียบและงบการเงิน เปรียบเทียบ 34 รหัส 720 (ปรับปรุง) เรื่อง ความ รับผิดชอบของผู้ตรวจสอบเกี่ยวกับ ข้อมูลอื่น ISSAI 27 20 (Revised) - The Auditor’s Responsibilities Relating to Other Information รหัส 720 ( ปรับปรุง) เรื่อง ความ รับผิดชอบของผู้สอบบัญชีเกี่ยวกับ ข้อมูลอื่น 35 รหัส 800 (ปรับปรุง) เรื่อง ข้อพิจารณา พิเศษ - การตรวจสอบรายงานการเงิน ที่จัดทำตามแม่บทเพื่อวัตถุประสงค์ เฉ พาะ ISSAI 2800 (Revised) - Special Considerations - Audits of Financial Statements Prepared in Accordance with Special Purpose Frameworks ร ห ั ส 800 ( ป ร ั บ ป ร ุ ง ) เ รื ่ อ ง ข้อพิจารณาพิเศษ - การตรวจสอบ งบการเงินที่จัดทำตามแม่บทเพื่อ วัตถุประสงค์เฉพาะ 36 รหัส 805 (ปรั บปรุง) เรื่อง ข้อพิจารณา พิเศษ - การตรวจสอบรายงานการเงิน งบใดงบหนึ่งและการตรวจสอบเฉพาะ ส่วนประกอบ หรือบัญชี หรือรายการใน รายงานการเงิน ISSAI 2805 (Revised) - Special Considerations - Audits of Single Financial Statements and Specific Elements, Accounts or Item s of a Financial Statement ร ห ั ส 805 ( ป ร ั บ ป ร ุ ง ) เ รื ่ อ ง ข้อพิจารณาพิเศษ - การตรวจสอบ ง บ กำ ร เ งิ น ง บ ใด ง บห นึ่ง แ ละ การตรวจสอบเฉพาะส่วนประกอบ หรือบัญชี หรือรายการในงบการเงิน 37 รหัส 810 (ปรับปรุง) เรื่อง งาน การรายงานต่อรายงานการเงินอย่างย่อ ISSAI 2810 (Revised) - E ngagements to Report on Summary Financial Statements รหัส 810 ( ปรับปรุง) เรื่อง งาน กา ร รายงานต่องบการเงินอย่างย่อ

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 5 1 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 200 เรื่อง วัตถุประสงค์โดยรวมของผู้ตรวจสอบและการปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี 1 แนวปฏิบัติการตรว จสอบการเงินภาครัฐ รหัส 200 เรื่อง วัตถุประสงค์โดยรวม ของผู้ตรวจสอบและการปฏิบัติงานตรวจสอบ ตามมาตรฐานการสอบ บั ญชี เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1 ) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 200 เรื่อง วัตถุประสงค์โดยรวมของ ผู้ สอบบัญชีรับอนุญาต และกา รปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี สาหรับผู้ตรวจสอบ ในเรื่องดังต่อไปนี้ (ก) ข้อพิจารณาโดยเฉพาะสำหรับ หน่วยงาน ขนาดเล็ก (ข) การตรวจสอบรายงานการเงิน (ค) การสังเกตและสงสัยเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ ข้อพิจารณาโดยเฉพาะสำหรับ หน่วยงาน ขนาดเล็ก 2 ) มาตรฐานการสอบบัญ ชีบางฉบับได้กล่าวถึงข้อพิจารณาเฉพาะสาหรับการตรวจสอบ หน่วยงาน ที่มีขนาดเล็ก ในขณะที่การตรวจสอบหน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานที่ได้รับเงินอุดหนุนจากภาครัฐนั้น ไม่สามารถ นำข้อพิจารณาดังกล่าวมาปรับใช้ ถึงแม้หน่วยงานภาครัฐบางแห่งมีบุคลากรจานวนไม่มาก การปฏิบัติงาน ไม่ยุ่ งยาก หรือได้รับงบประมาณเพียงเล็กน้อยก็ตาม แต่ในสถานการณ์ดังกล่าวหน่วยงานภาครัฐอาจมี การบันทึกรายการที่ซับซ้อน เช่น รายการโอนเงินงบประมาณระหว่างหน่วยงาน และจาเป็นต้องปฏิบัติ ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ นโยบายและระบบ ที่กาหนดโดยหน่วยงานควบคุมกากับ รวมถึงความรับผิดชอบต่อการใช้จ่ายเงินภาษีของภาครัฐ ดังนั้น ผู้ตรวจสอบควรใช้ความระมัดระวังในการนาข้อพิจารณาที่เกี่ยวข้องมาใช้ ซึ่งส่วนนี้อาจรวมแนวปฏิบัติ เพิ่มเติมที่ครอบคลุมเนื้อหาที่กล่าวมาแล้ว เมื่อพิจารณาว่าการเพิ่มข้อปฏิบั ติของประเด็นเหล่านี้ มีความสำคัญสำหรับการตรวจสอบหน่วยงานภาครัฐที่มีขนาดเล็ก การตรวจสอบรายงานการเงิน 3 ) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 200 ย่อหน้าที่ ก8 ได้ให้ตัวอย่างของรายงานการเงินและ องค์ ประกอบ ของรายงานการเงินที่สมบูรณ์ สำหรับตัวอย่างของรายงานการเงินที่สมบูรณ์ ของหน่วยงานภาครัฐ อาจจัดทำขึ้นตามหลักการบัญชีเกณฑ์คงค้างแบบผสม 1 หรือหลักการบัญชีเกณฑ์คงค้าง ซึ่งอาจ ประกอบด้วย • งบแสดงฐานะการเงิน หรือรายงานที่มีชื่อเรียกอย่างอื่นที่แสดงถึงฐานะการเงินของหน่วยงานภาครัฐ • งบแสดงผลการดาเนินงานทางการเงิน หรือรายงานที่มีชื่อเรียก อย่างอื่นที่แสดงถึงผลการดาเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐ • งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์สุทธิ/ส่วนของทุน หรือรายงานที่มีชื่อเรียกอย่างอื่นที่แสดงถึง การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของส่วนทุนในระหว่างงวดที่จัดทำรายงานการเงิน • งบกระแสเงินสด 1 เกณฑ์คงค้างแบบผสม ให้เป็นไปตำมที่กระทรวงการคลังกาหนด

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 6 1 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 200 เรื่อง วัตถุประสงค์โดยรวมของผู้ตรวจสอบและการปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี • รายงานเปรียบเทียบงบประมาณที่ได้รับอนุมัติจัดสรรและจานวนเงินที่ใช้จริง ซึ่งอาจจะแสดงเป็น รายงานแยกต่างหากหรือแสดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิน • หมายเหตุประกอบงบการเงิน ซึ่งประกอบด้วยสรุปนโยบายการบัญชีที่สาคัญ และข้อมูลที่ให้คำอธิบายอื่น 4 ) ในบางสภาพแวดล้อมซึ่งขึ้นอยู่กับแม่บทการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง องค์ ประกอบของรายงาน การเงินที่สมบูรณ์อาจรวมถึงรายงานอื่น เช่น รายงานผลการดำเนินงานและรายงานการจัดสรร งบประมาณ เป็นต้น 5 ) หน่วยงานภาครัฐบางแห่งไม่ได้จัดทารายงานการเงิน เนื่องจากวัตถุประ สงค์หลักของแม่บทการ รายงาน ทางการเงิน ของหน่วยงานภาครัฐ คือ การควบคุมกระบวนการงบประมาณและจัดทาข้อมูลทางการเงิน เฉพาะส่วนที่จาเป็นสาหรับการบรรลุวัตถุประสงค์นั้นอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น การรายงานข้อมูล ทางการเงินจึงไม่ใช่วัตถุประสงค์หลักตามแม่บทการรายงานทางการ เงินของหน่วยงานภาครัฐดังกล่าว มาตรฐานการสอบบัญชี ได้กำหนดให้ตรวจสอบข้อมูลทางการเงินในอดีตที่นำเสนอในรูปแบบของ รายงานการเงิน แต่อาจปรับใช้ตามความจำเป็นในการตรวจสอบข้อมูลทางการเงินในอดีตอื่น ด้วยเหตุผลนี้ การตรวจสอบการเงินตามมาตรฐานการสอบบัญชี อาจนำมาใช้ในกำรตรวจสอบข้อมูลทางการเงินในอดีต ที่ได้จัดทำโดยหน่วยงานภาครัฐ หากผู้ตรวจสอบสรุปว่าแม่บทการบัญชีให้เกณฑ์ที่เหมาะสม สำหรับเกณฑ์ ที่เหมาะสมเป็นเงื่อนไขเบื้องต้นสาหรับการตรวจสอบและได้ระบุไว้ในแนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงิน ภาครัฐ รหัส 210 เรื่อง ข้อตกลงในการรับงานสอบ บัญชี การสังเกตและสงสัยเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ 6 ) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 200 ย่อหน้าที่ 15 กาหนดให้ผู้ตรวจสอบต้องวางแผนและปฏิบัติงาน ตรวจสอบโดยใช้การสังเกตและสงสัยเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ โดยตระหนักว่าอาจมีสถานการณ์ที่ทาให้ รายงานการเงินแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้ อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญ หลักเกณฑ์มาตรฐานเกี่ยวกับ การตรวจเงินแผ่นดิน ภาค 2 มาตรฐานการตรวจเงินแผ่นดิน ด้านการตรวจสอบการเงิน ได้กล่าวถึง การสังเกตและสงสัยเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ โดยแนวคิดของการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ ได้เพิ่มและขยายแนวคิดของควา มระมัดระวังรอบคอบเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ และยังเป็นหลักการพื้นฐาน สำหรับการวางแผนและวัดผลการตรวจสอบอีกด้วย

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 7 2 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 210 เรื่อง ข้อตกลงในการรับงานสอบบัญชี 2 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 210 เรื่อง ข้อตกลงในการรับงานสอบบัญชี เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจำกมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 2 1 0 เรื่อง ข้อตกลงในการรับงาน สอบบัญชี สำหรับผู้ตรวจสอบในเรื่องดังต่อไปนี้ ( ก) คำจากัดความ ( ข) เงื่อนไขเบื้องต้นสาหรับการตรวจสอบ ( ค ) การเห็นชอบข้อตกลงในการรับงานสอบบัญชี ( ง) การตรวจสอบรายงานการเงินสำหรับปีถัดไปของหน่วยรับตรวจรายเดิ ม ( จ) การยอมรับการเปลี่ยนแปลงข้อตกลงในการรับงานสอบบัญชี คาจากัดความ 2) การกระทำความผิด เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมที่บกพร่องหรือไม่เหมาะสมเมื่อเปรียบเทียบกับพฤติกรรมของ วิญญูชนซึ่งใช้วิจารณญาณอย่างสมเหตุสมผลต่อสถานการณ์ในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ภาครัฐ ทั้ งนี้ รวมถึงการใช้อานาจหน้าที่หรือตำแหน่งในทางที่ผิด เพื่อผลประโยชน์ทางการเงินของตนเอง บุคคลใกล้ชิด บุคคลในครอบครัว หรือบุคคลที่เกี่ยวข้องทางธุรกิจ การกระทาความผิดอาจไม่จาเป็นต้องเกี่ยวข้องกับ การกระทำทุจริต การไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรั ฐมนตรี และแบบแผน การปฏิบัติราชการ หรือข้อกาหนดในสัญญาหรือข้อตกลงความช่วยเหลือ แต่การกระทาความผิดเป็น การปฏิบัติที่เบี่ยงเบนไปจากแนวคิดที่ถูกต้องซึ่งเกี่ยวกับหลักการทั่วไปของการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ และแนวทางการปฏิบัติตนของเจ้าหน้าที่ภาครัฐ เงื่อนไขเบื้ องต้นสำหรับการตรวจสอบ 3) ในการกาหนดว่ามีเงื่อนไขเบื้องต้นที่จาเป็นสาหรับการตรวจสอบหรือไม่ ตามที่ระบุในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 210 ย่อหน้าที่ 6( ก) ผู้ตรวจสอบควรพิจารณาว่า แม่บทการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องใน การจัดทารายงานการเงินนั้นสามารถยอมรับได้หรือไ ม่ เนื่องจากแม่บทการรายงานทางการเงินส่วนใหญ่ กำหนดโดยกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ ถ้าผู้ตรวจสอบ ไม่สามารถยอมรับแม่บทการรายงานทางการเงินดังกล่าว ผู้ตรวจสอบควรปฏิบัติตามข้อกาหนดของ มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 210 ย่อหน้าที่ 8 1 9 และ 20 และอาจพิจารณาเกี่ยวกับเรื่องดังต่อไปนี้ • การรายงานต่ อหน่วยงานที่ออกกฎหมาย • การกาหนดมาตรฐานโดยผู้เชี่ยวชาญ หรือหน่วยงานกำกับดูแล 4) เมื่อผู้ตรวจสอบได้รับคายืนยันในข้อตกลงจากผู้บริหาร หรือผู้มีหน้าที่ในการกากับดูแล (ในกรณีที่เหมาะสม) ว่าได้รับทราบแล ะเข้าใจในความรับผิดชอบของตนเองตามที่ระบุในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 210 ย่อหน้าที่ 6( ข) ผู้ตรวจสอบควรตระหนักว่าขอบเขตความรับผิดชอบของผู้บริหารและผู้มีหน้าที่ในการกากับ ดูแลในหน่วยงานภาครัฐอาจมีขอบเขตที่กว้างกว่าหน่วยงานภาคเอกชน เนื่องจากรูปแบบของ กฎหมาย โครงสร้ำงการบริหารและการกากับดูแลในภาครัฐอาจแตกต่างกันอย่างมาก ด้วยเหตุนี้จึงมีความจาเป็น ต้องกาหนดให้มีการรับทราบและเข้าใจถึงความรับผิดชอบดังกล่าวเป็นลายลักษณ์อักษร

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 8 2 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 210 เรื่อง ข้อตกลงในการรับงานสอบบัญชี การเห็นชอบข้อตกลงในการรับงานสอบบัญชี 5) โดยทั่วไปข้อตกลงในการรับงานสอบบัญชีของหน่วยงานภาครัฐจะกา หนดขึ้นตามหน้าที่และอานาจ ไม่ใช่ตามการร้องขอและความเห็นชอบของผู้บริหาร ดังนั้น ข้อกาหนดต่าง ๆ ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 210 ที่นามาปรับใช้ในการตรวจสอบหน่วยงานภาครัฐ จึงเป็นประโยชน์ต่อการสร้างความเข้าใจ เกี่ยวกับบทบาทและความรับผิดชอบของผู้บริหารและผู้ ตรวจสอ บ โดยต้องจัดทาเป็นลายลักษณ์อักษร เนื่องจากผู้ตรวจสอบมีหน้าที่ต้องรายงานต่อ หน่วยงานที่ออกกฎหมาย จึงต้องได้รับความเห็นชอบทั้งจาก หน่วยงานที่ออกกฎหมาย และผู้บริหารของหน่วยรับตรวจ 6) นอกจากตัวอย่างรูปแบบและเนื้อหาในหนังสือตอบรับงานสอบบัญชีตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหั ส 210 ย่ อหน้าที่ ก 24 ถึง ก 26 แล้ว สำหรับหน่วยงานภาครัฐ นอกจากรายงานของ ผู้สอบบัญชี ผู้ตรวจสอบจะต้องเสนอรายงานแยกต่างหาก เมื่อตรวจสอบพบประเด็นสาคัญในระหว่างการตรวจสอบ ซึ่งอาจมีผลเกี่ยวข้องกับหนังสือยืนยันการปฏิบัติงานสอบบัญชีหรือหนังสือตอบรับงานสอบบัญชี เช่ น ( ก) การดาเนินงานที่ไม่มีประสิทธิผล เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบของผู้บริหารในการดาเนินกิจกรรม ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ( ข) การไม่ปฏิบัติตามอานาจหน้าที่ เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบของผู้บริหารในการดาเนินกิจกรรม การใช้ทรัพยากร และการปฏิบัติตามภาระรับผิ ดชอบให้บรรลุผลตามอำนาจหน้าที่ ( ค) การควบคุมภายในที่ไม่มีประสิทธิผล เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบของผู้บริหารสาหรับการออกแบบ การนำไปปฏิบัติ และการดำเนินการเกี่ยวกับการควบคุมภายใน ( ง) ความเกี่ยวข้องทางกฎหมาย เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบของสำนักงานการตรวจเงินแผ่น ดิน ในบทบาทที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางกฎหมาย ( จ) การใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบของผู้บริหารในการได้มาและการใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรอย่างประหยัด และไม่ใช้จ่ายเงินของรัฐอย่างสิ้นเปลือง ( ฉ) การปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ เกี่ยวข้องกับความรั บผิดชอบของผู้บริหารที่ต้องประพฤติตนตาม มาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ภาครัฐให้เหมาะสมตามความคาดหวังของ หน่วยงาน ที่ออกกฎหมาย และสาธารณชน นอกจากนี้ ผู้ตรวจสอบควรอธิบายเกี่ยวกับการรักษาความเป็นอิสระของผู้ตรวจสอบไว้ในหนังสือยืนยั น การปฏิบัติงานสอบบัญชี หรือหนังสือตอบรับงานสอบบัญชี 7) การตรวจสอบการเงินตามหลักเกณฑ์มาตรฐานเกี่ยวกับการตรวจเงินแผ่นดินด้านการตรวจสอบการเงิน อาจไม่เพียงพอในการดาเนินการตรวจสอบตามที่อ้างถึงในย่อหน้าที่ 6 ข้างต้น ซึ่งการตรวจสอบการเงิน เป็นการ ตรวจสอบข้อมูลทางการเงินในอดีต ที่มีวัตถุ ประสงค์ในการตรวจสอบแตกต่างจากการตรวจสอบ การปฏิบัติตามกฎหมายหรือการตรวจสอบผลสัมฤทธิ์และประสิทธิภาพการดาเนินงาน อย่างไรก็ตาม ผู้ตรวจสอบอาจระบุข้อกาหนดดังกล่าวไว้ในหนังสือยืนยันการปฏิบัติงานสอบบัญชีหรือหนังสือตอบรั บ งาน สอบบัญชี 8) นอกเหนือจากประเด็นต่าง ๆ ที่ แสดงไว้ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 210 ย่อหน้าที่ ก 26 แล้ว ผู้ตรวจสอบอาจพิจารณาตามความเกี่ยวข้อง ซึ่งรวมถึงการจัดการใด ๆ ในการให้ผู้ ตรวจสอบ อื่น ช่วยปฏิบัติงานตรวจสอบ (ถ้ามี)

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 9 2 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 210 เรื่อง ข้อตกลงในการรับงานสอบบัญชี 9) ตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 210 ย่อหน้าที่ 7 ได้กล่าวถึงข้อจากัดต่อขอบเขตก่อน การรับงานสอบบัญชี สาหรับหน่วยงานภาครัฐ ผู้ตรวจสอบไม่สามารถปฏิเสธหรือถอนตัวจากการตรวจสอบ อย่างไรก็ตาม กรณีที่ผู้บริหารหรือ หน่วยงานที่ออกกฎหมาย กาหนดข้อจากัดต่อขอบเขตก่อนที่ จะยืนยันการปฏิบัติงาน สอบบัญชี ผลกระทบจากข้อจากัดดังกล่าวอาจส่งผลให้ผู้ตรวจสอบไม่แสดงค วามเห็น ต่อรายงานการเงิน ผู้ตรวจสอบควรพิจารณาสถานการณ์และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อการประเมินความเสี่ยง วิธีการตรวจสอบ และรายงานของผู้สอบบัญชี ในบางกรณีอาจจำเป็นต้องรายงานต่อ หน่วยงานที่ออกกฎหมาย แยกต่างหากด้วย 10) ตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 210 ย่อหน้าที่ 8 กล่าวถึงปัจจัยอื่น ที่กระทบต่อการรับงานสอบบัญชี ในสถานการณ์ซึ่งยังไม่มีการแสดงเงื่อนไขเบื้องต้นสาหรับการตรวจสอบ และผู้ตรวจสอบไม่สามารถปฏิเสธ งานตรวจสอบนั้น การดาเนินการอย่างเหมาะสมที่เพิ่มเติมจากข้อกาหนดตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 210 ย่อหน้าที่ 19 และ 20 อา จรวมถึงการรายงานต่อ หน่วยงานที่ออกกฎหมายด้วย 11) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 210 ย่อหน้าที่ ก 25 แนะนาสิ่งที่อาจ เป็นประโยชน์สำหรับผู้ ตรวจสอบ ที่จะกล่าวไว้ในข้อตกลงในการรับงานสอบบัญชีเกี่ยวกับความเป็นไปได้ ในการสื่อสารเรื่องสำคัญ ในการตรวจสอบในรายงานของ ผู้สอบบัญชี สำหรับหน่วยงานภาครัฐ ผู้ตรวจสอบอาจถูกกำหนด โดยกฎหมายหรือข้อบังคับให้ต้องสื่อสารเรื่องสาคัญในการตรวจสอบหรือตัดสินใจที่จะสื่อสารเรื่องสาคัญ ในการ ตรวจสอบกับบุคคลอื่น เช่น หน่วยงานที่ออ ก กฎหมาย หรือ หน่วยงานที่ เกี่ยวข้องตามที่กฎหมายกาหนด นอกเหนือจาก ผู้บริหารห รือผู้มีหน้าที่ในการกากับดูแล ดังนั้น ผู้ตรวจสอบควรระบุถึงการสื่อสารเรื่องสาคัญ ในการตรวจสอบไว้ในหนังสือยืนยันการปฏิบัติงานสอบบัญชีหรือหนังสือตอบรับงานสอบบัญชีด้วย การตรวจสอบรายงานการเงินสำหรับปีถัดไปของหน่วยรับตรวจรายเดิม 12) ตามที่กล่าวไว้ในมาตรฐานการส อบบัญชี รหัส 210 ย่อหน้าที่ 13 เมื่อผู้ตรวจสอบพิจารณาว่าข้อตกลง ทั้งหมดหรือบางส่วนในการยืนยันการปฏิบัติงานสอบบัญชีที่แจ้งต่อหน่วยรับตรวจยังคงเป็นไปตามหน้าที่ และอานาจตามกฎหมาย ผู้ตรวจสอบอาจไม่ต้องปรับปรุงข้อตกลงในการยืนยันการปฏิบัติงานสอบบัญชี การยอมรับการเ ปลี่ยนแปลงข้อตกลงในการรับงานสอบบัญชี 13) ตามที่กล่าวไว้ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 210 ย่อหน้าที่ 14 ถึง 17 เมื่อผู้ตรวจสอบพิจารณาว่า ข้อตกลงทั้งหมดหรือบางส่วนในการยืนยันการปฏิบัติงานสอบบัญชีที่แจ้งต่อหน่วยรับตรวจยังคงเป็นไป ตามหน้าที่และอานาจตามกฎหมาย ผู้ตรวจ สอบอาจไม่ต้องปรับปรุงข้อตกลงในการยืนยันการปฏิบัติงาน สอบบัญชี 14) ตัวอย่างหนังสือยืนยันการปฏิบัติงานสอบบัญชีในหน่วยงานภาครัฐ ตัวอย่างเนื้อหาในหนังสือยืนยันการปฏิบัติงานสอบบัญชีหรือหนังสือตอบรับงานสอบบัญชีสาหรับ หน่วยงานภาครัฐ เนื้อหาในส่วนนี้ให้ข้อมูลเพิ่ม เติมที่ควรระบุในหนังสือยืนยันการปฏิบัติงานสอบบัญชีหรือ หนังสือตอบรับงานสอบบัญชี สาหรับหน่วยงานภาครัฐ เพื่อการตรวจสอบรายงานการเงินสำหรับวัตถุประสงค์ ทั่วไป ซึ่งจัดทำขึ้นโดยสอดคล้องกับมาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ/มาตรฐานการบัญชี ที่รับรองทั่วไป ทั้งนี้ผู้ตรวจสอบอาจปรับเปลี่ยนเนื้อหาให้สอดคล้องกับข้อกาหนดและสถานการณ์ของงานสอ บ บัญชี ในหน่วยงานภาครัฐ

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 10 2 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 210 เรื่อง ข้อตกลงในการรับงานสอบบัญชี วัตถุประสงค์การตรวจสอบและขอบเขตการตรวจสอบ เป็นไปตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 210 เรื่อง ข้อตกลงในการรับงานสอบบัญชี ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี ระบุข้อค วามตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 210 เรื่อง ข้อตกลงในการรับงานสอบบัญชี และเพิ่มเติม ข้อความที่กล่าวถึงการปฏิบัติงานตรวจสอบเป็นไปตามหลักเกณฑ์มาตรฐานเกี่ยวกับการตรวจเงินแผ่นดินและ มาตรฐานการสอบบัญชี รวมทั้งข้อความที่กล่าวว่า ผู้ตรวจสอบต้องปฏิบัติตามข้อกาหนดด้านจร รยาบรรณ การตรวจสอบตามหลักเกณฑ์มาตรฐานเกี่ยวกับการตรวจเงินแผ่นดินและมาตรฐานการสอบบัญชี ( ผู้ตรวจสอบควรพิจารณากล่าวถึงข้อมูลความรับผิดชอบที่เกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์เพิ่มเติม เมื่อมี กรณีที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี) ซึ่งกล่าวถึงการที่ผู้ตรวจสอบอาจเสนอรายงานแยกต่างหาก จากรายงานของผู้สอบบัญชี เมื่อตรวจสอบพบประเด็นสำคัญ ตามแนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงิน ภาครัฐ รหัส 210 เรื่อง ข้อตกลงในการรับงาน สอบบัญชี ย่อหน้าที่ 6) การรายงาน เป็นไปตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 210 เรื่อง ข้อตกลงในการรับงานสอบบัญชี โดยกล่าวว่า รูปแบบและเนื้อหาข องรายงานของผู้สอบบัญชีอาจจำเป็นต้องปรับเปลี่ยน ซึ่งเป็นผลจากประเด็นจาก การตรวจสอบ และอาจพิจารณาเพิ่มการอ้างอิงที่เหมาะสมในรูปแบบและเนื้อหาของรายงานของผู้สอบบัญชี และ การรายงานเกี่ยวกับข้อมูลอื่น ตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 720 ( ปรับปรุง) เรื่อง ความรับผิดชอบข อง ผู้สอบบัญชีเกี่ยวกับข้อมูลอื่น ถ้าเกี่ยวข้อง ความเป็นอิสระ ระบุข้อความที่กล่าวถึงข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณซึ่งกาหนดให้ผู้ตรวจสอบคงไว้ซึ่งความเป็นอิสระ ต่อหน่วยรับตรวจ และยืนยันความเป็นอิสระเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่โดยปราศจากผลประโยชน์ใด ๆ ทั้งตามข้อเท็จจริง และเป็นที่ประจักษ์ ซึ่งอาจส่งผลต่อความซื่อตรง ความเป็นอิสระ เที่ยงธรรมและเป็นกลาง ความรับผิดชอบของผู้บริหาร หรือผู้มีหน้าที่ในการกากับดูแล และการระบุแม่บทการรายงานทางการเงิน ที่เกี่ยวข้อง เป็นไปตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 210 เรื่อง ข้อตกลงในการรับงานสอบบั ญชี ทั้งนี้ เมื่อมีกรณี ที่เกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์การตรวจสอบเพิ่มเติมให้กล่าวถึงความรับผิดชอบของผู้บริหารในเรื่องดังกล่าวด้วย หนังสือรับรองของผู้บริหาร เป็นไปตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 210 เรื่อง ข้อตกลงในการรับงานสอบบัญชี ย่อหน้าที่ ก13 และ ก24 ข้อมูลอื่น ที่เกี่ยวข้อง เป็นไปตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 210 เรื่อง ข้อตกลงในการรับงานสอบบัญชี และอาจเพิ่มเติม ข้อมูลที่เกี่ยวข้องอื่น เช่น • กำหนดเวลาการรายงานตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง • กรรมสิทธิ์ในกระดาษทำการ • ข้อตกลงทางสัญญากับผู้ตรวจสอบที่ปฏิบัติงานในฐานะขององค์กรตรวจส อบภาครัฐ

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 11 2 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 210 เรื่อง ข้อตกลงในการรับงานสอบบัญชี • ค่าธรรมเนียมการสอบบัญชี • ข้อมูลการติดต่อ เช่น รายชื่อผู้ประสานงาน หมายเลขโทรศัพท์ • เรื่องอื่น ๆ การรับทราบข้อตกลงในการรับงานสอบบัญชี เป็นไปตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 210 เรื่อง ข้อตกลงในการรับงานสอบบัญชี

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 12 3 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 220 เรื่อง การควบคุมคุณภาพการตรวจสอบรายงานการเงิน 3 แนวปฏิบัติการตรวจสอบกา รเงินภาครัฐ รหัส 220 เรื่อง การควบคุมคุณภาพการตรวจสอบรายงานการเงิน เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 2 2 0 เรื่อง การ ควบคุม คุณภาพ การตรวจสอบงบการเงิน สำหรับผู้ตรวจสอบในเรื่องดังต่อไปนี้ ( ก) ระบบการควบคุม คุณภาพและบทบาทของกลุ่มผู้ปฏิบัติงานตรวจสอบ ( ข) ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง ( ค) ข้อกาหนดสาหรับกิจการจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ระบบการควบคุมคุณภาพและบทบาทของกลุ่มผู้ปฏิบัติงานตรวจสอบ 2) ระบบการควบคุมคุณภาพตามหลักเกณฑ์มาตรฐานเกี่ยวกับการตรวจเงินแผ่นดิ นที่กำหนดโดย คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินมีองค์ประกอบดังนี้ ความรับผิดชอบของผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินต่อ คุณภาพงานของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ข้อกาหนดทางจริยธรรม การบริหารงานตรวจสอบและ งานอื่น ทรัพยากรบุคคล การปฏิบัติงานตรวจสอบ และการติดตามผล ทั้งนี้ ผู้ตรวจสอบ ต้องปฏิบัติตาม แนวปฏิบัติการควบคุมคุณภาพงานตรวจสอบการเงินที่สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินกาหนด หรือ มาตรฐาน ที่ สภาวิชาชีพบัญชีประกาศกาหน ดเกี่ยวกับคุณภาพการตรวจสอบ งบ การเงิน ข้อกำหนดด้านจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง 3) ผู้ตรวจสอบต้องปฏิบัติตามความเคร่งครัดในจริยธรรมแห่ง วิชาชีพในการตรวจเงินแผ่นดิน ที่ ค ณะกรรมการ ตรวจเงินแผ่นดินได้ประกาศในหลักเกณฑ์มาตรฐานเกี่ยวกับการตรวจเงินแผ่นดิน ภาค 1 มาตรฐาน การตรวจเงินแผ่นดินทั่วไป ข้อ 4 อันได้แก่ ความซื่อตรง ความเป็นอิสระ เที่ยงธรรมและเป็นกลาง ความรู้ ความสามารถ การปฏิบัติตนเยี่ยงผู้ประ กอบวิชาชีพ และความโปร่งใสและการรักษาความลับ และต้อง ปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน เรื่อง ข้อกำหนดทางจริยธรรมเจ้าหน้าที่และบุคลากรอื่น ของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ตลอดจนระเบียบ คาสั่งที่เกี่ยวข้อง รวมถึงต้องปฏิบัติตามข้อกาหนด จรรยาบรรณของผู้ประกอ บวิชาชีพบัญชีที่กาหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชี ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบ รายงานการเงิน ข้อกำหนดสำหรับกิจการจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ 4) มาตรฐานการสอบบัญชี มีข้อกาหนดโดยเฉพาะเกี่ยวกับการดาเนินการและการรายงาน สาหรับการตรวจสอบ กิจการจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ โดยทั่วไปกิจการจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ในภาครัฐ มีอยู่น้อยราย อย่างไรก็ตาม ในการให้คาจากัดความเกี่ยวกับกิจการจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ตามที่ มาตรฐานการสอบบัญชีกาหนด ผู้ตรวจสอบอาจสรุปว่า ได้ตรวจสอบกิจการจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เมื่อได้พิจารณาในส่วนของ กอง ทุ นและหนี้ ตามที่ได้กล่าวไว้ในแนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 701 เรื่อง การสื่อสารเรื่องสาคัญในการตรวจสอบใน รายงานของผู้สอบบัญชีหรือ รายงานของผู้สอบบัญชี รับอนุญาต สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินอาจกำหนดนโยบายหรือจัดทำแนวปฏิบัติเพิ่มเติมในการปรับใช้ ข้อกำหน ดผลการดำเนินงานและข้อกำหนดการรายงานของกิจการจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 13 4 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 230 เรื่อง เอกสารหลักฐานของงานตรวจสอบ 4 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 230 เรื่อง เอกสารหลักฐำน ของงานตรวจสอบ เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1) แนวปฏิบัติ นี้ ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 2 3 0 เรื่อง เอกสา รหลักฐานของ งานตรวจสอบ สำหรับผู้ตรวจสอบในเรื่องดังต่อไปนี้ ( ก) การรวบรวมแฟ้มงานตรวจสอบขั้นสุดท้าย ( ข) ประเด็นเกี่ยวกับการรักษาความลับและความโปร่งใส ( ค) ข้อพิจารณาโดยเฉพาะเกี่ยวกับเอกสารหลักฐานสาหรับผู้ตรวจสอบในบทบาทที่เกี่ยวข้องกับ กระบวนการทางกฎหมาย การรวบ รวมแฟ้มงานตรวจสอบขั้นสุดท้าย 2) ในหน่วยงานภาครัฐกระบวนการสรุปผลการตรวจสอบจนถึงวันที่ในรายงานของผู้ตรวจสอบอาจใช้ เวลานาน อย่างไรก็ตาม เรื่องดังกล่าวไม่อาจถือเป็นอุปสรรคในการรวบรวมแฟ้มงานตรวจสอบขั้นสุดท้าย อย่างทันท่วงที 3) ในหน่วยงานภาครัฐอาจมีข้อกาหนดให้จั ดเก็บเอกสารหลักฐานของงานตรวจสอบในระยะเวลาที่สั้น หรือนานกว่าข้อกาหนดสาหรับภาคเอกชน เนื่องจากมีเอกสารบางประเภทที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ เช่น ข้อกาหนดให้เก็บเอกสารไว้ในสถานที่เก็บเอกสารสาคัญของประเทศโดยไม่มีกาหนดเวลา รวมถึง ข้อกำหนดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการจัด ระดับชั้นความลับของเอกสารและวิธีการจัดเก็บเอกสาร ดังนั้น ผู้ตรวจสอบควรมีความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับที่ใช้เกี่ยวกับการเก็บรักษาและการจัดเก็บ เอกสารหลักฐาน ประเด็นเกี่ยวกับการรักษาความลับและความโปร่งใส 4) โดยหลักการความแตกต่างระหว่างภาคเอกชนแ ละภาครัฐ คือ ในภาครัฐอาจมีข้อกาหนดตามกฎหมาย โดยเฉพาะเกี่ยวกับการรักษาความลับ แต่ในขณะเดียวกันก็มีข้อกำหนดเกี่ยวกับการเข้าถึงข้อมูล โดยบุคคลภายนอก ดังนั้น หน่วยงานภาครัฐจึงต้องดารงไว้ซึ่งการรักษาความสมดุลระหว่างการรักษา ความลับกับความโปร่งใสและภาระรับผิดชอบ 5) ในการรักษาความสมดุลระหว่างการรักษาความลับและความโปร่งใส กาหนดให้ผู้ตรวจสอบใช้ดุลยพินิจ เยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ เพื่อให้มั่นใจว่าเอกสารหลักฐานที่มีลักษณะเป็นความลับได้มีการระบุไว้อย่างชัดเจน และมีการจัดการเช่นเดียวกับเอกสารลับ และในขณะเดียวกันเอกสารหลักฐาน ดังกล่าวมีการอนุญาตให้ เข้าถึงได้ตามความเหมาะสม ดังนั้น จึงเป็นสิ่งสาคัญที่ผู้ตรวจสอบต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบาย หลักเกณฑ์มาตรฐานเกี่ยวกับการตรวจเงินแผ่นดิน ระเบียบ ข้อบังคับ คาสั่ง และแนวทางเกี่ยวกับ การปฏิบัติงานที่คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินและผู้ว่ากา รตรวจเงินแผ่นดินกาหนดในการดาเนินการ เกี่ยวกับการรักษาความลับ ซึ่งอาจรวมถึงการพิจารณาประเภทของเอกสารหลักฐานงานตรวจสอบว่า เป็นเอกสารหลักฐานที่เป็นความลับ หรือจัดทาขึ้นสาหรับการเปิดเผยให้สาธารณชนทราบ การระบุไว้ อย่างชัดเจนถึงผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการอนุมัติให้ เปิดเผยเอกสารหลักฐานงานตรวจสอบ และขั้นตอน การดำเนินการเมื่อมีการร้องขอข้อมูลดังกล่าว

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 14 4 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 230 เรื่อง เอกสารหลักฐานของงานตรวจสอบ 6) ผู้ตรวจสอบต้องมีความรับผิดชอบเกี่ยวกับการรักษาความลับ ซึ่งเป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการตรวจเงิน แผ่นดิน รวมทั้งกฎหมายอื่นเกี่ยวกับการรักษาความลับของทางราชการหรือข้อมูลส่วนบุ คคล เช่น กฎหมายเกี่ยวกับการตรวจสอบหน่วยงานด้านความมั่นคง ด้านสาธารณสุข ด้านการให้บริการสังคมหรือ ด้านภาษีอากร ดังนั้น ผู้ตรวจสอบจึงต้องมีความเข้าใจและปฏิบัติตามข้อกาหนดของกฎหมายเกี่ยวกับ การรักษาความลับ 7) ผู้ตรวจสอบต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายที่ ให้สาธารณชนเข้าถึงจดหมายโต้ตอบเกี่ยวกับ งานตรวจสอบ เช่น เรื่องที่เผยแพร่ผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือช่องทางอื่น ซึ่งสาธารณชนสามารถ ตรวจสอบได้ ประเภทของจดหมายโต้ตอบนี้อาจหมายรวมถึงจดหมายที่ส่งถึงและรับจากหน่วยรับตรวจ หรือบุคคลอื่น ซึ่งเกี่ยวข้องกับการรวบรวม หลักฐานการสอบบัญชี การพิจารณาและการใช้ดุลยพินิจ เกี่ยวกับเรื่องที่ตรวจสอบ 8) ผู้ตรวจสอบต้องระมัดระวังอย่างยิ่งในกรณีมีบุคคลภายนอกร้องขอข้อมูลเกี่ยวกับเอกสารหลักฐาน งานตรวจสอบ เนื่องจากบุคคลภายนอกไม่สามารถได้รับข้อมูลโดยตรงจากหน่วยรับตรวจ 9) โดยหลักการข้อ มูลเรื่องใดที่หน่วยรับตรวจมีหน้าที่รวบรวมและเก็บรักษาตามกฎหมาย หากบุคคลภายนอก ร้องขอข้อมูลดังกล่าว ผู้ตรวจสอบต้องแจ้งให้ติดต่อกับหน่วยรับตรวจโดยตรง 10) ในสถานการณ์ที่ผู้ตรวจสอบพิจารณาให้บุคคลภายนอกเข้าถึงเอกสารหลักฐานงานตรวจสอบ โดยทั่วไป ก่อนการเปิดเผยข้อมู ล ผู้ตรวจสอบต้องติดต่อประสานงานกับหน่วยรับตรวจที่เกี่ยวข้องกับคาร้องขอข้อมูล ในกรณีนี้ผู้ตรวจสอบต้องมั่นใจได้ว่าผู้ที่ได้รับอนุญาตให้เข้าถึงข้อมูลต้องยึดมั่นในการรักษาระดับชั้นความลับ ในระดับเดียวกันกับผู้ตรวจสอบเป็นอย่างน้อย 11) ในบางสถานการณ์ที่มี ตรวจสอบ อื่นปฏิบัติงานตรวจสอบรายงานการเงินของหน่วยงานภาครัฐ สานักงาน การตรวจเงินแผ่นดินสามารถตรวจสอบเอกสารหลักฐานงานตรวจสอบของผู้ ตรวจสอบ อื่น นอกจากนี้ เอกสารหลักฐานงานตรวจสอบยังอาจได้รับการตรวจสอบโดยหน่วยงานอื่นซึ่งมีสิทธิตามกฎหมายใน การเข้าถึงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ หน้าที่ของผู้ตรวจสอบ ข้อพิจารณาโดยเฉพาะเกี่ยวกับเอกสารหลักฐานสาหรับผู้ตรวจสอบในบทบาทที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ ทางกฎหมาย 12) ในบางสภาพแวดล้อมของหน่วยงานภาครัฐ เช่น ในกระบวนการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวินัยการเงิน การคลังของรัฐ ผู้ตรวจสอบอาจต้องปฏิบัติตามกฎห มายของพยานหลักฐานที่กาหนดโดยกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการที่อาจส่งผลกระทบต่อข้อกาหนด เกี่ยวกับเอกสาร ผู้ตรวจสอบที่ปฏิบัติงานในสภาพแวดล้อมดังกล่าวต้องมีความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิ บัติราชการที่เกี่ยวข้อง รวมถึงนโยบายและ วิธีปฏิบัติที่อธิบายข้อกาหนดเพิ่มเติมเกี่ยวกับเอกสารหลักฐาน ผู้ตรวจสอบที่ปฏิบัติงานในสภาพแวดล้อม ดังกล่าวควรพิจารณาประเด็นเกี่ยวกับเอกสารหลักฐาน ดังนี้ • กฎหมายที่มีข้อกำหนดเพิ่มเติมเกี่ยวกับเอกสารหลักฐานงานตรวจสอบ • ข อบเขตของข้อกำหนดเกี่ยวกับเอกสารหลักฐาน (บังคับใช้กับเอกสารหลักฐานทุกฉบับจาก งานตรวจสอบที่ได้รับมอบหมายหรือไม่ หรือบังคับใช้เฉพาะกับเอกสารหลักฐานบางประเภทที่มี ความเกี่ยวข้องกับประเด็นการตรวจสอบบางประเด็น)

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 15 4 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 230 เรื่อง เอกสารหลักฐานของงานตรวจสอบ • กระบวนการ หลักการหรือข้อกำหนดเพิ่มเติม ที่เกี่ยวกั บเอกสารหลักฐานงานตรวจสอบ • วัตถุประสงค์ของข้อกำหนดเพิ่มเติมแต่ละข้อสอดคล้องกับหลักนิติธรรม • ข้อบกพร่องอื่นใดที่อาจเกิดกับเอกสารหลักฐานงานตรวจสอบ เนื่องจากวิธีการเฉพาะในการรวบรวม และ/หรือการจัดทำเอกสารหลักฐาน 13) สาหรับผู้ตรวจสอบในบทบาทที่เกี่ยวข้องกับกระบว นการทางกฎหมาย เช่น ด้านวินัยการเงินการคลังของรัฐ เอกสารหลักฐานถือเป็นส่วนหนึ่งของหลักการพื้นฐานในการพิจารณาคดี ในกรณีนี้ตามหลักนิติธรรมอาจ กำหนดข้อบังคับเป็นการเฉพาะและเข้มงวด ซึ่งจะต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดในการรักษาความลับของ เอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องกั บการพิจารณาคดี นอกจากนี้ คาวินิจฉัยอาจมีผลผูกพันทางกฎหมายที่มีผล ต่อ ความน่าเชื่อถือ ของ สาธารณชน จึงอาจมีข้อกาหนดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเก็บรักษาเอกสารหลักฐาน ที่ผู้ตรวจสอบต้องปฏิบัติตาม 14) ผู้ตรวจสอบที่ปฏิบัติหน้าที่ในสภาพแวดล้อมดังกล่าวควรมีความรู้เกี่ยวกั บกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการที่เกี่ยวข้อง และปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบ เกี่ยวกับพยานหลักฐานที่เข้มงวดกว่าการรวบรวมพยานหลักฐานในการตรวจสอบ โดยทั่วไปเมื่อตรวจสอบ พบการปฏิบัติที่ไม่เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะ รัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติ ราชการ หรือมีการกระทาผิด เพื่อให้เป็นไปตามข้อกาหนดที่เกี่ยวข้องในการรวบรวมพยานหลักฐาน ดังกล่าวประกอบการตัดสินคดี ผู้ตรวจสอบต้องรวบรวมหลักฐานที่เกี่ยวข้องส่งให้หน่วยงานภายใน สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินที่รับผิดชอบด้านวินัยการเงินกา รคลังของรัฐ และให้ความร่วมมือใน การดาเนินการ โดยทั่วไป ข้อตรวจพบดังกล่าวจะจัดทาเป็นรายงานการตรวจสอบแยกต่างหากจากรายงาน ของผู้สอบบัญชี และรายงานข้อเสนอแนะ

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 16 5 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 240 เรื่อง ความรับผิดชอบของผู้ ตรวจสอบ เกี่ย วกับการพิจารณาการทุจริตในการตรวจสอบ รายงาน การเงิน 5 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 240 เรื่อง ความรับผิดชอบของผู้ ตรวจสอบ เกี่ยวกับ การพิจารณาการทุจริต ในการตรวจสอบรายงานการเงิน เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 240 เรื่อง ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี เกี่ยวกับการพิจารณาการทุจริตในการตรวจสอบ งบ การเงิน สำหรับผู้ตรวจสอบในเรื่องดังต่อไปนี้ (ก) ลักษณะของการทุจริต (ข) การสังเกตและสงสัยเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ (ค) การปรึกษาหารือภายในกลุ่มผู้ปฏิบัติงานตรวจสอบ (ง) วิธีการประเมินความเสี่ยงและการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง (จ) การระบุและการประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาร ะสำคัญ ซึ่งเป็น ผลมาจากการทุจริต (ฉ) การตอบสนองต่อความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญ ซึ่งเป็น ผลมาจากการทุจริตที่ได้ประเมินไว้ (ช) ผู้ตรวจสอบไม่สามารถปฏิบัติงานต่อไปได้ (ซ) การติดต่อสื่อสารกับผู้บริหารและผู้มีหน้าที่ในการกำกับดู แล (ฌ) การติดต่อสื่อสารกับหน่วยงานกำกับดูแลและหน่วยงานที่บังคับใช้กฎหมาย ลักษณะของการทุจริต 2 ) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 240 ย่อหน้าที่ 2 และ 3 เกี่ยวข้องกับลักษณะของการทุจริต โดยมีเงื่อนไข สามประการ ถูกนาเสนอเมื่อมีการทุจริตเกิดขึ้น เงื่อนไขเหล่านี้มักจะ ถูกนาเสนอในหลากหลายแนวทาง ในหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งประกอบด้วย • แรงจูงใจหรือแรงกดดัน (เกิดจากหรือรับรู้โดยผู้บริหารหรือพนักงานที่เป็นเหตุให้เกิดการทุจริต) - เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐมักอยู่ภายใต้แรงกดดันที่ต้องให้บริการที่มีคุณภาพสูงโดยใช้ทรัพยากร เพียงเล็กน้อย ภายใต้งบประมาณที่ตั้งไว้ โดยเฉพาะในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจจะมีแรงกดดันให้คงอัตรา ค่าธรรมเนียมและอัตราภาษี ส่งผลให้เกิดแรงจูงใจในการแสดงรายได้เกินจริงและรายจ่ายที่ต่าเกินไป สิ่งเหล่านี้ก่อให้เกิดแรงจูงใจให้เกิดการใช้งบประมาณที่มีอยู่ให้หมดภายในสิ้นปีงบประมาณ • โอกาส (ลักษณะหรือสถานการณ์ที่เกิดจากหน่วยงานที่ส่งผลให้เกิดการกระทำทุจริต) - สภาพแวดล้อม ที่มีความยากในการสรรหาบุคลากรหรือการขาดบุคลากรที่มีคุณสมบัติเพียงพออาจพบได้มากใน หน่วยงานภาครัฐ สถานการณ์ดังกล่าวมักส่งผลให้เกิดความบกพร่องในการควบคุมภายในซึ่งทาให้เกิด โอกาสใ นการทุจริต การแบ่งแยกหน้าที่ที่ไม่เหมาะสมหรือการสมรู้ร่วมคิดกับบุคคลภายนอก สามารถสร้างโอกาสในการทุจริต โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้างในภาครัฐ การใช้ธุรกรรมเงินสดที่มีมูลค่าน้อยแต่เกิดขึ้นบ่อยครั้งในหน่วยงานภาครัฐ เช่น รายการที่ใ ช้เงินสดของ สถานีตารวจหรือสถานพยาบาลขนาดเล็กอาจทาให้เกิดความเสี่ยงเหล่านั้น แม้ว่ามูลค่าที่เป็นตัวเงิน อาจมีจานวนน้อย แต่สถานการณ์ดังกล่าวอาจนาไปสู่การทาลายความน่าเชื่อถือ ความคาดหวังและ ความรับผิดชอบต่อสาธารณชน และ

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 17 5 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 240 เรื่อง ความรับผิดชอบของผู้ ตรวจสอบ เกี่ย วกับการพิจารณาการทุจริตในการตรวจสอบ รายงาน การเงิน • การใช้เหตุผลหรือทัศนคติ (พฤติกรรม อุปนิสัย หรือค่านิยมทางจริยธรรมที่ทาให้บุคคลอ้างเหตุผลใน การทุจริต) - โดยทั่วไประดับเงินเดือนในหน่วยงานภาครัฐที่ต่ำกว่าเมื่อเทียบกับภาคเอกชนอาจเป็นเหตุ ให้เจ้าหน้าที่สามารถหาเหตุผลให้มีการใช้เงินในทางที่ผิด ดังที่กล่าวข้างต้น การกระทานี้อาจนาไปสู่ การละเมิดความน่าเชื่ อถือ ความคาดหวังและความรับผิดชอบต่อสาธารณชน การสังเกตและสงสัยเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ 3 ) ความรับผิดชอบของผู้ตรวจสอบในการดารงไว้ซึ่งทัศนคติเกี่ยวกับการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ ตลอดการปฏิบัติงานตรวจสอบ ตามที่กาหนดไว้ในหลักเกณฑ์มาตรฐานเกี่ยวกับการต รวจเงินแผ่นดิน ภาค 2 มาตรฐานการตรวจเงินแผ่นดินด้านการตรวจสอบการเงิน และมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 200 เรื่อง วัตถุประสงค์โดยรวมของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตและการปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี 4 ) ในหน่วยงานภาครัฐนั้น ข้อจากัดในการดารงไว้ซึ่งทัศนคติเกี่ยวกั บการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผู้ประกอบ วิชาชีพตลอดการปฏิบัติงานตรวจสอบ ตามที่กล่าวไว้ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 240 ย่อหน้าที่ 13 ถึง 15 อาจเกิดขึ้นและรวมถึงสิ่งต่อไปนี้ • ลักษณะความสัมพันธ์ส่วนบุคคล หรือความสัมพันธ์ในลักษณะของผู้ประกอบวิชาชีพ ที่เป็นผลจาก กระบวนการ หรือสภาพแวดล้อมทางการเมือง • การผูกขาดด้วยหน้าที่และอานาจตามกฎหมายในการตรวจสอบขององค์กรตรวจสอบหน่วยงานภาครัฐ ทำให้ปราศจากการแข่งขัน • ในบางสภาพแวดล้อมไม่มีการหมุนเวียนผู้ตรวจสอบอย่างสม่ำเสมอ 5 ) ดังนั้น ผู้ตรวจสอบต้องมีการดาเนินการที่เหมาะสมในการลดข้อจากัดดังก ล่าว ซึ่งการดาเนินการอาจ รวมถึงการให้คำแนะนำมาตรการป้องกันตามที่ระบุไว้ในแนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 220 เรื่อง การควบคุมคุณภาพการตรวจสอบ รายงาน การเงิน การปรึกษาหารือภายในกลุ่มผู้ปฏิบัติงานตรวจสอบ 6 ) ในหน่วยงานภาครัฐ การปรึกษาหารืออาจครอบคลุมถึง วัตถุประสงค์เพิ่มเติมและเกี่ยวข้องกับความเสี่ยง จากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญ ผู้ตรวจสอบอาจร่วมปรึกษาหารือกับผู้ตรวจสอบ ที่ปฏิบัติงานตรวจสอบอื่นของหน่วยรับตรวจด้วย วิธีการประเมินความเสี่ยงและการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง 7 ) เมื่อพิจารณา ข้อกาหนดในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 240 ย่อหน้าที่ 18(ค) ผู้ตรวจสอบต้องสอบถาม เกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารของผู้บริหารกับหน่วยงาน ภาค รัฐหน่วยอื่น ๆ ตามความเหมาะสม 8 ) เมื่อพิจารณาข้อกาหนดในการสอบถามผู้มีหน้าที่ในการกากับดูแลตามที่กล่าวในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 24 0 ย่อหน้าที่ 21 ผู้ตรวจสอบอาจรวมถึงการสอบถามไปยังผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแล เช่น รัฐมนตรี หรือ คณะกรรมการที่มีหน้าที่และอานาจตามกฎหมายในการกำกับดูแล

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 18 5 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 240 เรื่อง ความรับผิดชอบของผู้ ตรวจสอบ เกี่ย วกับการพิจารณาการทุจริตในการตรวจสอบ รายงาน การเงิน 9 ) ตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 240 ย่อหน้าที่ 23 ผู้ตรวจสอบต้องประเมินความสัมพันธ์ที่ผิดปกติ หรือไม่ได้คา ดหมายที่ระบุได้ในระหว่างการปฏิบัติงานวิเคราะห์เปรียบเทียบ รวมถึงรายการต่าง ๆ ที่มี ความสัมพันธ์กับบัญชีรายได้ซึ่งอาจแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญซึ่งเป็นผลมาจาก การทุจริต นอกจากบัญชีรายได้ของหน่วยงานภาครัฐ อาจมีส่วนอื่นที่มีนัยสำคัญที่ต้องนำ มาใช้ ในการปฏิบัติงานวิเคราะห์เปรียบเทียบ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับลักษณะการดาเนินงานของหน่วยรับตรวจ เช่น ในหน่วยงานภาครัฐหลายแห่ง การตรวจสอบโดยใช้การเปรียบเทียบความสัมพันธ์ของการจัดซื้อจัดจ้าง และการรับเงินช่วยเหลือ อาจมีความเกี่ยวข้องกันมากกว่าการเปรียบเทียบจำกบัญชีรายได้ ดังนั้น การวิเคราะห์เปรียบเทียบผู้ตรวจสอบต้องตระหนักถึงความท้าทายในลักษณะเฉพาะของแต่ละเกณฑ์ ในการจัดทาบัญชี เมื่อมีการนามาใช้ และความเป็นไปได้ที่จะมีการตกแต่งตัวเลขในข้อมูลทางการเงิน ซึ่งอาจจำกัดคุณประโยชน์ที่ได้จากการวิเคราะห์เปรียบเทียบ กำรระบุและการประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญ ซึ่งเป็นผลมาจาก การทุจริต 10 ) โดยทั่วไปการรับรู้รายได้ในหน่วยงานภาครัฐ อาจไม่ได้เป็นส่วนที่เกี่ยวข้องทั้งหมดของข้อสันนิษฐานว่า มีความเสี่ยงจากการทุจริต ตามที่กาหนดในมาตรฐานกา รสอบบัญชี รหัส 240 ย่อหน้าที่ 27 การรับรู้ รายได้อาจมีความเกี่ยวข้องอย่างมากสำหรับหน่วยงานที่มีหน้าที่ในการจัดเก็บภาษี หรือ หน่วยงานอื่นที่มี หน้าที่ในการจัดเก็บรายได้ เช่น มหาวิทยาลัยและวิทยาลัยของรัฐ โรงพยาบาล หรือหน่วยงานอื่น ที่จัดเก็บ ค่าธรรมเนียมในการให้ บริการ หรือหน่วยงานที่ได้รับเงินบริจาค อย่างไรก็ตาม ในหน่วยงานภาครัฐ หลายหน่วยงานมุ่งเน้นเรื่องการใช้จ่ายเงิน การจัดซื้อจัดจ้าง และการใช้จ่ายเงินช่วยเหลือ ดังนั้น นอกจาก การพิจารณาการรับรู้รายได้แล้ว ผู้ตรวจสอบอาจพิจารณาในส่วนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเมื่อจะตั้ งข้อสันนิษฐาน เกี่ยวกับความเสี่ยงจากการทุจริต การตอบสนองต่อความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญซึ่งเป็นผลมาจาก การทุจริตที่ได้ประเมินไว้ 11 ) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 240 ย่อหน้าที่ 33(ค) เกี่ยวกับรายการที่สำคัญ ซึ่งไม่เป็นไปตามปกติ ของการดาเนินงานและกิจกรรมต่าง ๆ ของหน่วยรับตรวจ ตัวอย่างของรายการดังกล่าวในหน่วยงานภาครัฐ อาจรวมถึง • ค่าใช้จ่ายในกรณีฉุกเฉินด้านสุขภาพ • ค่าใช้จ่ายสาหรับภัยธรรมชาติ • สิ่งจูงใจเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ • ภาระผูกพันจากสัญญากับสหภาพแรงงาน • การซื้อหรือขายอสังหาริมทรัพย์ • กำรแลกเปลี่ยนที่ดิน • การยินยอมให้มีสิทธิใช้ทรัพย์สินของรัฐ • โครงการลงทุนขนาดใหญ่ (เช่น โครงสร้างพื้นฐาน หรือระบบสารสนเทศ) • การร่วมลงทุนกับภาคเอกชน • การแปรรูปหน่วยงานภาครัฐ

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 19 5 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 240 เรื่อง ความรับผิดชอบของผู้ ตรวจสอบ เกี่ย วกับการพิจารณาการทุจริตในการตรวจสอบ รายงาน การเงิน • การชำระหนี้ก่อนถึงกาหนดชาระ • การค้าประกันหรือให้ความเชื่อมั่นเพื่อช่วยเหลือภาคเอกชนที่มีปั ญหาด้านการเงิน ผู้ตรวจสอบไม่สามารถปฏิบัติงานต่อไปได้ 12 ) โดยทั่วไปในการตรวจสอบหน่วยงานภาครัฐ ผู้ตรวจสอบไม่สามารถถอนตัวจากการปฏิบัติงานตรวจสอบได้ ต่างจากที่กล่าวไว้ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 240 ย่อหน้าที่ 39(ข) และ(ค) ดังนั้น ผู้ตรวจสอบต้อง พิจารณาผลกระทบจำกการแสดงความเห็น และข้อกำหนดที่ให้รายงานในรูปแบบอื่น ๆ รวมทั้ง ความเหมาะสมในการรายงานเป็นกรณีเฉพาะ ไปยัง หน่วยงานที่ออกกฎหมาย และ/หรือการจัดทำรายงาน ที่มีชั้นความลับ การติดต่อสื่อสารกับผู้บริหารและผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแล 13 ) ผู้ตรวจสอบต้องติดต่อสื่อสารเ รื่องสาคัญ ตามที่ระบุไว้ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 240 ย่อหน้าที่ 41 กับหน่วยงานอื่น ๆ นอกเหนือจากฝ่ายบริหารและผู้มีหน้าที่ในการกากับดูแล อาทิ หน่วยงานที่ออกกฎหมาย การติดต่อสื่อสารกับหน่วยงานกำกับดูแลและหน่วยงานที่บังคับใช้กฎหมาย 14 ) การรายงานกรณีข้อบกพร่อง ที่ตรวจพบมีลักษณะเป็นการทุจริตในหน่วยงานภาครัฐ อาจระบุไว้เป็น การเฉพาะ ตามหน้าที่ และอานาจในการตรว จเงินแผ่นดิน ที่กฎหมายกาหนด ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐาน การสอบบัญชี รหัส 240 ย่อหน้าที่ 44 ที่กล่าวถึงการติดต่อสื่อสารกับหน่วยงานภายนอก ซึ่งอาจรวมถึง หน่วยงานกากับดูแล และหน่วยงานที่บังคับใช้กฎหมาย ผู้ตรวจสอบต้องระมัดระวังไม่เข้าไปก้าวก่ายกับ กระบวนการสอบสวนและกระบวนการทางกฎหมาย ผู้ตรวจสอบต้องทาความเข้าใจกฎหมายระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการที่บังคับใช้ในปัจจุบัน ซึ่งเกี่ยวข้องกับ การรายงาน การ ติดต่อสื่อสาร และการจัดทาเอกสารที่ระบุถึงข้อบ่งชี้หรือข้อสงสัยว่าจะเกิดการทุจริต นอกจากนี้ ผู้ตรวจสอบต้องพิจารณาถึงความจาเป็นที่ต้องขอคาปรึกษาด้านกฎหมายในประเด็นเกี่ยวกับ ข้อบ่งชี้การทุจริต

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 20 6 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 250 (ปรับปรุง) เรื่อง การพิจารณากฎหมายและข้อบังคับในการตรวจสอบในรายงานการเงิน 6 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 250 ( ปรับปรุง) เรื่ อง การพิจารณากฎหมายและข้อบังคับในการตรวจสอบรายงานการเงิน เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 2 5 0 (ปรับปรุง) เรื่อง การพิจารณา กฎหมายและข้อบังคับในการตรวจสอบ งบ การเงิน สำหรับผู้ตรวจสอบในเรื่องดังต่อไปนี้ (ก) ข้อพิจารณาโดยรวม (ข) การพิจารณาของผู้ตรวจสอบเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ (ค) การรายงานการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายหรือข้อสงสัยว่ามีการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อพิจารณาโดยรวม 2 ) ในหน่วยงานภาครัฐ การพิจารณา การปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และ แบบแผนการปฏิบัติราชการ โดยทั่วไปมีขอบเขตกว้างกว่าข้อกำหนดในมาตรฐานการสอบบัญชี (มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 800 - 899) ขอบเขตที่กว้างกว่านั้น อาจรวมถึงความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้น ในการรายงานผลการตรวจสอบการปฏิ บัติตามกฎหมายตามหลักเกณฑ์มาตรฐานเกี่ยวกับการตรวจเงิน แผ่นดิน ภาค 3 มาตรฐานเกี่ยวกับการตรวจเงินแผ่นดินด้านการตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมาย 3 ) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 250 (ปรับปรุง ) ย่อหน้าที่ 2 ได้กล่าวถึงกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิ บัติราชการ ที่มีผลกระทบต่อรายงานการเงินหลายด้านที่สาคัญ ในหน่วยงานภาครัฐอาจมีกฎหมายและระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติ ราชการ เช่น กฎหมายเฉพาะสาหรับวิธีการใช้จ่ายเงินสนับสนุนและเงินอุดหนุนที่ได้รับจากหน่วยงาน อื่น ที่มีผลกระทบโดยตรงต่อรำยงานการเงิน โดยทั่วไปแม่บทการรายงานทางการเงินอาจรวมถึงข้อมูล เช่น รายงานงบประมาณ รายงานการจัดสรรงบประมาณหรือรายงานผลการดาเนินงาน ในกรณีที่แม่บท การรายงานทางการเงินได้รวมข้อมูลดังกล่าวไว้ ผู้ตรวจสอบอาจจาเป็นต้องพิจารณากฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ ที่บัญญัติไว้เป็นการเฉพาะนั้น ซึ่งอาจส่งผล กระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อรายงานการเงิน การพิจารณาของผู้ตรวจสอบเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และ แบบแผนการปฏิบัติราชการ 4 ) เมื่อพิจารณาข้อกาหนดตามมาตรฐา นการสอบบัญชี รหัส 250 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ 15 ผู้ตรวจสอบ อาจนาข้อตรวจพบที่เกี่ยวข้องกับการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และ แบบแผนการปฏิบัติราชการ จากการตรวจสอบลักษณะอื่นที่ดาเนินการโดยผู้ตรวจสอบของสานักงาน การตรวจเงินแผ่นดินมาใช้ประ กอบการพิจารณาร่วมด้วย เช่น การตรวจสอบผลสัมฤทธิ์และประสิทธิภาพ การดาเนินงานหรือการสอบทานตามอานาจหน้าที่ในผลการดาเนินงานทางการเงิน เมื่อผู้ตรวจสอบ มีหน้าที่และอานาจตามกฎหมายและมีความสามารถดังกล่าว

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 21 6 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 250 (ปรับปรุง) เรื่อง การพิจารณากฎหมายและข้อบังคับในการตรวจสอบในรายงานการเงิน การรายงานการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายหรือข้อสงสัยว่ามีการไม่ปฏิบัติ ตามกฎหมาย 5 ) ผู้ตรวจสอบต้องสื่อสารถึงกรณีที่พบการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และ แบบแผนการปฏิบัติราชการ แม้กรณีที่มิใช่สาระสำคัญ ผู้ตรวจสอบสามารถให้คำแนะนาหรือข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับวิธีการแก้ไขปัญหาแก่หน่วยรับตรวจในกรณีของการไม่ปฏิบั ติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ ตามหน้าที่และอำนาจในการตรวจ เงินแผ่นดิน โดยเฉพาะเมื่อมีประเด็นที่ต้องมีการตีความตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผน การปฏิบัติราชการ ผู้ตรวจสอบควรพิจารณาว่าการใช้อานาจห น้าที่ดังกล่าวได้ลดทอนความเป็นอิสระหรือไม่ หากใช่ ให้ผู้ตรวจสอบกระทำการที่เหมาะสมเพื่อหลีกเลี่ยงการลดทอนความเป็นอิสระนั้น 6 ) ในการพิจารณาข้อกาหนดตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 250 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ 29 ผู้ตรวจสอบ อาจพิจารณาว่าความรับผิดชอบนั้น รวมถึงการรายงำนที่แยกต่างหากให้ หน่วยงานที่ออกกฎหมาย และ/ หรือหน่วยงานอื่นที่มีหน้าที่และอานาจ เช่น สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต แห่งชาติ สานักงานอัยการสูงสุด สานักงานตารวจแห่งชาติ และหน่วยงานภายนอกอื่นที่ได้รับผลกระทบ (หากเกี่ยวข้องตามกฎหมาย)

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 22 7 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 26 0 ( ปรับปรุง) เรื่อง การสื่อสารกับผู้มีหน้ำที่ ในการ กากับดูแล 7 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 260 ( ปรับปรุง) เรื่อง การสื่อสารกับผู้มีหน้าที่ในการกากับดูแล เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 2 6 0 (ปรับปรุง) เรื่อง การสื่อสารกับ ผู้มีหน้าที่ในการกำกั บดูแล สำหรับผู้ตรวจสอบในเรื่องดังต่อไปนี้ (ก) ผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแล (ข) เรื่องที่ต้องสื่อสาร (ค) กระบวนการสื่อสาร ผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแล 2 ) ในภาครัฐ ความรับผิดชอบในการกากับดูแลอาจมีอยู่ในโครงสร้างองค์กรตามสายการบังคับบัญชาและ ตามภารกิจที่ได้รับ มอบหมาย ดังนั้นอาจมีการกาหนดผู้มีหน้าที่ในการกากับดูแลที่แตกต่างหลากหลาย นอกจากนี้ การตรวจสอบในภาครัฐอาจเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์การตรวจสอบการเงินและวัตถุประสงค์ การตรวจสอบลักษณะอื่น และในกรณีดังกล่าวอาจมีหน่วยงานกำกับดูแลที่แยกต่างหาก 3 ) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 260 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ 12 ระบุว่า หากผู้ตรวจสอบทำการสื่อสารประเด็น ต่าง ๆ กับกลุ่มย่อยของผู้มีหน้าที่ในการกากับดูแล ผู้ตรวจสอบอาจจาเป็นต้องสื่อสารประเด็นเหล่านั้น ทั้งหมดหรือเป็นบทสรุปแก่คณะกรรมการกำกับดูแล ซึ่งเรื่องดังกล่าวเป็นเรื่องปกติสำหรับภาค รัฐ ที่ผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแลเป็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการของหน่วยงาน ผู้ตรวจสอบ จึงจาเป็นต้องระมัดระวังอย่างยิ่งที่จะต้องปฏิบัติงานให้เป็นไปตามความต้องการและความคาดหวังของ หน่วยงานที่ออกกฎหมาย หรือหน่วยงานควบคุมกากับที่เหมาะสมเกี่ยวกับเรื่อง ที่ได้สื่อสารไปยังผู้มีหน้าที่ ในการกากับดูแลในระดับอื่น ๆ แล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องที่อยู่ในความสนใจและการคาดการณ์ของ สาธารณชน เรื่องที่ต้องสื่อสาร 4 ) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 260 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ 15 ระบุว่า ผู้ตรวจสอบต้องทาการสื่อสารกับ ผู้มีหน้าที่ ในการกำกับดูแลถึงภาพรวมของขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจสอบที่ได้วางแผนไว้ ในภาครัฐ การสื่อสารเรื่องดังกล่าวอาจทาให้สาเร็จได้หลายวิธี เช่น การสื่อสารในเรื่องขอบเขตและ ช่วงเวลาของการตรวจสอบอาจมีการกาหนดไว้ในหน้าที่และอานาจในการ ตรวจเงินแผ่นดิน หรือใน กฎหมายที่เกี่ ยวข้อง หรือในหนังสือยืนยันการปฏิบัติงานสอบบัญชี 5 ) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 260 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ ก11(ข) ระบุว่า การสื่อสารเกี่ยวกับขอบเขต และช่วงเวลาของการตรวจสอบนั้นอาจจะช่วยให้ผู้ตรวจสอบทาความเข้าใจ หน่วยงาน และสภาพแวดล้อม ของ หน่วยงาน ได้ดียิ่งขึ้น ผู้ ตรวจสอบอาจได้รับประโยชน์จากการสื่อสารเพื่อทาความเข้าใจว่าข้อมูล ทางการเงินใดบ้างที่ควรแสดงในรายงานการเงินของหน่วยงาน และใช้การตอบรับจากหน่วยงาน เพื่อยืนยันความเข้าใจ เช่น อาจเป็นการยากที่จะพิจารณาว่าการร่วมค้า (รวมถึงการร่วมทุนระหว่าง ภาครัฐกับเอกชน) ควรแ สดงอยู่ในรายงานการเงินรวมของหน่วยงาน หรือไม่

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 23 7 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 26 0 ( ปรับปรุง) เรื่อง การสื่อสารกับผู้มีหน้ำที่ ในการ กากับดูแล 6 ) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 260 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ 16 ระบุเรื่องที่สาคัญที่พบจากการตรวจสอบ ซึ่งผู้ตรวจสอบต้องสื่อสารกับผู้มีหน้าที่ในการกากับดูแล ตามหน้าที่และอานาจในการตรวจเงินแผ่นดิน ในกรณีนี้ ผู้ตรวจสอ บอาจได้รับข้อมูลจากหน่วยงานอื่นหรือจากการตรวจสอบ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวเกี่ยวข้อง กับผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแล เช่น มีรายการผิดพลาดที่เป็นสาระสำคัญของหน่วยรับตรวจ ซึ่งมีผลกระทบ กับหน่วยงานอื่น หรือการออกแบบการควบคุมที่เกี่ยวข้องซึ่งส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพเพิ่มขึ้ นในหน่วยงานอื่น การสื่อสารข้อมูลในลักษณะนี้ไปยังผู้มีหน้าที่ในการกากับดูแลอาจทาให้งานตรวจสอบมีคุณค่าเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม อาจมีกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ หรือ ข้อกำหนดทางจริยธรรมห้ามไม่ให้มีการสื่อสารลักษณะดังกล่าว 7 ) ความเป็นอิสระ เที่ยงธรรมและเป็นกลางเป็นสิ่งสาคัญในการปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบ (ก) เพื่อดูแล ให้ภาครัฐดาเนินการตามภาระรับผิดชอบที่มีต่อฝ่าย หน่วยงานที่ออกกฎหมาย และสาธารณชน และ (ข) เพื่อชี้ให้เห็นภัยคุกคามต่อการใช้จ่ายเงินของภาครัฐอย่างถูกต้อง เช่น การคอรั ปชั่ นและการละเมิด ข้อกำหนดที่เกี่ยวกับกิจการจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ซึ่งปรากฏตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 260 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ 17 ให้สื่อสารการปฏิบัติตามข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณที่เกี่ยวกับ ความเป็นอิสระ ซึ่งอาจนาไปปรับใช้กับการตรวจสอบภาครัฐ ในกรณีที่กา รรายงานเป็นประเด็นที่อยู่ใน ความสนใจของสาธารณชน ประเด็นต่าง ๆ ในข้อกำหนดทางจริยธรรมของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เช่น ความเป็นกลางทางการเมืองอาจเป็นส่วนสาคัญในบริบทของภาครัฐด้วย กระบวนการสื่อสาร 8 ) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 260 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ 22 ระบุว่ำ ผู้ตรวจสอบต้องประเมินว่าการสื่อสาร แบบสองทางระหว่างผู้ตรวจสอบและผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแลนั้นเพียงพอตามวัตถุประสงค์ของ การตรวจสอบหรือไม่ หากการสื่อสารแบบสองทางไม่เพียงพอ ผู้ตรวจสอบต้องดาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่เหมาะสม เช่น สื่อสารไปยัง หน่วยงานที่ออก กฎหมาย หรือ หน่วยงานกากับดูแลที่เหมาะสม หน่วยงาน ที่ให้เงินอุดหนุน หรือหน่วยงานที่ให้เงินหรือทรัพย์สินลงทุน

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 24 8 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 26 5 เรื่อง การสื่อสารข้อบกพร่องของการควบคุมภายในไปยังผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแลและ ผู้บริหารของหน่วยงาน 8 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 265 เรื่อง การสื่อสา ร ข้อบกพร่องของการควบคุมภายในไปยังผู้มีหน้าที่ ในการกากับดูแลและผู้บริหารของ หน่ วยงาน เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 26 5 เรื่อง การสื่อสารข้อบกพร่อง ของการควบคุมภายในไปยังผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแลและผู้บริหารของกิจการ สำหรับผู้ตรวจสอบในเรื่อง ดังต่อไปนี้ (ก) การระบุผู้มีหน้าที่ ในการกำกับดูแลของภาครัฐ (ข) การพิจารณาว่าข้อบกพร่องของการควบคุมภายในได้ระบุไว้แล้วหรือไม่ การระบุผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแลของภาครัฐ 2 ) ในการพิจารณาข้อกาหนดตามที่ระบุไว้ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 265 ย่อหน้าที่ 9 ผู้ตรวจสอบ ต้อง พิจารณาว่าการระบุผู้มีหน้าที่ ในการกำกับดูแลของภาครัฐอาจซับซ้อนกว่าภาคเอกชน ซึ่งแนวปฏิบัติ การตรวจสอบการเงินภาครัฐ เรื่อง การสื่อสารกับผู้มีหน้าที่ในการกากับดูแล ได้ให้ข้อปฏิบัติสำหรับ ผู้ตรวจสอบเกี่ยวกับการระบุผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแลของภาครัฐ การพิจารณาว่าข้อบกพร่องของการควบคุมภาย ในได้ระบุไว้แล้วหรือไม่ 3 ) การพิจารณาว่าได้มีการระบุถึงข้อบกพร่องของการควบคุมภายในแล้วหรือไม่ ผู้ตรวจสอบอาจจาเป็น ต้องระบุกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ ที่เกี่ยวข้องกับ การควบคุมภายในของหน่วยงานภาครัฐ

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 25 9 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 300 เรื่อง การวางแผนการตรวจสอบรายงานการเงิน 9 แนวปฏิบั ติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 300 เรื่อง การวางแผนการตรวจสอบ รายงาน การเงิน เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 300 เรื่อง การวางแผนการตรวจสอบ งบ การเงิน สำหรับผู้ตรวจสอบในเรื่องดังต่อไปนี้ ( ก) บทบาทและช่ วงเวลาของการวางแผนงาน ( ข) กิจกรรมเบื้องต้นของการสอบบัญชี ( ค) กิจกรรมการวางแผนงาน ( ง) ข้อพิจารณาโดยเฉพาะสำหรับ หน่วยงาน ขนาดเล็ก ( จ) ข้อพิจารณาเพิ่มเติมในการรับงานสอบบัญชีครั้งแรก ( ฉ) ข้อพิจารณาโดยเฉพาะสำหรับผู้ตรวจสอบในบทบาทที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางก ฎหมาย บทบาทและช่วงเวลาของการวางแผนงาน 2) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 300 ย่อหน้าที่ 2 ได้กล่าวถึงประโยชน์ของการวางแผนงานตรวจสอบที่เพียงพอ โดยการนำไปปฏิบัติและคำอธิบายอื่นที่ได้กล่าวไว้ในย่อหน้าที่ ก 1 ถึง ก 3 ของมาตรฐานฉบับดังกล่าว ได้ให้ข้อปฏิบัติในการกำหนดบทบา ทและช่วงเวลาของการวางแผนงาน ในสภาพแวดล้อมของภาครัฐ ข้อพิจารณาในการวางแผนงานเพิ่มเติมอาจรวมถึง • การทาความเข้าใจกรอบของกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติ ราชการ ที่เกี่ยวข้องกับหน่วยรับตรวจ เนื่องจากวัตถุประสงค์การตรวจสอบที่กว้างขึ้น • กำรนาความรู้ที่ได้รับจากกิจกรรมการตรวจสอบอื่นที่เกี่ยวข้องกับหน่วยรับตรวจและข้อเสนอแนะ จากการตรวจสอบงวดก่อนมาปรับใช้ในการตรวจสอบรายงานการเงิน • การนำความรู้ที่ได้รับจากกิจกรรมการวางแผนการตรวจสอบอื่นของหน่วยงานและกระทรวง ที่เกี่ยวข้องมาปรับใช้ในการตรวจสอบรายงา นการเงิน • ความคาดหวังของ หน่วยงานที่ออกกฎหมาย และผู้ใช้รายงานของผู้สอบบัญชี 3) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 300 ย่อหน้าที่ ก 3 กล่าวว่า ผู้ตรวจสอบอาจปรึกษาหารือกับผู้บริหารของ หน่วยรับตรวจเกี่ยวกับองค์ประกอบต่าง ๆ ของการวางแผนเพื่อช่วยในการปฏิบัติงานและบริหารงาน ตรวจ สอบ ทั้งนี้กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ หรือ หน้าที่ และอานาจในกา รตรวจเงินแผ่นดิน อาจจากัดเรื่องที่ผู้ตรวจสอบสามารถปรึกษาหารือกับผู้บริหารของ หน่วยรับตรวจเกี่ยวกับกลยุทธ์การสอบบัญชีและแผนการสอบบัญชี ดังนั้น ผู้ตรวจสอบควรทำค วามเข้าใจ เกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ หรือหน้าที่และ อานาจในการ ตรวจเงินแผ่นดิน ดังกล่าว

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 26 9 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 300 เรื่อง การวางแผนการตรวจสอบรายงานการเงิน กิจกรรมเบื้องต้นของการสอบบัญชี 4) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 300 ย่อหน้าที่ 6 กำหนดกิจกรรมที่ต้องปฏิบัติเมื่อเริ่มต้นการตรวจสอ บบัญชี ในงวดปัจจุบัน รวมถึงวิธีการเกี่ยวกับการคงไว้ซึ่งความสัมพันธ์กับหน่วยรับตรวจและงานตรวจสอบ ทั้งนี้ การคงไว้ซึ่งงานตรวจสอบรายงานการเงินของหน่วยงานภาครัฐ โดยข้อเท็จจริงแล้ว ผู้ตรวจสอบอาจไม่มี ทางเลือกที่จะถอนตัวจากงานตรวจสอบ หากผู้ตรวจสอบได้รับข้อมูลซึ่งโ ดยทั่วไปแล้วทาให้ไม่รับงานหรือ ยกเลิกการรับงานสอบบัญชี ผู้ตรวจสอบควรนาข้อมูลดังกล่าวมาพิจารณาในการวางแผนและประเมิน ความเสี่ยงเพิ่มเติม นอกจากนี้ ผู้ตรวจสอบอาจมีความรับผิดชอบทางกฎหมายที่จะต้องรายงานประเด็น ดังกล่าวและอาจหารือกับที่ปรึกษากฎหมายในสถานการณ์เหล่านั้ น กิจกรรมการวางแผนงาน 5) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 300 ย่อหน้าที่ 8 ได้อธิบายถึงขั้นตอนในการจัดทากลยุทธ์การสอบบัญชีโดยรวม ซึ่งในการจัดทำกลยุทธ์การสอบบัญชีโดยรวมนั้น ผู้ตรวจสอบอาจพิจารณาลักษณะอื่นเพิ่มเติม เช่น • ความรับผิดชอบในการรายงานข้อมูลเพิ่มเติมสำหรับ หน่วยรับตรวจ ทั้งนี้ตัวอย่างของความรับผิดชอบ เพิ่มเติมดังกล่าวอาจรวมถึงข้อกาหนดของหน่วยรับตรวจในการรายงานเกี่ยวกับเงินงบประมาณและ เงินอุดหนุนที่ได้รับ • ความรับผิดชอบในการรายงานข้อมูลเพิ่มเติมสำหรับผู้ตรวจสอบตามที่กล่าวถึงในแนวปฏิบัติ การตรวจสอบการเงินภาครัฐ ร หัส 210 เรื่อง ข้อตกลงในการรับงานสอบบัญชี ย่อหน้าที่ 6 ข้อพิจารณาโดยเฉพาะสำหรับ หน่วยงาน ขนาดเล็ก 6) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 300 ย่อหน้าที่ ก 11 ได้ให้ข้อปฏิบัติโดยเฉพาะสาหรับ หน่วยงาน ขนาดเล็ก สาหรับการตรวจสอบหน่วยงานภาครัฐที่มีขนาดเล็กนั้นจะไม่ปฏิบัติ งาน โดยผู้ ตรวจสอบเพียงคนเดียว นอกจากนี้ด้วยลักษณะโครงสร้างการรายงานของหน่วยงานภาครัฐอาจทำให้แนวคิดเรื่องความเป็นเจ้าของ หน่วยงาน ไม่เกิดขึ้น อีกทั้งโครงสร้างการควบคุมของหน่วยงานภาครัฐที่มีขนาดเล็ก อาจ เป็นส่วนหนึ่ง ของโครงสร้างการควบคุมของหน่วยงานภาครัฐที่มีขนาดใหญ่กว่ำ ดังนั้น สมมติฐานที่ว่า หน่วยงาน ขนาดเล็ก มีกิจกรรมการควบคุมที่เกี่ยวข้องเป็นจานวนน้อยจึง อาจ ไม่เหมาะสมที่จะนามาใช้กับหน่วยงานภาครัฐ และผู้ตรวจสอบอาจนาลักษณะการควบคุมของหน่วยงานภาครัฐที่ใหญ่กว่ามาเพิ่มเติมไว้เป็นส่วนหนึ่ง ในการวางแผนการตรวจสอบ ทั้งนี้ ผู้ตรว จสอบควรปรับปรุงให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของงานตรวจสอบ รวมถึงการประเมินความเสี่ยงด้วย ข้อพิจารณาเพิ่มเติมในการรับงานสอบบัญชีครั้งแรก 7) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 300 ย่อหน้าที่ 13 ผนวกกับ การนาไปปฏิบัติและคาอธิบายอื่นตามที่ระบุใน ย่อหน้าที่ ก 22 ของมาตรฐานฉบับนี้ ได้กาหนดกิจกรรมที่ผู้ตรวจสอบต้องปฏิบัติก่อนที่จะเริ่มการตรวจสอบ ครั้งแรก ในภาครัฐการเริ่มต้นรับงานตรวจสอบมีความแตกต่างจากภาคเอกชน โดยผู้ตรวจสอบ อาจได้รับคัดเลือกผ่านกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุหรืออาจได้รับการแต่งตั้งตามกฎหมาย

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 27 9 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 300 เรื่อง การวางแผนการตรวจสอบรายงานการเงิน อย่างไรก็ตาม ข้อป ฏิบัติและข้อกาหนดที่ระบุในย่อหน้าที่ 13 และ ก 22 ของมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 300 มีความเกี่ยวข้องกับผู้ตรวจสอบเมื่อปรากฏสถานการณ์ตามที่ได้อธิบายไว้ ข้อพิจารณาโดยเฉพาะสำหรับผู้ตรวจสอบในบทบาทที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางกฎหมาย 8) ในบางสภาพแวดล้อมของหน่วยงานภาค รัฐ เช่น ในกระบวนการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวินัยการเงิน การคลังของรัฐจะมีการนำรายงานของผู้สอบบัญชีมาใช้ในการวินิจฉัยและใช้พิจารณาความรับผิด ทางกฎหมายของผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเงินการคลังของรัฐ รวมถึงเรื่องที่มี นัยสาคัญต่าง ๆ ข้อบกพร่องของการควบคุม และการไม่ปฏิบัติตามอานาจหน้าที่ โดยทั่วไปข้อตรวจพบ ดังกล่าวจะจัดทำเป็นรายงานการตรวจสอบแยกต่างหากจากรายงานของผู้สอบบัญชีและรายงาน ข้อเสนอแนะ และผู้ตรวจสอบควรศึกษาและทาความเข้าใจกับนโยบายและขั้นตอนต่าง ๆ ซึ่งอธิบาย ข้อกาหนดเพิ่มเติมเกี่ยว กับการกาหนดความรับผิดทางกฎหมายของผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบตามกฎหมาย การเงินการคลังของรัฐ รวมถึงเรื่องที่มีนัยสาคัญต่าง ๆ ข้อบกพร่องในการควบคุม และการไม่ปฏิบัติตาม อานาจหน้าที่ นอกจากนี้ ผู้ตรวจสอบอาจวางแผนและดำเนินการตามขั้นตอนเพื่อให้เป็นไปตามข้อกาหนด ทางกฎหมำย และปฏิบัติตามหลักการเกี่ยวกับพยานหลักฐานอย่างเคร่งครัดเมื่อตรวจสอบพบข้อบกพร่อง หรือการกระทาผิด ถือได้ว่าเป็นการปฏิบัติตามข้อกาหนดที่เกี่ยวข้องในการรวบรวมหลักฐานดังกล่าว เพื่อประกอบการตัดสินคดี ผู้ตรวจสอบต้องรวบรวมหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับข้อบกพร่อง หรือกำรกระทาผิด ส่งให้หน่วยงานภายในสานักงานการตรวจเงินแผ่นดินที่รับผิดชอบด้านวินัยการเงินการคลังของรัฐ และให้ ความร่วมมือในการดำเนินการ

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 28 10 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 315 (ปรับปรุง) เรื่อง การระบุและประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง อันเป็นสาระสำคัญ 10 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 315 (ปรับปรุง) เรื่อง การระบุและประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่ อข้อเท็จจริง อันเป็นสาระสาคัญ เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 315 (ปรับปรุง 2564) เรื่อง การระบุ และประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญ สาหรับผู้ตรวจสอบ ในเรื่องดังต่ อไปนี้ (ก) วิธีการประเมินความเสี่ยงและกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง (ข) การทาความเข้าใจ หน่วยงาน และสภาพแวดล้อมของ หน่วยงาน รวมถึงแม่บทการรายงานทางการเงิน ที่เกี่ยวข้องและระบบการควบคุมภายในของ หน่วยงาน (ค) การระบุและประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอั นเป็นสาระสำคัญ (ง) ตัวอย่างเพิ่มเติมของเหตุการณ์หรือเงื่อนไขที่อาจชี้ให้เห็นว่ามีความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อ ข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญ วิธีการประเมินความเสี่ยงและกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง 2 ) เมื่อใช้วิธีการประเมินความเสี่ยงและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องตามที่ ระบุไว้ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 315 (ปรับปรุง 2564) ย่อหน้าที่ 13 ถึง 18 ผู้ตรวจสอบอาจต้องคานึงถึงวัตถุประสงค์ที่กว้างขึ้นตามหน้าที่และ อานาจในการตรวจ เงินแผ่นดิน 3 ) เมื่อทำการสอบถามผู้บริหารและบุคคลอื่นผู้ตรวจสอบอาจหาข้อมูลจากแหล่งอื่นเพิ่มเติมด้วย เช่น • ผู้ตรวจสอบที่เกี่ยวข้องในการตรวจสอบผลสัมฤทธิ์และประสิทธิภาพการดำเนินงานหรือการตรวจสอบ อื่นที่เกี่ยวข้องกับหน่วยรับตรวจ • เจ้าหน้าที่ของรัฐ • รายงานการประชุมหรือรายงานของ หน่วยงานที่ออกกฎหมาย 4 ) เมื่อทำการวิเคราะห์เปรียบเทียบ ผู้ตรวจสอบอาจพิจารณาถึงความสัมพันธ์ อื่นเพิ่มเติม เช่น • รายจ่ายจริงเปรียบเทียบกับงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร • ข้อมูลสถิติประชากรเปรียบเทียบกับการจ่ายผลประโยชน์ต่าง ๆ เช่น เงินช่วยเหลือด้านการศึกษา เงินบำนาญ • สัดส่วนของดอกเบี้ยที่เกิดจากหนี้สาธารณะเมื่อเทียบกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมของรัฐบาล 5 ) เมื่อใช้วิธีการสังเกตการณ์และการตรวจ ผู้ตรวจสอบอาจสังเกตการณ์และตรวจสอบรายการอื่นเพิ่มเติม เช่น • เอกสารเพิ่มเติมที่ผู้บริหารจัดทาเพื่อเสนอต่อ หน่วยงานที่ออกกฎหมาย เช่น รายงานผลการดาเนินงาน หรือคำของบประมาณ • เอกสารหลักฐานของเจ้าหน้าที่ของหน่วยรับตรวจ

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 29 10 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 315 (ปรับปรุง) เรื่อง การระบุและประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง อันเป็นสาระสำคัญ • กฎกระทรว ง หรือคำสั่งอื่น • บันทึกทางราชการเกี่ยวกับการดำเนินการของ หน่วยงาน ที่ ออกกฎหมาย 6 ) ในการใช้ข้อมูลที่ได้จากประสบการณ์การตรวจสอบหน่วยรับตรวจและจากการตรวจสอบที่ผ่านมา ผู้ตรวจสอบอาจใช้รายงานจากการตรวจสอบผลสัมฤทธิ์และประสิทธิภาพการดาเนินงานในงวดก่อน และ การตรวจส อบอื่นที่เกี่ยวกับหน่วยรับตรวจมาประกอบด้วย 7 ) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 315 (ปรับปรุง 2564) ย่อหน้าที่ 17 กาหนดให้ ผู้ตรวจสอบที่รับผิดชอบ งานและสมาชิกที่สำคัญในกลุ่มผู้ปฏิบัติงานต้องปรึกษาหารือร่วมกันถึงโอกาสที่รายงานการเงินของ หน่วยรับตรวจอาจแสดงข้อมูลที่ขั ดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญและการใช้แม่บทการรายงานทางการเงิน ที่เหมาะสมกับข้อเท็จจริงและสภาพแวดล้อมของหน่วยรับตรวจ สำหรับภาครัฐการปรึกษาหารือนี้ อาจครอบคลุมถึงวัตถุประสงค์ที่เพิ่มขึ้น และความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็น สาระสำคัญที่ เกี่ยวข้องตามที่ได้อธิบายไว้ในย่อหน้าที่ 2 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 315 (ปรับปรุง) เรื่อง การระบุและประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญ ผู้ตรวจสอบอาจปรึกษาหารือกับผู้ตรวจสอบที่รับผิดชอบตรวจสอบผลสัมฤทธิ์และปร ะสิทธิภาพ การดำเนินงานและผู้ตรวจสอบที่รับผิดชอบการตรวจสอบอื่นของหน่วยรับตรวจด้วย การ ทา ความเข้าใจ หน่วยงาน และสภาพแวดล้อมของ หน่วยงาน รวมถึง แม่บทการรายงานทางการเงิน ที่เกี่ยวข้อง และระบบการควบคุมภายในของ หน่วยงาน 8 ) การทาความเข้าใจหน่วยงานและสภาพแวดล้อมของหน่ วยงาน ตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 315 (ปรับปรุง 2564) ย่อหน้าที่ 19 ผู้ตรวจสอบต้องพิจารณาเรื่องดังต่อไปนี้ (ก) โครงสร้างการกากับดูแลอาจเป็นไปตามโครงสร้างทางกฎหมายของหน่วยรับตรวจ เช่น หน่วยรับตรวจ ที่เป็นกระทรวง กรม หน่วยงาน หรือประเภทอื่น (ข) ความเป็นเจ้าขอ งของหน่วยงานภาครัฐอาจไม่มีความเกี่ยวข้องเช่นเดียวกับในกรณีของภาคเอกชน (ค) วัตถุประสงค์และกลยุทธ์ของแผนงาน/งาน/โครงการอาจรวมถึงองค์ประกอบด้านนโยบายสาธารณะ (ง) กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการเฉพาะที่หน่วยรับตรวจ ต้องปฏิบัติตา ม และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการดังกล่าว (จ) การตัดสินใจที่เกิดขึ้นภายนอกหน่วยรับตรวจอันเป็นผลมาจากกระบวนการทางการเมือง และ มีอิทธิพลต่อกิจกรรมของฝ่ายบริหาร เช่น • การตั้งสถานที่ ทำการในพื้นที่ใหม่ หรือการปิดสถานที่ทาการเดิม • การปรับโครงสร้างองค์กร รวมถึงการโอนกิจกรรมไปให้หน่วยงานอื่น • การกาหนดแผนงาน/งาน/โครงการใหม่ • ข้อจำกัดด้านงบประมาณ หรือการปรับลดงบประมาณ (ฉ) ความรู้เกี่ยวกับกิจกรรมของหน่วยงานภาครัฐที่ได้ดำเนินการ รวมถึงแผนงาน/งา น/โครงการ ที่เกี่ยวข้อง

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 30 10 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 315 (ปรับปรุง) เรื่อง การระบุและประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง อันเป็นสาระสำคัญ (ช) กระบวนการด้านงบประมาณ และการบริหารงบประมาณ (ซ) ประเด็นที่เกี่ยวกับข้อสมมติของผู้บริหารเกี่ยวกับการดำเนินงานต่อเนื่องอาจไม่ต้องนามาพิจารณา (ฌ) ความรู้และความสนใจของผู้มีส่วนได้เสีย (ญ) ความเห็นของสาธารณชนต่อประเด็นที่เกี่ยวข้อง (ฎ) สถานการณ์ปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงภาวะทางสังคม (ฏ) ความสนใจของสมาชิกรัฐสภาและการอภิปรายในรัฐสภา 9 ) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 315 (ปรับปรุง 2564) ย่อหน้าที่ 19(ก) (3) กล่าวถึง การวัดผลการประเมินผล การดำเนินงานทางการเงิน โดยผู้ตรวจสอบอาจพิจารณาข้อมูลที่ไม่ ใช่ข้อมูลทางการเงินในการวัดผล และการประเมินผลดังกล่าว อาทิ ผลสัมฤทธิ์ของการดาเนินงาน (เช่น จานวนคนที่ได้รับความช่วยเหลือ จากแผนงาน/งาน/โครงการ) นอกจากนี้ ในภาครัฐอาจมีหน่วยงานภายนอกอื่น เช่น หน่วยงาน ที่ ออกกฎหมาย หน่วยงานภาครัฐอื่นและสื่อมวลชนที่ทำหน้าที่วั ดผลและการประเมินผลการดำเนินงาน 10 ) การได้มาซึ่งความเข้าใจในระบบการควบคุมภายในของหน่วยรับตรวจที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบตามที่ กาหนดไว้ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 315 (ปรับปรุง 2564) ย่อหน้าที่ 21 ผู้ตรวจสอบอาจพิจารณา เรื่องดังต่อไปนี้ (ก) ความรับผิดชอบในการราย งานเพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในของหน่วยรับตรวจ (ข) การควบคุมที่สำคัญที่เกี่ยวกับการปฏิบัติตามอานาจหน้าที่ (ค) การควบคุมที่สำคัญที่เกี่ยวกับการติดตามผลการดำเนินงานเทียบกับงบประมาณ (ง) การควบคุมที่สำคัญที่เกี่ยวกับการโอนเงินงบประมาณให้กับหน่วยงานอื่น (จ) การควบคุมที่สาคัญที่เกี่ยวกับการจัดประเภทข้อมูลความมั่นคงของประเทศและข้อมูลส่วนบุคคล ที่มีความอ่อนไหว เช่น ข้อมูลด้านภาษีและด้านสุขภาพ (ฉ) การกากับดูแลและการควบคุมอื่นที่ดำเนินการโดยหน่วยงานภายนอก และเกี่ยวกับเรื่องดังต่อไปนี้ • การปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ • การบริหารงบประมาณ • เรื่องอื่นที่กำหนดโดยกฎหมายหรือหน้าที่และอานาจในการต รวจเงินแผ่นดิน • ภาระรับผิดชอบของฝ่ายบริหาร 11 ) การได้มาซึ่งความเข้าใจในกระบวนการประเมินความเสี่ยงของหน่วยรับตรวจตามที่กาหนดในมาตรฐาน การ สอบบัญชี รหัส 315 (ปรับปรุง 2564) ย่อหน้าที่ 22 ผู้ตรวจสอบต้องพิจารณาว่ากระบวนการประเมิน ความเสี่ยงของหน่วยรับตรวจอาจกาหนดขึ้นตามกฎหมาย รวมถึงคาสั่ง หรือดาเนินการโดยหน่วยงาน ภาครัฐอื่น 12 ) ในบางสภาพแวดล้อมของการตรวจสอบ เช่น ในกระบวนการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกั บวินัยทางการเงิน การคลังของรัฐ เมื่อมีการตรวจพบการทุจริตทางการเงินหรือการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายหรือข้อบังคับ ที่เกี่ยวข้อง ผู้ตรวจสอบอาจให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้อง เช่น เจ้าหน้าที่ของสานักงาน คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ พ นักงานอัยการ และเจ้าหน้าที่ตารวจ ดังนั้น

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 31 10 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 315 (ปรับปรุง) เรื่อง การระบุและประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง อันเป็นสาระสำคัญ ในสถานการณ์ดังกล่าวผู้ตรวจสอบอาจได้รับข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการทำความเข้าใจหน่วยรับตรวจ สภาพแวดล้อมของหน่วยรับตรวจ และการประเมินความเสี่ยง การระบุและประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ คัญ 13 ) เมื่อผู้ตรวจสอบระบุและประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญ ตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 315 (ปรับปรุง 2564) ย่อหน้าที่ 28 และ 29 ผู้ตรวจสอบอาจพิจารณา ประเด็นเพิ่มเติม ดังนี้ • ข้อเท็จจริงที่ว่าการระบุและประเมินความเสี่ย งในระดับงบการเงินและระดับที่เกี่ยวกับสิ่งที่ผู้บริหาร ได้ให้การรับรองไว้อาจรวมถึงประเด็นที่เกี่ยวกับสถานการณ์ทางการเมือง ประโยชน์สาธารณะ และ แผนงาน/งาน/โครงการที่มีความอ่อนไหว • ข้อเท็จจริงที่ว่าสิ่งที่ผู้บริหารได้ให้การรับรองไว้เกี่ยวกับประเภทของรายการ ยอดคงเ หลือทางบัญชี และการเปิดเผยข้อมูลอาจขยายขอบเขตการรับรองว่ารายการและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นไปตาม กฎหมายหรืออานาจหน้าที่ที่เหมาะสมซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 315 (ปรับปรุง 2564 ) ย่อหน้าที่ ก192 14 ) ในการใช้ดุลยพินิจว่าความเสี่ยงใดมีนัยสำคัญตามที่กำ หนดในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 315 (ปรับปรุง 2564) ย่อหน้าที่ 32 ผู้ตรวจสอบอาจพิจารณาเรื่องดังต่อไปนี้ (ก) ความซับซ้อนและไม่สอดคล้องกันของระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติ ราชการ (ข) การไม่ปฏิบัติตามอานาจหน้าที่ (ค) กระบวนการงบประมาณและกำรบริหารงบประมาณ ตัวอย่างเพิ่มเติมของเหตุการณ์ หรือเงื่อนไข ที่อาจชี้ให้เห็นว่ามีความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อ ข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญ 15 ) ตัวอย่างเพิ่มเติมของ เหตุการณ์หรือเงื่อนไข ที่อาจชี้ให้เห็นว่ามีความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อ ข้อเท็จจริงอั นเป็นสาระสำคัญ มีดังนี้ • การใช้จ่ายเกินวงเงินงบประมาณเนื่องจากมีจุดอ่อนในการควบคุมงบประมาณ • การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ • แผนงาน/งาน/โครงการใหม่ ๆ • การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของแผนงาน/งาน/โครงการที่มีอยู่ • แหล่งเงินทุนใหม่ • กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนกำรปฏิบัติราชการ ที่ออกใหม่ • การตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับทางการเมือง เช่น การย้ายสถานที่ทำการ • แผนงาน/งาน/โครงการที่ไม่ได้รับการจัดสรรทรัพยากรและเงินทุนอย่างเพียงพอ

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 32 10 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 315 (ปรับปรุง) เรื่อง การระบุและประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง อันเป็นสาระสำคัญ • ความคาดหวังที่เพิ่มขึ้นของสาธารณชน • การจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการในหน่วยงานบางประเภท เช่น ห น่วยงานด้านความมั่นคง • การจ้างบุคคลภายนอกในการดำเนินกิจกรรมของรัฐบาล • การดำเนินการที่อยู่ภายใต้การสอบสวนพิเศษ • การเปลี่ยนแปลงผู้นำทางการเมือง • ข้อบ่งชี้เกี่ยวกับความเสียหายหรือการกระทาความผิด • ความคาดหมายที่จะใช้งบประมาณเกินความจำเป็น • การร่วมทุนระหว่างภาครัฐและ ภาคเอกชน • การวางแผนและการดำเนินโครงการเกี่ยวกับโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 33 11 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 320 เรื่อง ความมีสาระสำคัญในการวางแผนและปฏิบัติงานสอบบัญชี 11 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 320 เรื่อง ความมีสาระสำคัญในการวางแผนและปฏิบัติงานสอบบัญชี เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมำตรฐานการสอบบัญชี รหัส 320 เรื่อง ความมีสาระสำคัญใน การวางแผนและปฏิบัติงานสอบบัญชี สำหรับผู้ตรวจสอบในเรื่องดังต่อไปนี้ ( ก) ความมีสาระสำคัญในการตรวจสอบ ( ข) การกาหนดความมีสาระสำคัญและความมีสาระสำคัญในการปฏิบัติงานเมื่อวางแผนการตรวจสอบ ( ค) การปรับเปลี่ยนเมื่ อมีความคืบหน้าในการตรวจสอบ ความมีสาระสำคัญในการตรวจสอบ 2) ในการกำหนดความมีสาระสำคัญเพื่อวัตถุประสงค์ในการวางแผนการตรวจสอบหน่วยงานภาครัฐ ผู้ตรวจสอบต้องให้ความสาคัญต่อสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ซึ่งรวมทั้งลักษณะ ของรายการ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กั บบริบทของเรื่องนั้น ๆ นอกจากนี้ ลักษณะทั่วไปหรือลักษณะเฉพาะของรายการ หรือกลุ่มของรายการต่าง ๆ อาจมีสาระสำคัญด้วย 3) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 320 ย่อหน้าที่ ก 3 ระบุว่า โดยส่วนใหญ่ หน่วยงาน ที่ ออกกฎหมาย และ หน่วยงานกากับดูแลเป็นหน่วยงานหลักที่ใช้ รายงานการเงินของ หน่วยงานภาครัฐ และรายงานการเงิน อาจนาไปใช้ในการตัดสินใจเรื่องอื่นนอกเหนือ จากการตัดสินใจในเชิงเศรษฐกิจ หน่วยงาน ที่ ออกกฎหมาย เป็นผู้แทนของประชาชนและมีหน้าที่ในการพิจารณาจัดสรรงบประมาณเพื่อการดาเนินการตามแผนงาน/ งาน/โครงการ กิจกรรมและหน้าที่ต่าง ๆ ของรัฐบาล หน่ วยงาน ที่ ออกกฎหมาย และ/หรือหน่วยงานกากับ ดูแล มักจะประเมินหรือตัดสินใจเกี่ยวกับกิจกรรมของหน่วยงานภาครัฐ ผู้ใช้รายงานการเงินอื่นอาจรวมถึง ฝ่ายบริหารของ หน่วยงาน ผู้ถือพันธบัตรหรือสื่อ ดังนั้น รายงานการเงินที่ตอบสนองต่อความต้องการของ หน่วยงาน ที่ ออกกฎหมาย และหน่วยงา นกำกับดูแลจะตอบสนองต่อความต้องการส่วนใหญ่ของผู้ใช้ รายงานการเงินอื่นด้วยเช่นเดียวกัน 4) รายงานการเงินอาจแสดงถึงองค์ประกอบหลักของภาระรับผิดชอบของหน่วยงานภาครัฐต่อสาธารณะ ขอบเขตภาระรับผิดชอบอาจนำไปสู่การพิจารณาปัจจัยอื่นที่มีผลต่อการกาหนดความมีสาระสำคัญ ในระ ดับที่แตกต่างกัน ความมีสาระสาคัญจึงเป็นผลสืบเนื่องจากปัจจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ และ ระดับความมีสาระสาคัญสาหรับประเภทของรายการ ยอดคงเหลือทางบัญชี หรือการเปิดเผยข้อมูลของ รายการใดรายการหนึ่งโดยเฉพาะ อาจกำหนดไว้ในระดับที่ต่ำกว่า การกำหนดความมีสาระสำคัญและควา มมีสาระสำคัญในการปฏิบัติงานเมื่อวางแผนการตรวจสอบ 5) ตามที่กล่าวไว้ข้างต้น ความมีสาระสาคัญในการตรวจสอบภาครัฐครอบคลุมทั้งลักษณะเชิงปริมาณและ เชิงคุณภาพ (อ้างอิงมาตรฐานการสอบบัญชีที่เกี่ยวข้องกับ “ ขนาด ” และ “ ลักษณะ ” ของการแสดงข้อมูล ที่ขัดต่อข้อเท็จจริง) การกา หนดระดับความมีสาระสาคัญในระดับใดระดับหนึ่งหรือหลายระดับได้อธิบาย

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 34 11 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 320 เรื่อง ความมีสาระสำคัญในการวางแผนและปฏิบัติงานสอบบัญชี ไว้ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 320 ย่อหน้าที่ 10 และ 11 ว่า ระดับความมีสาระสาคัญของประเภท ของรายการ ยอดคงเหลือทางบัญชี หรือการเปิดเผยข้อมูลอาจกาหนดไว้ในระดับที่ต่ากว่า ซึ่งอาจเป็น เพราะเหตุผลหลาย ประการรวมถึงบริบทของเรื่องนั้น หรือลักษณะทั่วไปและลักษณะเฉพาะของระบบและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามที่ได้อธิบายไว้ในย่อหน้าที่ 2 ถึง 4 ของแนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 320 นอกจากนี้ วิธีปฏิบัติที่ต้องทาอาจเป็นไปตามหน้าที่และอานาจในการตรว จเงินแผ่นดิน หรื อ กฎหมาย ตัวอย่างของวิธีปฏิบัติอาจเป็นการตรวจสอบเงินเดือนและค่าตอบแทนของผู้บริหารตามที่ กฎหมายกาหนด รายจ่ายที่มีลักษณะอ่อนไหว อาทิ ค่าใช้จ่ายเดินทางและค่ารับรองของเจ้าหน้าที่ ระดับอาวุโส ในบางกรณีที่ผู้ตรวจสอบต้องการตรวจพบการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงทุ กรายการ ผู้ตรวจสอบต้องทดสอบรายการที่เกี่ยวข้องทั้งหมด 6) เมื่อผู้ตรวจสอบต้องให้ความเห็นเกี่ยวกับประสิทธิผลของการควบคุมหรือการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการด้วยนั้น ผู้ตรวจสอบต้องพิจารณา ความจาเป็น ในการกาหนดควา มมีสาระสาคัญของวัตถุประสงค์เหล่านี้เพิ่มเติมจากความมีสาระสำคัญ สาหรับรายงานการเงินตัวอย่างเช่น เมื่อมีการรายงานเกี่ยวกับประสิทธิผลของการควบคุม ผู้ตรวจสอบ อาจใช้เกณฑ์มาตรฐานจากอัตราร้อยละของรายการหรือจำนวนเงินที่เลือกทดสอบในการกำหนด ความมีสาระสาคัญเพื่อประเมิ นความเบี่ยงเบนของการควบคุม ในการกาหนดความมีสาระสาคัญสาหรับ งานตรวจสอบประเภทอื่น ๆ นั้น ผู้ตรวจสอบอาจใช้คู่มือหรือแนวปฏิบัติอื่นที่สานักงานการตรวจเงิน แผ่นดินกาหนด ดังที่ระบุไว้ในย่อหน้าที่ 7 ของแนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 210 เรื่อง ข้อตกลงในการ รับงานสอบบัญชี 7) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 320 ย่อหน้าที่ ก 3 ได้อธิบายข้อพิจารณาเฉพาะในการกำหนดระดับ ความมีสาระสาคัญสาหรับหน่วยงานภาครัฐ เมื่อกาหนดว่าประเภทของรายการ ยอดคงเหลือทางบัญชี หรือการเปิดเผยข้อมูลของรายการใดรายการหนึ่งเป็นการเฉพาะ หรือสิ่งที่ผู้บริ หารให้การรับรองไว้ ในเรื่องอื่น ๆ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแม่บทการรายงานทางการเงิน มีสาระสาคัญหรือไม่ ผู้ตรวจสอบต้อง คำนึงถึงลักษณะเชิงคุณภาพ เช่น • สถานการณ์แวดล้อมของเรื่องที่ปรากฏ อาทิ หากเป็นเรื่องเกี่ยวกับการปฏิบัติตามอานาจหน้าที่ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ม ติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการหรือ หากกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการดังกล่าว ข้อห้ามเกี่ยวกับ การใช้จ่ายเกินกว่าวงเงินงบประมาณที่ได้รับ • ความต้องการและการใช้รายงานการเงินของผู้มีส่วนได้เสียต่าง ๆ • ลักษณะของรายการ ที่พิจารณาแล้วว่ารายการนั้นมีความอ่อนไหวต่อผู้ใช้รายงานการเงิน • ความคาดหวังของสาธารณชนและประโยชน์สาธารณะ รวมถึงการให้ความสาคัญกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เป็นการเฉพาะของคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องใน หน่วยงาน ที่ ออกกฎหมาย เช่น คณะกรรมาธิการ ติดตามการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี ตลอดจนความจำเป็นในการเปิดเผยข้อมูลบางประการ • ความจาเป็นในการกากับดูแลตามกฎหมายรวมถึงระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผน การปฏิบัติราชการ ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 35 11 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 320 เรื่อง ความมีสาระสำคัญในการวางแผนและปฏิบัติงานสอบบัญชี • ความจาเป็นในการเปิดเผยและการแสดงความโปร่งใส เช่น มีข้อกาหนดให้เปิดเผยข้อมูลเป็นกา รเฉพาะ เกี่ยวกับการทุจริตและความเสียหายอื่น 8) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 320 ย่อหน้าที่ ก 4 ถึง ก 8 ได้อธิบายเกี่ยวกับการระบุเกณฑ์มาตรฐาน ที่เหมาะสม สาหรับความมีสาระสาคัญของรายงานการเงิน โดยทั่วไปงบประมาณของหน่วยงานภาครัฐ จะเท่ากับรายจ่ายรวมประจำปีของหน่วยงาน ดังนั้น ในการกาหนดความมีสาระสำคัญโดยใช้ยอดรายจ่าย รวมประจำปีอาจเป็นเกณฑ์ที่มีความเหมาะสมมากที่สุดหากหน่วยงานมีหน้าที่หลักหรือตามบทบัญญัติของ กฎหมายในการให้บริการ สาหรับหน่วยงานภาครัฐที่ได้รับการคาดหวังว่าจะดาเนินการได้ครอบคลุม ต้นทุนหรือคุ้มทุน ต้นทุนสุทธิอาจ ไม่ใช่เกณฑ์มาตรฐานที่เหมาะสม ในหลายกรณี รายจ่ายขั้นต้นหรือ รายได้ขั้นต้นอาจเป็นเกณฑ์มาตรฐานที่มีความเหมาะสมมากกว่า สาหรับหน่วยงานภาครัฐที่มีหน้าที่ดูแล รักษาสินทรัพย์เป็นจำนวนมาก สินทรัพย์รวมหรือหนี้สินรวม สินทรัพย์สุทธิหรือหนี้สินสุทธิ หรือสินทรัพย์ ที่มีการ จัดประเภทไว้อย่างแน่นอน อาจเป็นเกณฑ์มาตรฐานที่เหมาะสม หากได้มีการแสดงรายการไว้ ในรายงานการเงินแล้ว ในบางกรณี โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อพิจารณาความมีสาระสำคัญเชิงคุณภาพ อาจนำ เกณฑ์มาตรฐานประเภทอื่นมาใช้ให้เป็นประโยชน์ ตัวอย่างเช่น • จานวนเงินที่ คณะกรรมการขอ ง หน่วยงำน ที่ ออกกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องได้พิจารณาว่ามีความสาคัญ เช่น คณะกรรมาธิการติดตามการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี • การจ่ายผลประโยชน์เมื่อเปรียบเทียบกับดัชนีค่าครองชีพ อาทิ ความสำคัญของการกาหนดหลักเกณฑ์ ในการจ่ายเงินให้ผู้มีสิทธิรับผลประโยชน์รายเดือน เช่น การเกษียณอายุห รือการทุพพลภาพ ซึ่งเป็น การจ่ายตามแผนงาน/งาน/โครงการของภาครัฐ การปรับเปลี่ยนเมื่อมีความคืบหน้าในการตรวจสอบ 9) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 320 ย่อหน้าที่ 12 13 และ ก 14 อธิบายถึงความจาเป็นในการปรับเปลี่ยน ระดับความมีสาระสำคัญ ในกรณีที่ได้รับข้อมูลใหม่ระหว่างการตร วจสอบ เมื่อคำนึงถึงโครงสร้างการกากับ ดูแลและความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานภาครัฐ จึงเป็นเรื่องปกติที่ผู้ตรวจสอบจะได้รับข้อมูลใหม่ระหว่าง การตรวจสอบ

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 36 12 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 330 เรื่อง วิธีปฏิบัติของผู้ตรวจสอบในการตอบสนองความเสี่ยงที่ได้ประเมินไว้ 12 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 330 เรื่อง วิธีปฏิบัติของผู้ ตรวจสอบ ในการตอบสนองต่อความเสี่ยงที่ได้ปร ะเมินไว้ เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 330 เรื่อง วิธีปฏิบัติของผู้สอบบัญชี ในการตอบสนองต่อความเสี่ยงที่ได้ประเมินไว้ สำหรับผู้ตรวจสอบในเรื่องดังต่อไปนี้ (ก) วิธีการตรวจสอบที่ตอบสนองต่อความเสี่ยงจากกำรแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญ ในระดับที่เกี่ยวกับสิ่งที่ผู้บริหารได้ให้การรับรองที่ได้ประเมินไว้ (ข) การประเมินความเพียงพอและความเหมาะสมของหลักฐานการสอบบัญชี (ค) ข้อพิจารณาโดยเฉพาะสำหรับผู้ตรวจสอบในบทบาทที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางกฎหมาย วิธีการตรวจสอบที่ตอบสนองต่อความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญใน ระดับที่เกี่ยวกับสิ่งที่ผู้บริหารได้ให้การรับรองที่ได้ประเมินไว้ 2 ) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 330 ย่อหน้าที่ ก17 กล่าวว่า ข้อกำหนดที่ต้องมีเพื่อการตรวจสอบ และข้อกาหนด พิเศษอื่นที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบ อาจมีผลกระทบต่อข้อพิจารณาของผู้ตรวจสอบ ในการกำหนดลักษณะ ช่วงเวลา และขอบเขตของวิธีการตรวจสอบ ตัวอย่างของข้อกำหนดอื่น สามารถศึกษาได้จากแนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 210 เรื่อง ข้อตกลงในการรับงาน สอบบัญชี ย่อหน้าที่ 6 3 ) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 330 ย่อหน้าที่ 8 ได้อธิบายสถานการณ์ที่ผู้ตรวจสอบต้องทดสอบ การควบคุมเพื่อให้ได้หลักฐานการสอบบัญชีที่เหมาะสมอย่างเพียงพอเกี่ยวกับความมีประสิทธิผล ของการปฏิบัติตามการควบคุมที่เกี่ยวข้อง สาหรับวัตถุประสงค์ที่เพิ่มขึ้นตามที่กล่าว ไว้ในย่อหน้าที่ 2 ของแนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 330 เรื่อง วิธีปฏิบัติของผู้สอบบัญชีในการตอบสนอง ต่อความเสี่ยงที่ได้ประเมินไว้ การทดสอบการควบคุมใน หน่วยงานภาครัฐอาจมีขอบเขตและ รายละเอียดที่มากกว่าการทดสอบการควบคุมในหน่วยงานภาคเอกชน ผู้ตรวจสอบอา จทาการทดสอบ การควบคุมในงานตรวจสอบด้านอื่นนอกเหนือจากด้านการตรวจสอบการเงิน ทั้งนี้ สามารถศึกษาได้จาก หลักเกณฑ์มาตรฐานเกี่ยวกับการตรวจเงินแผ่นดิน และแนวปฏิบัติที่สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน กำหนด 4 ) ในการออกแบบและการทดสอบการควบคุมตามที่กำหนดไว้ในมาตรฐานการสอบ บัญชี รหัส 330 ย่อหน้าที่ 10 ผู้ตรวจสอบต้องพิจารณาว่าหน่วยรับตรวจเป็นส่วนหนึ่งของสภาพแวดล้อมของการควบคุม ของหน่วยงานภาครัฐอื่นที่ใหญ่กว่าหรือไม่ ซึ่งหากเป็นเช่นนั้น อาจมีการควบคุมจากภายนอกหน่วยรับตรวจ ผู้ตรวจสอบต้องพิจารณาว่าได้กาหนดวิธีการให้ได้มาซึ่งหลั กฐานการสอบบัญชีที่เหมาะสมอย่างเพียงพอ เกี่ยวกับการควบคุมดังกล่าวหรือไม่ อย่างไร

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 37 12 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 330 เรื่อง วิธีปฏิบัติของผู้ตรวจสอบในการตอบสนองความเสี่ยงที่ได้ประเมินไว้ 5 ) ในการใช้หลักฐานการสอบบัญชีเกี่ยวกับความมีประสิทธิผลของการปฏิบัติตามการควบคุม ซึ่งได้จาก การตรวจสอบงวดก่อนนั้น ตามที่กล่าวไว้ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 330 ย่อหน้าที่ 13 ผู้ ตรวจสอบ อาจใช้หลักฐานที่ได้รับจากการ ตรวจสอบผลสัมฤทธิ์และประสิทธิภาพการดำเนินงานหรือ การตรวจสอบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับหน่วยรับตรวจ ในกรณีที่ผู้ตรวจสอบพิจารณาหลักฐานที่ได้จาก การตรวจสอบผลสัมฤทธิ์และประสิทธิภาพการดำเนินงานในงวดก่อน ๆ ผู้ตรวจสอบต้องประเมิน สิ่ งที่ผู้บริหารได้ให้การรับรองไว้ที่ใช้และวิธีการทดสอบที่ได้ดาเนินการไปแล้ว ในการตรวจสอบ ผลสัมฤทธิ์ และประสิทธิภาพการดาเนินงาน หรือการตรวจสอบอื่นที่เกี่ยวข้อง เพียงพอสำหรับวัตถุประสงค์ของ การตรวจสอบรายงานการเงิน หรือไม่ การประเมินความเพียงพอและเหมาะสมของหลักฐานกา รสอบบัญชี 6 ) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 330 ย่อหน้าที่ 27 กาหนดให้ผู้ตรวจสอบแสดงความเห็นต่อ รายงาน การเงิน อย่างมีเงื่อนไขหรือเสนอรายงานอย่างไม่แสดงความเห็นต่อ รายงาน การเงินหากผู้ตรวจสอบยังไม่สามารถ ที่จะได้มาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีที่เหมาะสมอย่างเพียงพอ มาตรฐานกำรสอบบัญชี รหัส 330 ย่อหน้าที่ ก62 ได้ระบุถึงปัจจัยที่อาจมีอิทธิพลต่อดุลยพินิจของผู้ตรวจสอบในเรื่องหลักฐานการสอบบัญชี ที่เหมาะสมอย่างเพียงพอ ในการประเมินว่าหลักฐานการสอบบัญชีใดถือว่าเหมาะสมอย่างเพียงพอ ผู้ตรวจสอบต้องคำนึงถึงความจำเป็นที่จะต้องได้มาซึ่งหลั กฐานการสอบบัญชีนั้น เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ ที่เพิ่มขึ้น ตามที่ อธิบายไว้ในย่อหน้าที่ 2 ของแนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 330 เรื่อง วิธีปฏิบัติของผู้สอบบัญชี ในการตอบสนองต่อความเสี่ยงที่ได้ประเมินไว้ ข้อพิจารณาโดยเฉพาะสำหรับผู้ตรวจสอบในบทบาทที่เกี่ ยวข้องกับกระบวนการทางกฎหมาย 7 ) ในบางสภาพแวดล้อมของหน่วยงานภาครัฐ เช่น ในกระบวนการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวินัย การเงินการคลังของรัฐจะมีการนารายงานของผู้สอบบัญชีมาใช้ในการพิจารณาความรับผิดทางกฎหมาย ของผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเ งินการคลังของรัฐ รวมทั้งเรื่องที่มีนัยสาคัญต่าง ๆ ข้อบกพร่องของการควบคุม และการไม่ปฏิบัติตามอำนาจหน้าที่ ดังนั้น ในสภาพแวดล้อมดังกล่าว การประเมินความเพียงพอและเหมาะสมของหลักฐานการสอบบัญชี ผู้ตรวจสอบต้องใช้วิธีการตรวจสอบ เพื่อระบุถึงผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบ ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเงินการคลังของรัฐ และความรับผิดชอบ ในการปฏิบัติตามข้อกำหนดของกฎหมาย

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 38 13 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 402 เรื่อง ข้อพิจารณาในกรณีที่หน่วยงานใช้บริการขององค์กรอื่น 13 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 402 เรื่อง ข้อพิจารณาในกรณีที่ หน่วยงาน ใช้บริการขององค์กรอื่น เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิ บัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 402 เรื่อง ข้อพิจารณาในกรณีที่กิจการ ใช้บริการขององค์กรอื่น สำหรับผู้ตรวจสอบในเรื่องดังต่อไปนี้ (ก) ขอบเขตของมาตรฐานการสอบบัญชี (ข) คำจำกัดความ (ค) การได้มาซึ่งความเข้าใจในบริการที่องค์กรที่ให้บริการจัดให้ รวมถึงการ ควบคุมภายใน (ง) ข้อพิจารณาเฉพาะสำหรับผู้ตรวจสอบในบทบาทที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางกฎหมาย ขอบเขตของมาตรฐานการสอบบัญชี 2 ) ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 402 ย่อหน้าที่ 2 กล่าวถึงองค์กรที่ให้บริการซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการ ดำเนินงานทางธุรกิจของ กิจการ ในหน่วยงานภาครั ฐ องค์กรที่ให้บริการอาจเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญ ในการดาเนินงานของหน่วยรับตรวจที่ใช้บริการเพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามอานาจหน้าที่ และบรรลุ ตามวัตถุประสงค์ของแผนงาน/งาน/โครงการ รวมทั้งเพื่อให้มั่นใจในประสิทธิผลของการควบคุมภายใน ลักษณะและขอบเขตงานตรวจสอบของผู้ ตรวจสอบในบริบทนี้ ขึ้นอยู่กับลักษณะและความสำคัญ ของงานบริการที่ให้กับหน่วยงานภาครัฐและความเกี่ยวข้องของงานบริการนั้นต่อหน้าที่และอานาจ ในการตรวจ เงินแผ่นดิน คาจากัดความ 3 ) คาว่า “ องค์กรที่ให้บริการ ” และ “ องค์กรที่ให้บริการช่วง ” ตามที่ได้ให้ความหมายไว้ในมา ตรฐาน การสอบบัญชี รหัส ย่อหน้าที่ 8(จ) และ 8(ช) นอกเหนือจากการบริการที่เป็นส่วนหนึ่งของระบบ สารสนเทศของกิจการที่ใช้บริการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการรายงานทางการเงินของกิจการที่ใช้บริการแล้ว ในหน่วยงานภาครัฐ คำจำกัดความเหล่านี้อาจขยายความถึงองค์กรที่ให้บริกา รซึ่งงานบริการนั้น เป็นส่วนสาคัญต่อการดาเนินงานของหน่วยรับตรวจที่ใช้บริการเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนงาน/ งาน/โครงการ เช่น การกาหนดคุณสมบัติของผู้มีสิทธิได้รับและการจ่ายเงินบานาญให้แต่ละบุคคล หรือ การจัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่บุคคลหรือองค์กรใด ๆ การได้มาซึ่ งความเข้าใจในบริการที่องค์กรที่ให้บริการจัดให้ รวมถึงการควบคุมภายใน 4 ) ตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 402 ย่อหน้าที่ 9 เกี่ยวข้องกับผู้ตรวจสอบของ หน่วยงาน ที่ใช้บริการ การ ได้มาซึ่งความเข้าใจว่า หน่วยงาน นั้นได้ใช้บริการขององค์กรที่ให้บริการในการดำเนินงานของ หน่วย งาน อย่างไร ในการพิจารณาถึงความสาคัญของงานบริการที่ให้แก่หน่วยรับตรวจที่ใช้บริการ ลักษณะและ สาระสาคัญของรายการที่ประมวลผลรวมทั้งลักษณะของความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยรับตรวจที่ใช้บริการ แ ละองค์กรที่ให้บริการ ผู้ตรวจสอบต้องพิจารณาบทบาทขององค์กรที่ให้บริการในส่วนที่ เกี่ยวข้องกับ

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 39 13 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 402 เรื่อง ข้อพิจารณาในกรณีที่หน่วยงานใช้บริการขององค์กรอื่น การปฏิบัติตามอานาจหน้าที่ของหน่วยรับตรวจที่ใช้บริการ การบรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ของ แผนงาน/งาน/โครงการ และประสิทธิผลของการควบคุมภายในด้วย แหล่งข้อมูลที่ผู้ตรวจสอบใช้เพื่อให้ได้ ความเข้าใจนี้อาจระบุไว้ในสัญญาหรือข้อตกลงการให้บริการที่ควบคุมค วามสัมพันธ์ระหว่างคู่สัญญา ที่เกี่ยวข้อง 5 ) นอกจากนี้ ในการพิจารณาลักษณะของรายการที่ประมวลผลโดยองค์กรที่ให้บริการแก่หน่วยรับตรวจ ที่ใช้บริการ ผู้ตรวจสอบต้องพิจารณาระดับของภาระรับผิดชอบในเรื่องเกี่ยวกับกระแสเงินทุนระหว่าง สองหน่วยงานด้วย ภาระรับผิดชอบระหว่ำงสองหน่วยงานอาจแตกต่างกัน ดังนี้ (ก) สถานการณ์ซึ่งหน่วยรับตรวจที่ใช้บริการให้องค์กรที่ให้บริการเป็นผู้จัดสรรเงินทุนแบบไม่มีเงื่อนไข แก่ผู้รับซึ่งมีคุณสมบัติตามที่กำหนด โดยไม่มีข้อกำหนดให้ผู้รับหรือองค์กรที่ให้บริการรายงานเกี่ยวกับ การใช้เงินทุนดังกล่าวกลับ มายังหน่วยรับตรวจที่ใช้บริการ (ข) สถานการณ์ซึ่งองค์กรที่ให้บริการมีภาระรับผิดชอบทั้งหมดในเงินทุน และรับผิดชอบต่อการจัดทา รายการ และให้ความเชื่อมั่นแก่หน่วยรับตรวจที่ใช้บริการว่ารายการซึ่งดำเนินการโดยองค์กร ที่ให้บริการได้ปฏิบัติตามอานาจหน้าที่ตามที่หน่วยรับ ตรวจที่ใช้บริการกาหนดและบรรลุผลสาเร็จ ตามวัตถุประสงค์ของแผนงาน/งาน/โครงการที่เกี่ยวข้อง 6 ) นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาลักษณะของความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยรับตรวจที่ใช้บริการและองค์กร ที่ให้บริการ ผู้ตรวจสอบ ควร พิจารณาโครงสร้างของการกากับดูแล รวมทั้งโครงสร้างของภาระ รับผิดชอบ และขอบเขตของการที่หน่วยงานหนึ่งมีอิทธิพลต่ออีกหน่วยงานหนึ่งด้วย 7 ) คาจากัดความของ “ ผู้สอบบัญชีขององค์กรที่ให้บริการ ” และ “ ผู้สอบบัญชีของกิจการที่ใช้บริการ ” ตาม มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 402 ย่อหน้าที่ 8(ง) และ 8(ซ) สามารถกล่าวได้ว่ามี 2 องค์กรตรวจสอ บ ที่เกี่ยวข้อง อย่างไรก็ตาม ในหน่วยงานภาครัฐ (“ ผู้สอบบัญชีขององค์กรที่ให้บริการ ” หมายถึง “ ผู้ตรวจสอบ ขององค์กรที่ให้บริการ ” “ ผู้สอบบัญชีของกิจการที่ใช้บริการ ” หมายถึง “ ผู้ตรวจสอบของหน่วยรับตรวจ ที่ใช้บริการ ”) หน่วยงานหนึ่งของรัฐอาจให้บริการแก่หน่วยงานอื่น ๆ ซึ่งหน่วยงาน ภาค รัฐเหล่านี้อาจเป็น หน่วยงานที่อยู่ภายใต้โครงสร้างการบริหารงานของหน่วยงานเดียวกันเป็นผลให้ได้รับการตรวจสอบโดย องค์กรตรวจสอบเดียวกัน ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อผู้ตรวจสอบของทั้งสองหน่วยงานในการสื่อสาร และการรายงานระหว่างกันที่กาหนดไว้ตามมาตรฐานการส อบบัญชี รหัส 402 ย่อหน้าที่ 12 ถึง 18 ในสถานการณ์ดังกล่าว การสื่อสารระหว่างผู้ตรวจสอบขององค์กรที่ให้บริการและผู้ตรวจสอบของ หน่วยรับตรวจที่ใช้บริการต้องพิจารณาตามหน้าที่ และอานาจในการตรวจ เงินแผ่นดิน ซึ่งอาจแตกต่าง จากข้อกำหนดเรื่องการรักษาความลับของภาคเอกชน 8 ) ตัวอย่างตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 402 ย่อหน้าที่ 12 อธิบายทางเลือกของผู้ตรวจสอบของ หน่วยรับตรวจที่ใช้บริการว่า อาจดาเนินการเพื่อให้ ได้มาซึ่งความเข้าใจอย่างเพียงพอของการควบคุม ภายในของหน่วยรับตรวจที่ใช้บริการสำหรับการตรวจสอบ เพื่อให้ได้ข้อมูลพื้นฐาน ในการระบุ และการประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญ เมื่อผู้ตรวจสอบ ของหน่วยรับตรวจที่ใช้บริการและผู้ตรวจสอบขององค์กรที่ให้บริการมาจากองค์กรตรวจสอบเดียวกัน ทางเลือกบางส่วนหรือทั้งหมด ซึ่งอธิบายในย่อหน้าที่ 12 อาจไม่สามารถป ฏิบัติได้ อย่างไรก็ตาม

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 40 13 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 402 เรื่อง ข้อพิจารณาในกรณีที่หน่วยงานใช้บริการขององค์กรอื่น ในกรณีดังกล่าว การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างผู้ตรวจสอบของหน่วยรับตรวจที่ใช้บริการและผู้ตรวจสอบ ขององค์กรที่ให้บริการอาจใช้ข้อมูลร่วมกันได้อย่างโปร่งใส ซึ่งข้อมูลนี้อาจรวมถึงเนื้อหาที่คล้ายคลึงกับ รายงานประเภท 1 (รายงานเกี่ยวกับคาอธิบายแล ะการออกแบบการควบคุม) หรือรายงานประเภท 2 (รายงานเกี่ยวกับคำอธิบายการออกแบบการควบคุมและความมีประสิทธิผลของการปฏิบัติตาม การควบคุม) 9 ) นอกจากสถานการณ์ที่กล่าวข้างต้น ในขั้นตอนการวางแผนรับงานตรวจสอบ ผู้ตรวจสอบควรพิจารณา อย่างเพียงพอเพื่อระบุและแสดงให้เห็นถึงสิ่ งที่ต้องการให้รายงาน ช่องทางและรูปแบบการรายงาน ข้อพิจารณาเฉพาะสำหรับผู้ตรวจสอบในบทบาทที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางกฎหมาย 10 ) ในบางสภาพแวดล้อมของหน่วยงานภาครัฐ เช่น ในกระบวนการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวินัยการเงิน การคลังของรัฐ ผู้ตรวจสอบอาจมีข้อพิจารณาเพิ่ มเติมดังนี้ • การประเมินความเสี่ยงของความเป็นไปได้ที่จะเกิดการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ม ติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ หรือการกระทำผิดของบุคลากรทั้งในหน่วยรับตรวจ ที่ใช้บริการและองค์กรที่ให้บริการ ซึ่งอาจมีผลกระทบที่มีสาระสำคัญต่อผู้ ใช้รายงานการเงิน • การปฏิบัติตามหลักการเกี่ยวกับพยานหลักฐานอย่างเคร่งครัดเมื่อตรวจสอบพบข้อบกพร่อง หรือ การกระทาผิด ถือได้ว่าเป็นการปฏิบัติตามข้อกาหนดที่เกี่ยวข้องในการรวบรวมหลักฐานดังกล่าว เพื่อประกอบการตัดสินคดี • การรวบรวมหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับข้อบกพร่อง หรือการกระทาผิด ส่งให้หน่วยงานภายในสานักงาน การตรวจเงินแผ่นดินที่รับผิดชอบด้านวินัยการเงินการคลังของรัฐ และให้ความร่วมมือในการดาเนินการ โดยทั่วไป ข้อตรวจพบดังกล่าวจะจัดทาเป็นรายงานการตรวจสอบแยกต่างหากจากรายงานของผู้สอบบัญชี และรายงานข้อเสนอแนะ

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 41 14 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาค รัฐ รหัส 450 เรื่อง การประเมินการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงที่พบระหว่างการตรวจสอบ 14 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 450 เรื่อง การประเมินการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงที่พบระหว่าง การตรวจสอบ เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 450 เรื่อง การประเมินการแสดงข้อมูล ที่ขัดต่อข้อเท็ จจริงที่พบระหว่างการตรวจสอบ สำหรับผู้ตรวจสอบในเรื่องดังต่อไปนี้ (ก) การประเมินผลกระทบจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงซึ่งยังไม่ได้รับการแก้ไข (ข) คำรับรองของผู้บริหารที่เป็นลายลักษณ์อักษร (ค) ข้อพิจารณาโดยเฉพาะสำหรับผู้ตรวจสอบในบทบาทที่เกี่ยวข้องกับกร ะบวนการทางกฎหมาย การประเมินผลกระทบจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงซึ่งยังไม่ได้รับการแก้ไข 2 ) ในการนามาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 450 ย่อหน้าที่ 11 มาใช้ ผู้ตรวจสอบมีหน้าที่รับผิดชอบเพิ่มขึ้น ในการรายงานเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามอานาจหน้าที่และข้อบกพร่องขอ งการควบคุม โดยต้องประเมินผล แยกตามแต่ละวัตถุประสงค์ที่เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม การแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงมีความเกี่ยวเนื่องกัน กับการไม่ปฏิบัติตามอานาจหน้าที่และข้อบกพร่องของการควบคุม ซึ่งอาจทาให้มีความเสี่ยงเพิ่มมากขึ้น สำหรับแต่ละวัตถุประสงค์ในการตรวจส อบ 3 ) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 450 ย่อหน้าที่ 12 ถึง 13 เกี่ยวข้องกับการสื่อสารต่อผู้มีหน้าที่ ในการ กากับ ดูแล เรื่องการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง ซึ่งยังไม่ได้รับการแก้ไข การสื่อสารดังกล่าวอาจรวมถึง การสื่อสารเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามอานาจหน้าที่และข้อบ กพร่องของการควบคุม รวมถึงการปฏิบัติ ไม่เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแผนปฏิบัติราชการ ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตาม หน้าที่และอานาจ ใน การตรวจเงินแผ่นดิน ผู้ตรวจสอบอาจจาเป็นต้องสื่อสารเรื่อง ดังกล่าว ต่อหน่วยงาน ภาครัฐอื่นที่มีหน้าที่และอานาจ 4 ) เมื่อผู้ตรวจสอบได้สื่อสารให้ผู้มีหน้าที่ในการกากับดูแลและหน่วยงานภาครัฐอื่นที่มีหน้าที่และอานาจทราบ ตามที่อธิบายใน แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 450 ย่อหน้าที่ 3 ผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแล และหน่วยงานภาครัฐอื่นที่มีหน้าที่และอานาจ อาจคาดหวังให้ผู้ตร วจสอบสื่อสารเกี่ยวกับการแสดงข้อมูล ที่ขัดต่อข้อเท็จจริงทั้งหมด แม้ว่าเรื่องดังกล่าวจะได้รับการแก้ไขแล้วโดยหน่วยงานนั้น ๆ ในการสื่อสารกับ ผู้มีหน้าที่ในการกากับดูแล ผู้ตรวจสอบต้องใช้วิธีการรายงานที่เหมาะสมตามสภาพแวดล้อมของผู้มีหน้าที่ ในการกำกับดูแล และอาจต้อง นำเสนอผลการตรวจสอบรายงานการเงินต่อ หน่วยงานที่ออกกฎหมายด้วย

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 42 14 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาค รัฐ รหัส 450 เรื่อง การประเมินการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงที่พบระหว่างการตรวจสอบ คารับรองของผู้บริหารที่เป็นลายลักษณ์อักษร 5 ) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 450 ย่อหน้าที่ 14 กาหนดให้ผู้ตรวจสอบต้องร้องขอคำรับรองที่เป็น ลายลักษณ์อักษรจากผู้บริหารว่า ผู้บริหารได้พิจารณาผลกระทบจากกา รแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง ซึ่งยังไม่ได้รับการแก้ไขว่าไม่เป็นสาระสาคัญต่อรายงานการเงิน สาหรับผู้ตรวจสอบที่มีความรับผิดชอบ เพิ่มขึ้นเกี่ยวกับการตรวจสอบการปฏิบัติตามอำนาจหน้าที่และประสิทธิผลของการควบคุมภายใน คำรับรองของผู้บริหารเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวอา จรวมอยู่ในเอกสารฉบับเดียวกัน ข้อพิจารณาโดยเฉพาะสำหรับผู้ตรวจสอบในบทบาทที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางกฎหมาย 6 ) ในบางสภาพแวดล้อมของหน่วยงานภาครัฐ เช่น ในกระบวนการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวินัยการเงิน การคลังของรัฐจะมีการนารายงานของผู้สอบบัญชีมาใช้ในการพิจารณา ความรับผิดทางกฎหมายของ ผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเงินการคลังของรัฐ รวมถึงเรื่องที่มีนัยสาคัญต่าง ๆ การไม่ปฏิบัติตามอำนาจหน้าที่และข้อบกพร่องของการควบคุม ดังนั้น ในสภาพแวดล้อมดังกล่าว เมื่อผู้ตรวจสอบประเมินเกี่ยวกับการแสดงข้อมูลที่ ขัดต่อข้อเท็จจริง การไม่ปฏิบัติตามอานาจหน้าที่และ ข้อบกพร่องของการควบคุมที่พบระหว่างการตรวจสอบแล้ว ผู้ตรวจสอบต้องระบุผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบ ตามกฎหมายดังกล่าวและความรับผิดชอบในการปฏิบัติตามข้อกาหนดทางกฎหมายด้วย และปฏิบัติตาม หลักการเกี่ยวกับพยานหลักฐานอย่า งเคร่งครัดเมื่อตรวจสอบพบข้อบกพร่อง หรือการกระทาผิด ถือได้ว่า เป็นการปฏิบัติตามข้อกาหนดที่เกี่ยวข้องในการรวบรวมหลักฐานดังกล่าวเพื่อประกอบการตัดสินคดี ผู้ตรวจสอบต้องรวบรวมหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับข้อบกพร่อง หรือการกระทาผิด ส่งให้หน่วยงานภายใน สำนักงานการตรวจเงิ นแผ่นดินที่รับผิดชอบด้านวินัยการเงินการคลังของรัฐ และให้ความร่วมมือในการดำเนินการ โดยทั่วไป ข้อตรวจพบดังกล่าวจะจัดทาเป็นรายงานการตรวจสอบแยกต่างหากจากรายงานของผู้สอบบัญชี และรายงานข้อเสนอแนะ 7 ) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 450 ย่อหน้าที่ 8 กาหนดให้ผู้ตรวจสอบต้อง แจ้งการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อ ข้อเท็จจริงทั้งหมดที่พบในระหว่างการตรวจสอบให้ผู้บริหารในระดับที่เหมาะสมทราบอย่างทันท่วงที กรณีที่สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน มีหน้าที่และอานาจตามกฎหมายที่จะแจ้งให้หน่วยรับตรวจแก้ไข เกี่ยวกับการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงและการไม่ ปฏิบัติตามอานาจหน้าที่ ผู้ตรวจสอบควรพิจารณา ว่าการใช้อานาจหน้าที่ดังกล่าวมีผลทาให้ขาดความเป็นอิสระหรือไม่ หากมี ผู้ตรวจสอบต้องใช้วิธีการ ที่เหมาะสมเพื่อหลีกเลี่ยงการขาดความเป็นอิสระ

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 43 15 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 500 เรื่อง หลักฐานการสอบบัญชี 15 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 500 เรื่อง หลักฐานการสอ บบัญชี เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 500 เรื่อง หลักฐานการสอบบัญชี สำหรับผู้ตรวจสอบในเรื่อง ดังต่อไปนี้ หลักฐานการสอบบัญชีที่เหมาะสมอย่างเพียงพอ 2 ) หลักฐานการสอบบัญชีบางประเภทอาจได้รับจากการใช้วิธีการ ตรวจสอบโดยการทดสอบการบันทึก ทางบัญชี หลักฐานการสอบบัญชีประกอบด้วยข้อมูลทั้งที่สนับสนุนและยืนยันกับสิ่งที่ผู้บริหารได้ให้ การรับรองไว้ รวมถึงข้อมูลอื่นที่ขัดแย้งกับสิ่งที่ผู้บริหารได้ให้การรับรองไว้ด้วย ในกรณีรายงานการเงิน ของหน่วยงานภาครัฐ โดยมากผู้บริหารอำจให้การรับรองว่า รายการทางบัญชีและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เป็นไปตามกฎหมายหรืออานาจหน้าที่ที่เหมาะสม สิ่งที่ผู้บริหารได้ให้การรับรองดังกล่าวอาจอยู่ในขอบเขต ของการตรวจสอบการเงิน 3 ) ในการพิจารณาข้อมูลจากแหล่งที่เป็นอิสระจากหน่วยงาน ตาม มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 50 0 ย่อหน้าที่ ก 13 ผู้ตรวจสอบ อาจพิจารณาแหล่งข้อมูลว่ามีความเป็นอิสระจากหน่วยรับตรวจ แม้ว่า แหล่งข้อมูลเหล่านั้นมาจากหน่วยงานภายใต้กากับกระทรวงเดียวกันและรายงานไปยังผู้กากับดูแล เดียวกันก็ตาม นอกจากนี้ ลักษณะของข้อมูลเปรียบเทียบระหว่างหน่วยงานภาครัฐอาจรวมถึงข้ อมูลจาก แหล่งอื่น ๆ เช่น การเปรียบเทียบระหว่างแผนงาน/งาน/โครงการที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน หรือตัวชี้วัดผล การดำเนินงาน 4 ) ในการพิจารณาแหล่งข้อมูลของหลักฐานที่ระบุไว้ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 500 ย่อหน้าที่ ก5 ผู้ตรวจสอบอาจพิจารณาถึงหลักฐานที่ได้จากการตรวจสอบผ ลสัมฤทธิ์และประสิทธิภาพการดาเนินงาน หรือ กิจกรรมการตรวจสอบอื่นที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานภาครัฐด้วย ในกรณีที่ผู้ตรวจสอบเชื่อถือหลักฐาน ที่ได้จากการตรวจสอบผลสัมฤทธิ์และประสิทธิภาพการดำเนินงาน ผู้ตรวจสอบต้องประเมินว่า สิ่งที่ผู้บริหารได้ให้การรับรองไว้ ที่ใช้และ วิธีการทดสอบที่ได้ดาเนินการไปแล้ว ในการตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ และประสิทธิภา พ การดาเนินงาน หรือการตรวจสอบอื่น ที่เกี่ยวข้อง เพียงพอสาหรับวัตถุประสงค์ของ การตรวจสอบรายงานการเงินหรือไม่ 5 ) ในกรณีที่หน้าที่และอานาจในการ ตรวจเงินแผ่นดิน ครอบคลุมถึงวัตถุประสงค์ของการตรวจส อบที่เกี่ยวข้อง กับการปฏิบัติตามอานาจหน้าที่ ผู้ตรวจสอบจาเป็นต้องพิจารณาลักษณะและระยะเวลาของวิธีการ ตรวจสอบ ตามที่อธิบายไว้ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 500 ย่อหน้าที่ ก1 6 เช่น เวลาที่ผ่านไปอาจ ส่งผลกระทบต่อการปรับใช้วิธีการตรวจสอบต่าง ๆ เพื่อพิสูจน์ความถูกต้องตา มกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับของรายการ หรือ ประสิทธิผลของการควบคุม

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 44 15 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 500 เรื่อง หลักฐานการสอบบัญชี 6 ) โดยทั่วไป หน่วยงานภาครัฐกาหนดให้มีการควบคุมภายในที่ออกแบบมาเพื่อให้มั่นใจว่ามีการปฏิบัติตาม อานาจหน้าที่ อย่างไรก็ตาม ในกรณีที่หน่วยรับตรวจรับผิดชอบเกี่ยวกับการให้เงินช่วยเหลือ หรือให้ การส นับสนุนด้านการเงินในรูปแบบอื่นแก่หน่วยงานต่าง ๆ ในการปฏิบัติตามอานาจหน้าที่ อาจขึ้นอยู่กับ หน่วยงานที่รับเงินช่วยเหลือได้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขของการรับเงินช่วยเหลือนั้น รวมถึงต้องมี หลักฐานเพิ่มเติมเกี่ยวกับการดาเนินการตามความรับผิดชอบของหน่วยรับตรว จเพื่อให้แน่ใจเกี่ยวกับ รายการที่เกิดขึ้นของการให้เงินช่วยเหลือแก่หน่วยงานอื่น ๆ 7 ) ในการพิจารณาตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 500 ย่อหน้าที่ ก1 7 ผู้ตรวจสอบต้องตระหนักว่า ข้อกาหนดในการเก็บรักษาข้อมูลสาหรับหน่วยงานภาครัฐอาจแตกต่างกันตามเงื่อนไขที่กฎหมายกาหนด ผู้ ตรวจสอบจึงควรศึกษาทาความเข้าใจกฎหมายที่ใช้บังคับเกี่ยวกับการเก็บรักษาข้อมูล 8 ) ในบางสภาพแวดล้อมของหน่วยงานภาครัฐ เช่น ในกระบวนการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวินัยการเงิน การคลังของรัฐ ผู้ตรวจสอบอาจต้องปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแ ผน การปฏิบัติราชการ ที่กาหนดให้ผู้ตรวจสอบต้องทาความเข้าใจและปฏิบัติตามกฎของพยานหลักฐาน อย่างระมัดระวัง ผู้ตรวจสอบต้องทาความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและวิธีการใด ๆ ที่อธิบายถึงข้อกาหนด เพิ่มเติมที่เกี่ยวกับหลักฐานการสอบบัญชี ซึ่งนโยบายและวิธีการดังกล่าวได้ถูกออก แบบมาเพื่อให้มั่นใจว่า ได้มีการปฏิบัติตามอานาจหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ตัวอย่างเช่น ผู้ตรวจสอบที่ปฏิบัติงานในสภาพแวดล้อม ดังกล่าวอาจต้องพิจารณาประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมหลักฐาน ดังต่อไปนี้ • ข้อกำหนดเพิ่มเติมที่กฎหมายบัญญัติไว้เกี่ยวกับหลักฐานการสอบบัญชี • ขอบ เขตของข้อกาหนดเพิ่มเติม (เช่น ข้อกาหนดเพิ่มเติมที่กาหนดไว้ในเอกสารทุกฉบับ ซึ่งเกิดจาก การมอบหมายงานตรวจสอบหรือเอกสารเฉพาะที่เกี่ยวกับประเด็นการตรวจสอบในบางกรณี) • การได้มาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีต้องอยู่ภายใต้ กระบวนการ วิธีการ หรือข้อกำหนดที่เพิ่มเติม • จุดประส งค์ของข้อกาหนดเพิ่มเติมแต่ละข้อตามกระบวนการทางกฎหมายต้องเป็นไปตามขั้นตอน ของการตรวจสอบ • ข้อจากัดใด ๆ ของหลักฐานการสอบบัญชีอาจเนื่องมาจากวิธีการเฉพาะที่ใช้ในการจัดทาหรือรวบรวม หลักฐาน 9 ) แหล่งที่มาของหลักฐานการตรวจสอบที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความเสี่ยงที่เกี่ ยวข้องกับกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ แสดงได้ตามตารางที่ 2

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 45 15 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 500 เรื่อง หลักฐานการสอบบัญชี ตารางที่ 2 ความเสี่ยง และแหล่งที่มาของหลักฐานการสอบบัญชี ความเสี่ยง คาอธิบาย แหล่งที่มาของหลักฐานการสอบ บัญชี (ตัวอย่าง) ความซับซ้อนของ ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติ ราชการ หากระเบียบ ข้อบังคับ มติ คณะ รัฐมนตรี และแบบแผน การปฏิบัติราชการ มีความ ซับซ้อนมาก ความเสี่ยงที่จะเกิด ข้อ ผิดพลาด ย่อมมี มากขึ้น ซึ่ง อาจเกิดจากความเข้าใจผิด หรือ การ ตี ความ ไม่ถูกต้อง หรือ การนำไปใช้อย่างไม่ถูกต้ อง - วิธีปฏิบัติที่จัดทำอย่างเป็น ทางการ และ เป็นลายลักษณ์อักษรที่ได้ มาจาก การนำ ข้อกำหนด ทา งกฎหมาย ไป จัดทำคำแนะนำใน การปฏิบัติงาน - แผน การ ควบคุม การดาเนินโครงการ ที่จัดทา ขึ้น อย่างเป็น ทางการและเป็น ลายลักษณ์อักษร ที่ ผู้ จัดการโครงการ ใช้ในการติดตาม การดำเนินกิจกรรม - รายงำนการสอบทานแผน การ ควบคุม การดาเนินโครงการ และการ ปฏิ บัติงาน ตาม คู่มือ การปฏิบัติงานข องผู้ตรวจสอบ ภายในหรือผู้ตรวจสอบอิสระอื่น กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ที่ออก ใหม่ ก ฎ ห มำ ย ร ะ เ บี ย บ แ ล ะ ข้อบังคับที่ออกใหม่อาจต้องมี การนาขั้นตอนการบริหารและ การควบคุมการปฏิบัติงานแบบ ใหม่มาใช้ ซึ่งอาจส่งผลให้เ กิด ข้ อผิดพลาด ไม่ว่าจะเป็น ข้อผิดพลาดของ การ อ อกแบบ หรือของ การปฏิบัติตามการ ควบคุมที่ถูกกำหนดขึ้น - วิธีปฏิบัติที่จัดทำอย่างเป็น ทางการ และเป็นลายลักษณ์อักษร ที่ ได้ จาก การ นำ ข้อกำหนด ทา งกฎหมายไป จัดทำ เกณฑ์ การจัดทำโครงการ แผน การ ควบคุม การดาเนินโครงการ ที่จัดทำอย่างเป็นทางการและ เป็น ลายลักษณ์อักษร และ การสอบทาน การปฏิบัติตามคำแนะนำแล ะ แผน การ ควบคุม การดำเนินโครงการที่เป็น อิสระ อาจใช้เป็นหลักฐานการสอบ บัญชี เมื่ อมี โครงการ เกิดขึ้ นตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับที่ออก ใหม่

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 46 15 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 500 เรื่อง หลักฐานการสอบบัญชี ตารางที่ 2 ความเสี่ยง และแหล่งที่มาของหลักฐานการสอบบัญชี (ต่อ) ความเสี่ยง คาอธิบาย แหล่งที่มาของหลักฐานการสอบ บัญชี (ตัวอย่าง) โครงการระหว่างประเทศ ( โครงการที่ ได้รับการสนับสนุน จากองค์การสหประชาชาติ สหภาพยุ โรป หรือ หน่วยงาน อื่น) ในกรณี หน่ วยงาน ที่ ให้ การ สนับสนุนเป็นผู้กำหนด หลักเกณฑ์ หรือเงื่อนไข อาจ มี ความเสี่ยง ที่ ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ห รื อ เ งื่ อ น ไ ข รวมทั้งข้อปฏิบัติจะถูก ตีความ ผิดพลาดหรือ ไม่แสดงไว้ใน คำแนะนำที่กำหนด ใช้ ภายใน หน่วยงาน ที่ได้รับการสนับสนุน - แหล่งที่มาของหลักฐำนการสอบ บัญชี ที่ เกี่ยวกับ ความซับซ้อนของ ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผน การปฏิบัติราชการ อาจนามาปรับใช้ กับ ทุก โครงการที่ได้รับการสนับสนุน งาน บริการและ แผนการให้บริการ ที่ให้ บุคคลภายนอก ดำเนินการ แทน ในกรณีที่มีตัวแทนเป็นผู้บริหาร จัดการ โครงการ ส่งผลใ ห้อำนาจ ใน การควบคุมโดยตรง ของ หน่วยรับตรวจลดลง ดังนั้น หน่วยรับตรวจ ต้อง เชื่อมั่นได้ว่า ตัวแทน ได้ปฏิบัติตามอำนาจ หน้าที่ - ข้อตกลง ที่ เป็นลายลักษณ์อักษร ระหว่างหน่วยรับตรวจและตัวแทน ซึ่ง กาหนดวิธีการควบคุมในการบริหาร จัดการ - วิธีปฏิบัติและผลลัพธ์ ที่จัด ทำเป็น ลาย ลักษณ์ อักษร เกี่ยวกับการ ควบคุม การบริหาร จัดการและ การติดตาม กิจกรรมที่ ดำเนินการโดยบุคคล ภายนอก - รายงานการตรวจสอบภายใน ของ หน่วยรับตรวจที่ เกี่ยวกับการสอบทาน ระบบ วิธีปฏิบัติ และการปฏิบัติตาม กฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับ ที่เกี่ยวข้อง ของ บุ คคลภายนอก ที่ ดำเนินการแทน - รายงานกา รให้ความเชื่อมั่นหรือ การปฏิบัติตามวิธีที่ตกลงร่วมกัน โดยผู้ ตรวจสอบ ของบุคคลภายนอก ในด้านรายจ่ายและรายรับหรือ การควบคุมเกี่ยวกับรายจ่ายและ รายรับ

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 47 15 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 500 เรื่อง หลักฐานการสอบบัญชี ตารางที่ 2 ความเสี่ยง และแหล่งที่มาของหลักฐานการสอบบัญชี (ต่อ) ความเสี่ยง คาอธิบาย แหล่งที่มาของหลักฐานการส อบ บัญชี (ตัวอย่าง) รำ ย จ่ำ ย แ ล ะ รำ ย รั บ ที่ ดำเนินการตามหลัก เกณฑ์ การ จ่ายชดเชย หรือการ แสดงสิทธิ หน่วยรับตรวจอาจมีข้อจำกัด บางประการที่ทาให้ไม่สามารถ ยืนยันเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม อานาจหน้าที่ เช่น หลักเกณฑ์ การรับเงินช่วยเหลือ จากหน่วย รับตรวจไม่ได้กำหนดให้มีการ พิสูจน์ สิทธิ โดยตรง - ข้อกำหนด โดยทั่วไปสำหรับ เอกสาร หลักฐานที่ ใช้ พิสูจน์สิทธิเรียกร้อง (ข้อกาหนดดังกล่าวอาจเป็นเงื่อนไขใน การจ่ายเงินช่วยเหลือหรือข้อกาหนดที่ ต้องดาเนินการเมื่อกิจกรรมที่ได้รับเงิน ช่วยเหลือ ดำเนินการ แล้ว เสร็จ ) - รายงานการตรวจสอบ ความถูกต้อง ของข้อมูลผู้มีสิ ทธิ เ รียกร้อง เช่น การยืนยัน คุณสมบัติผู้มีสิทธิเรียกร้อง - วิธีปฏิบัติที่เป็นลายลักษณ์อักษร ที่ใช้ ในการประเมินสถานะทางการเงิน ของผู้มีสิทธิเรียกร้องก่อน การให้ ความช่วยเหลือ และ ใช้ในการ ติดตาม ความสามารถในการ ปฏิบัติตามข้อผูกพัน อย่างต่อเนื่อง - การ รับรอง โดยอิสระจาก ผู้ตรวจสอบ ภายนอก เกี่ยวกับการขอ รับ เงินช่วยเหลือ

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 48 16 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 501 เรื่อง หลักฐานการสอบบัญชี - ข้อพิจารณาเพิ่มเติมเฉพำะรายการ 16 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 501 เรื่อง หลักฐานการสอบบัญชี - ข้อพิจารณาเพิ่มเติมเฉพาะรายการ เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 50 1 เรื่อง หลักฐานการสอบบัญชี - ข้อพิจารณาเพิ่มเติมเฉพาะรายการ สำหรับผู้ตรวจสอบในเรื่องดังต่อไปนี้ (ก) สินค้าคงเหลือ (ข) คดีความและการฟ้องร้อง (ค) ข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน สินค้าคงเหลือ 2 ) โดยทั่วไปสินค้าคงเหลือของภาครัฐมีความแตกต่างจากสินค้าคงเหลือของภาคเอกชน เช่น สินค้าคงเหลือ ในภาครัฐ หลายหน่วยงาน มีไว้เพื่อใช้ในหน่วยงานมากกว่าเพื่อขาย (พิจารณาตามมาตรฐานการบัญชี ที่เกี่ยวข้องกับสินค้าคงเหลือ) ดังนั้น ลักษณะของการควบคุมภายในและความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูล ที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญที่ได้ประเมินไว้อาจแตกต่ำงกันระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน ผู้ตรวจสอบอาจกาหนดวัตถุประสงค์อื่นในการตรวจสอบและพิจารณาสิ่งที่ผู้บริหารได้ให้การรับรองไว้ เพิ่มเติมจากการตรวจสอบความมีอยู่จริงและสภาพของสินค้าคงเหลือ เช่น ความคาดหวังของสาธารณชน ต่อประสิทธิผลของการบริหารสินค้าคงเหลือ 3 ) เมื่ อนาข้อกาหนดตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 501 ย่อหน้าที่ 4 มาใช้เพื่อตัดสินใจว่าจะเข้าสังเกตการณ์ การตรวจนับสินค้าคงเหลือหรือไม่ ผู้ตรวจสอบควรพิจารณาเรื่องที่ได้กล่าวไว้ในย่อหน้าที่ 2 ข้างต้น 4 ) ผู้ตรวจสอบควรพิจารณาผลกระทบที่มีต่อรายงานของผู้สอบบัญชีในกรณีที่ผู้ ตรวจสอบถูกจากัดขอบเขต โดยฝ่ายบริหาร กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ จนไม่สามารถ เข้าร่วมสังเกตการณ์การตรวจนับสินค้าคงเหลือได้ตามข้อกาหนดในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 501 ย่อหน้าที่ 4 หรือไม่สามารถ ขอคายืนยันจากบุคคลภายนอกตามที่ ระบุในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 501 ย่อหน้าที่ 8 และไม่สามารถใช้วิธีการตรวจสอบอื่นได้ ผู้ตรวจสอบอาจตอบสนองต่อการถูกจากัดขอบเขต ในแต่ละกรณีแตกต่างกัน โดยเฉพาะกรณีที่การถูกจำกัดขอบเขตเกิดจากฝ่ายบริหารมากกว่าการถูกจากัด ขอบเขตที่เกิดจากกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ 5 ) ในบางสภาพแวดล้อมของการตรวจสอบหน่วยงานภาครัฐ เช่น ในกระบวนการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ วินัยการเงินการคลังของรัฐ ผู้ตรวจสอบอาจขยายความรับผิดชอบเพื่อระบุผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบต่อ ความมีอยู่จริงและสภาพของสินค้า คงเหลือ รวมถึงการพัฒนาการควบคุมและการนำไปสู่การปฏิบัติจริง ซึ่งอาจ รวมถึงการนำเรื่องเสนอต่อผู้มีอานาจในการกาหนดบทลงโทษ ดังนั้น ผู้ตรวจสอบต้องรวบรวมหลักฐาน ที่เกี่ยวข้องกับข้อบกพร่อง หรือการกระทำผิด ส่งให้หน่วยงานภายในสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ที่รับผิดชอบด้ำนวินัยการเงินการคลังของรัฐ และให้ความร่วมมือในการดำเนินการ โดยทั่วไป ข้อตรวจพบดังกล่าว จะจัดทำเป็นรายงานการตรวจสอบแยกต่างหากจากรายงานของผู้สอบบัญชีและรายงานข้อเสนอแนะ

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 49 16 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 501 เรื่อง หลักฐานการสอบบัญชี - ข้อพิจารณาเพิ่มเติมเฉพำะรายการ คดีความและการฟ้องร้อง 6 ) ในการออกแบบและปฏิบัติตามวิธีการตรวจสอบตามข้อกาหนดในมาตรฐานการสอ บบัญชี รหัส 501 ย่อหน้าที่ 9 และย่อหน้าที่ ก18 ผู้ตรวจสอบอาจมีความรับผิดชอบเพิ่มขึ้นในเรื่องคดีความและการฟ้องร้อง นอกจากนี้อาจมีความไม่ชัดเจน ระหว่างหน่วยงานภาครัฐเกี่ยวกับหนี้สินและภาระผูกพันที่เกิดจากคดีความ และการฟ้องร้อง ดังนั้น ความรับผิดชอบซึ่งอาจรวมถึ งการระบุโอกาสที่จะเกิดการฟ้องร้องในอนาคตและ ผลของการฟ้องร้องที่อาจขยายวงกว้างขึ้นในภาครัฐ ผู้ตรวจสอบอาจสอบถามข้อมูลจากหน่วยงานภาครัฐอื่น เพิ่มเติมนอกเหนือจากฝ่ายบริหารของหน่วยรับตรวจเนื่องจากโครงสร้างและความซับซ้อนของ หน่วยงานภาครัฐ เช่น ในกรณีที่สานักงานอั ยการสูงสุดทาหน้าที่จัดการเกี่ยวกับการฟ้องร้องคดีของรัฐ ผู้ตรวจสอบอาจสอบถามสำนักงานอัยการสูงสุดเพิ่มเติมนอกเหนือจากฝ่ายบริหารของหน่วยรับตรวจ 7 ) หน่วยงานภาครัฐอาจไม่มีบัญชีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับกฎหมายตามที่กล่าวในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 501 ย่อหน้าที่ 9(ค) เนื่ องจากที่ปรึกษากฎหมายภาครัฐ เช่น สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หรือสานักงาน อัยการสูงสุด ให้คำปรึกษาโดยไม่เรียกเก็บ ค่าธรรมเนียมจากหน่วยงานภาครัฐ 8 ) ผู้ตรวจสอบต้องพิจารณาแหล่งข้อมูลอื่นในระหว่างการปฏิบัติงานตรวจสอบเพื่อให้ทราบถึงคดีความ และการฟ้องร้องที่เกี่ยวข้อ งกับหน่วยรับตรวจ เช่น • การรายงานจากสื่อต่าง ๆ • ผลสะท้อนจากสาธารณชนและผู้มีส่วนได้เสีย • ข้อมูลอื่นที่ได้รับจากผู้กำกับดูแล เจ้าหน้าที่พนักงานอัยการ และหน่วยงานสืบสวนอื่น • ข้อมูลจากเจ้าหน้าที่รับเรื่องร้องเรียนและผู้แจ้งเบาะแส • ผลที่เกิดจากการตรวจสอบผลสัมฤทธิ์และ ประสิทธิภาพการดำเนินงานหรือการตรวจสอบลักษณะอื่น 9 ) ตามหน้าที่และอานาจในการ ตรวจ เงินแผ่นดิน เมื่อนาวิธีการตามข้อกาหนดในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 501 ย่อหน้าที่ 10 มาใช้ ผู้ตรวจสอบสามารถติดต่อโดยตรงกับที่ปรึกษากฎหมายภายนอกของหน่วย รับตรวจ เช่น สำนักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกา หรือสำนักงานอัยการสูงสุด โดยไม่ต้องได้รับความยินยอม จากฝ่ายบริหารของหน่วยรับตรวจ นอกจากนี้ ผู้ตรวจสอบต้องพิจารณาถึงความเป็นอิสระและความเป็น กลางของที่ปรึกษากฎหมาย ซึ่งอาจเป็นหน่วยงานภายในของหน่วยรับตรวจที่ตรวจสอบหรือเป็น หน่วยงานภายในของหน่วยรับตรวจอื่ น ในกรณีที่มีข้อสงสัยเกี่ยวกับความเป็นอิสระและความเป็นกลาง ของที่ปรึกษากฎหมาย ผู้ตรวจสอบต้องพิจารณาการขอข้อมูลทางกฎหมายจากแหล่งอื่น 10 ) ในการติดต่อโดยตรงไปยังที่ปรึกษากฎหมายภายนอกของหน่วยรับตรวจโดยผ่านหนังสือสอบถามในเรื่อง ทั่วไปหรือเรื่องใดโดยเฉพาะตามที่ก ล่าวใน มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 501 ย่อหน้าที่ ก22 และ ก23 ผู้ตรวจสอบอาจสอบถามเรื่องเฉพาะอื่น ๆ ร่วมไปด้วยในกรณีที่แม่บทการรายงานทางการเงิน ที่เกี่ยวข้องได้บัญญัติไว้ เช่น การสอบถามว่าการดำเนินงานของหน่วยรับตรวจอยู่ภายใต้หน้าที่และอานาจ ตามกฎหมายหรือไม่

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 50 16 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 501 เรื่อง หลักฐานการสอบบัญชี - ข้อพิจารณาเพิ่มเติมเฉพำะรายการ ข้ อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน 11 ) การแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูลทางการเงินจาแนกตามส่วนงานอาจไม่ได้กาหนดไว้ในบางแม่บท การรายงานทางการเงิน หรือไม่เกี่ยวข้องในบริบทของหน่วยงานภาครัฐบางหน่วย อย่างไรก็ตาม อาจมี ข้อมูลอื่นที่มีลักษณะใกล้เคียงกันกับข้อมูลทางการเ งินจำแนกตามส่วนงานที่กำหนดโดยกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ หรือแม่บทการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง เช่น มีข้อกาหนดให้หน่วยงานภาครัฐรายงานเกี่ยวกับรายได้และรายจ่าย จาแนกตามแหล่งเงินทุน เงินที่ได้รับการจัดสรร แผนงาน หรื อประเภทรายการ ซึ่งผู้ตรวจสอบควรตรวจสอบข้อมูลดังกล่าวด้วย ในสถานการณ์เช่นนี้ ผู้ตรวจสอบอาจแสดงความเห็นต่อข้อมูลทางการเงินจาแนกตามส่วนงานหรือข้อมูล ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน ไม่ว่าจะเป็นส่วนหนึ่งของการแสดงความเห็นในรายงานของผู้สอบบัญชี ในภาพรวมหรือในรายงานกา รตรวจสอบข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 51 17 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 505 เรื่อง การขอคายืนยันจากบุคคลภายนอก 17 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 505 เรื่อง การขอคำยืนยันจากบุคคลภายนอก เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 505 เรื่อง การขอคายืนยันจำก บุคคลภายนอก สำหรับผู้ตรวจสอบในเรื่องดังต่อไปนี้ ( ก) ขั้นตอนการขอคำยืนยันจากบุคคลภายนอกเพื่อให้ได้มาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชี ( ข) ผู้บริหารของหน่วยรับตรวจไม่ยินยอมให้ผู้ตรวจสอบส่งคำขอยืนยัน ขั้นตอนการขอคำยืนยันจากบุคคลภายนอกเพื่อให้ได้มาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชี 2) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 505 ย่อหน้าที่ ก 1 และมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 330 เรื่อง วิธีปฏิบัติ ของผู้สอบบัญชีในการตอบสนองความเสี่ยงที่ได้ประเมินไว้ ย่อหน้าที่ ก 50 ระบุว่า การขอคายืนยันทาให้ ได้มาซึ่งหลักฐานเกี่ยวกับเงื่อนไขบางอย่างที่ปรากฏหรือไม่ปรากฏอยู่ ในสัญญาหรือข้อตกลง (ตัวอย่างเช่น “ สัญญาแนบท้าย ” ซึ่งไม่รวมอยู่ในสัญญาหรือข้อตกลงที่เป็นลายลักษณ์อักษร) นอกจากสิ่งที่ผู้บริหารได้ ให้การรับรองไว้เกี่ยวกับการตรวจสอบรายงานการเงินแล้ว ผู้ตรวจสอบอาจพบว่าการขอคายืนยันจะเป็น ประโยชน์ต่อการได้มาซึ่งหลักฐานที่เกี่ยว ข้องกับวัตถุประสงค์การตรวจสอบที่เกิดขึ้นจากหน้าที่และ อานาจ ในการ ตรวจเงินแผ่นดิน หรือเกิดจากกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผน การ ปฏิบัติราชการ ข้อกาหนดตามนโยบายของรัฐบาล หรือมติของ หน่วยงานที่ออกกฎหมาย เช่น การขอ คำยืนยันจากบุคคลภายนอกเพื่อให้ไ ด้มาซึ่งหลักฐานเกี่ยวกับ • การระบุหรือไม่ระบุเงื่อนไขตามกฎหมายหรือเรื่องและเงื่อนไขอื่น ๆ ของข้อตกลงหรือสัญญาที่มีอยู่กับ บุคคลภายนอก เช่น การรับประกันหรือการค้าประกันในการดำเนินงานหรือการจัดหาเงินทุน • ข้อผูกพันเกี่ยวกับรายจ่ายที่ยังไม่ได้รับการอนุมัติจากผู้มี อานาจตามกฎหมาย • สิทธิของบุคคลที่ได้รับอย่างต่อเนื่องในส่วนของเงินบานาญ เงินช่วยเหลือค่าครองชีพ เงินรายปี หรือ เงินที่จ่ายอย่างต่อเนื่องในลักษณะอื่น • การระบุเงื่อนไขหรือข้อตกลงเพิ่มเติมกับผู้ขายสินค้าเกี่ยวกับการส่งคืนสินค้าที่กาหนดให้รับเงินคืน ในปีต่อไป 3) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 505 ย่อหน้าที่ 6( ก) ผู้ตรวจสอบต้องระมัดระวังในการขอคายืนยัน เพื่อให้ เกิดความมั่นใจว่าคาขอยืนยันนั้นได้ส่งตรงไปยังบุคคลภายนอกซึ่งมีความเป็นอิสระจากหน่วยรับตรวจ และคำตอบที่ได้รับจะมีความน่าเชื่อถือหากผู้ตรวจสอบทราบข้อมูลเกี่ยวกับความ สัมพันธ์ระหว่าง หน่วยรับตรวจกับผู้ให้คำยืนยัน อย่างไรก็ตาม ผู้ตรวจสอบอาจพิจารณาว่าหน่วยงานที่เป็นแหล่งข้อมูลนั้น เป็นอิสระจากหน่วยรับตรวจ แม้ว่าหน่วยรับตรวจและหน่วยงานที่เป็นแหล่งข้อมูลนั้นจะรายงานข้อมูล ไปยังผู้มีอานาจทางกฎหมายเดียวกัน ในสถานการณ์เช่นนี้ ผู้ตรวจสอบต้องประเมินและพิจารณาเอกสาร หลักฐานประกอบการตรวจสอบเพิ่มเติมที่แสดงถึงความเป็นอิสระของหน่วยรับตรวจและหน่วยงานที่เป็น แหล่งข้อมูล

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 52 17 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 505 เรื่อง การขอคายืนยันจากบุคคลภายนอก ผู้บริหารของหน่วยรับตรวจไม่ยินยอมให้ผู้ตรวจสอบส่งคำขอยืนยัน 4) นอกจากข้อกาหนดในการสื่อสารกับผู้มีหน้าที่ในการกากับดูแ ล ตามที่ระบุไว้ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 505 ย่อหน้าที่ 9 ผู้ตรวจสอบอาจพิจารณาแจ้ง หน่วยงานที่ออกกฎหมาย หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใน กรณีที่ผู้บริหารไม่ยินยอมให้ผู้ตรวจสอบส่งคาขอยืนยันซึ่งมีผลกระทบโดยตรงต่อการประเมินความเสี่ยง และข้อสรุปความเสี่ยงในการตรวจสอบที่ จัดทำขึ้น

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 53 18 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 510 เรื่อง การตรวจสอบยอดยกมาในการสอบบัญชีครั้งแรก 18 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 510 เรื่อง การตรวจสอบยอดยกมาในการสอบบัญชีครั้งแรก เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 510 เรื่อง การตรวจสอบยอดยกมาใน การสอบบัญ ชีครั้งแรก สำหรับผู้ตรวจสอบในเรื่องดังต่อไปนี้ การตรวจสอบรายงานการเงินครั้งแรก 2 ) การสอบบัญชีรายงานการเงินครั้งแรก อาจเกิดเมื่อมีหน่วยงานเข้ามาอยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐ โดยไม่มีผล ให้ต้องเปลี่ยนรูปแบบขององค์กรหรือเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงหน้าที่และอานาจในการ ตรวจเงินแผ่นดิน ซึ่ง ทาให้มีหน่วยรับตรวจหรือขอบเขตการตรวจสอบที่เพิ่มขึ้น นอกจากนี้การตรวจสอบรายงานการเงินครั้งแรก อาจเกิดขึ้นในกรณีที่มีการจัดตั้งหน่วยงานภาครัฐขึ้นใหม่ ซึ่งข้อกาหนดทางกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ หรือแม่บ ทการรายงานทางการเงินกำหนดให้มี การตั้งยอดยกมาจากยอดคงเหลือของงวดก่อนทั้งหมดหรือบางส่วนที่เคยได้รับการตรวจสอบจากผู้ตรวจสอบ คนก่อน

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 54 19 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 520 เรื่อง การวิเคราะห์เปรี ยบเทียบ 19 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 520 เรื่อง การวิเคราะห์เปรียบเทียบ เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1) แนวปฏิบั ติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 520 เรื่อง การวิเคราะห์เปรียบเทียบ สำหรับผู้ตรวจสอบในเรื่องดังต่อไปนี้ ( ก) การวิเคราะห์เปรียบเทียบ ( ข) วิธีการตรวจสอบเนื้อหาสาระโดยใช้การวิเคราะห์เปรียบเทียบ ( ค) การตรวจสอบผลที่ได้จากการวิเคราะห์เปรียบเที ยบ การวิเคราะห์เปรียบเทียบ 2) ผู้ตรวจสอบสามารถนาการวิเคราะห์เปรียบเทียบมาใช้ในการประเมินความเสี่ยง การตรวจสอบเนื้อหาสาระ หรือจัดทาการสรุปผลในภาพรวม โดยผู้ตรวจสอบอาจนาความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกันมาร่วมพิจารณาด้วย ตัวอย่างเช่น • รายจ่ายจริงเปรียบเทียบกับงบปร ะมาณที่ได้รับการจัดสรร • ข้อมูลสถิติประชากรเปรียบเทียบกับการจ่ายผลประโยชน์ต่าง ๆ เช่น เงินช่วยเหลือด้านการศึกษา เงินบำนาญ • รายได้จากการจัดเก็บภาษีเปรียบเทียบกับข้อมูลสถิติประชากรหรือภาวะทางเศรษฐกิจหรือตัวชี้วัดอื่น • สัดส่วนของดอกเบี้ยที่เกิดจากหนี้สาธารณะเมื่ อเทียบกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมของรัฐบาล • ความสัมพันธ์ระหว่างผลลัพธ์กับรายจ่ายในกรณีที่มีข้อมูลเกี่ยวกับการดาเนินงานรวมเป็นส่วนหนึ่ง ของรายงานการเงิน • ตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจและตัวชี้วัดทางประชากรศาสตร์เปรียบเทียบกับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลสาหรับ การพัฒนาด้านเศรษฐ กิจและสังคม เช่น เงินอุดหนุนสำหรับเกษตรกร หรือประชากรกลุ่มเปราะบาง 3) การวิเคราะห์เปรียบเทียบดังกล่าวควรมีรายละเอียดในระดับที่เหมาะสมเพื่อให้การวิเคราะห์เปรียบเทียบ มีประสิทธิผล วิธีการตรวจสอบเนื้อหาสาระโดยใช้การวิเคราะห์เปรียบเทียบ 4) ในการออกแบบวิธีการวิ เคราะห์เปรียบเทียบ ผู้ตรวจสอบอาจพิจารณาข้อมูลที่ได้มาและข้อสรุปที่ได้จาก กิจกรรมการตรวจสอบที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการตรวจสอบผลสัมฤทธิ์และประสิทธิภาพการดาเนินงานและ การตรวจสอบอื่น ในกรณีที่ผู้ตรวจสอบตัดสินใจว่าจะเชื่อถือในกิจกรรมการตรวจสอบอื่น ผู้ตรวจสอบ ควรประเ มินว่าวัตถุประสงค์ในการตรวจสอบ สิ่งที่ผู้บริหารได้ให้การรับรองไว้ และการปฏิบัติงาน ตรวจสอบนั้น ๆ มีความเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบรายงานการเงินหรือไม่

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 55 19 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 520 เรื่อง การวิเคราะห์เปรี ยบเทียบ 5) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 520 ย่อหน้าที่ ก 16 การกาหนดจานวนเงินที่ยอมรับได้ของผู้ตรวจสอบ จะกาหนดจำกความมีสาระสาคัญ สำหรับหน่วยงานภาครัฐต้องพิจารณาหน้าที่และอานาจในการ ตรวจเงิน แผ่นดิน และความคาดหวังจากสาธารณชน รวมถึงข้อพิจารณาอื่น ๆ ด้วย 6) ในการประเมินความเชื่อถือได้ของข้อมูล ตามที่อ้างถึงในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 520 ย่อหน้าที่ ก 12 ( ก) ผู้ตรวจสอบอาจใช้ ข้อมูลที่ได้รับจากหน่วยงานภาครัฐอื่น ๆ แม้ว่าหน่วยงานดังกล่าวจะรายงานต่อ ผู้กากับดูแลเดียวกันก็ตาม เช่น การประเมินความเชื่อถือได้ของข้อมูลเปรียบเทียบในหน่วยงานภาครัฐ อาจรวมถึงการเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างหน่วยงานหรือแผนงาน/งาน/โครงการที่คล้ายคลึงกัน 7) ในกำรพิจารณาใช้ข้อปฏิบัติในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 520 ย่อหน้าที่ ก 13 สาหรับการวิเคราะห์ เปรียบเทียบ ผู้ตรวจสอบควรมีความเข้าใจในระบบการควบคุมที่ถูกออกแบบไว้และอาจจาเป็นต้อง ทดสอบความมีประสิทธิผลในการปฏิบัติตามระบบการควบคุมของข้อมูลที่ไม่ใช่ข้อมูลทางการเงินของ หน่ วยงานที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์เปรียบเทียบ การตรวจสอบผลที่ได้จากการวิเคราะห์เปรียบเทียบ 8) ผู้ตรวจสอบควรพิจารณาว่าอาจมีความรับผิดชอบเพิ่มเติม หากฝ่ายบริหารไม่สามารถอธิบายผลแตกต่าง ที่ได้จากการวิเคราะห์เปรียบเทียบตามที่อ้างถึงในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 520 ย่ อหน้า ก 21 ในบางสภาพแวดล้อมของการตรวจสอบ เช่น ในกระบวนการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวินัยการเงิน การคลังของรัฐ ผู้ตรวจสอบอาจจาเป็นต้องตรวจสอบเพิ่มเติมเกี่ยวกับเหตุผลของข้อมูลที่ขาดหายไป และระบุตัวผู้รับผิดชอบ และผู้ตรวจสอบต้องรวบรวมหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับกา รปฏิบัติไม่เป็นไปตาม กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ หรือการกระทาผิด ส่งให้หน่วยงานภายในสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินที่รับผิดชอบด้านวินัยการเงินการคลังของรัฐ และให้ความร่วมมือในการดาเนินการโดยทั่วไปข้อตรวจพบดังกล่าวจะจัดทาเป็ นรายงานการตรวจสอบ แยกต่างหากจากรายงานของผู้สอบบัญชีและรายงานข้อเสนอแนะ

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 56 20 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 530 เรื่อง การเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชี 20 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 530 เรื่อง การเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชี เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหั ส 530 เรื่อง การเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชี สำหรับผู้ตรวจสอบในเรื่องดังต่อไปนี้ (ก) การกาหนดตัวอย่าง ขนาดและการเลือกรายการเพื่อทดสอบ (ข) ลักษณะและสาเหตุของการเบี่ยงเบนและการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง (ค) การประมาณการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง (ง) การ ประเมินผลการเลือกตัวอย่าง การกำหนดตัวอย่าง ขนาดและการเลือกรายการเพื่อทดสอบ 2 ) เมื่อกำหนดตัวอย่างในการสอบบัญชี ตามที่ระบุในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 530 ย่อหน้าที่ 6 ผู้ตรวจสอบต้องพิจารณาถึงความรับผิดชอบตามหน้าที่และอานาจที่อาจเพิ่มขึ้น โดยอาจกาหนดตัวแปร ที่ ใช้พิจารณาในการตรวจสอบในระดับที่แตกต่างกัน ซึ่งรวมถึงความมีสาระสาคัญและระดับความเชื่อมั่น ที่สูงขึ้นอันอาจมีผลกระทบต่อขนาดตัวอย่าง ผู้ตรวจสอบอาจกาหนดกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบ การควบคุมและที่ใช้ในการทดสอบการปฏิบัติตามกฎหมายแยกจากกันหรือใช้กลุ่มตัวอย่าง เดียวกัน เช่น กลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงินอาจใช้ในการทดสอบการควบคุมเรื่องการเบิกจ่ายเงินและทดสอบว่า การเบิกจ่ายเงินดังกล่าวเป็นไปตามอานาจหน้าที่ที่กาหนด หรือไม่ 3 ) ผู้ตรวจสอบหน่วยงานภาครัฐส่วนใหญ่จะพิจารณาถึงความจาเป็นในการเลือกตัวอย่างจากข้อมูลที่ ไม่ใช่ ข้อมูลทางการเงินมากกว่าผู้ ตรวจสอบ ภาคเอกชน เนื่องจากวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบหน่วยงาน ภาครัฐที่เพิ่มขึ้น เช่น การทดสอบการปฏิบัติตามกฎหมายและการสอบทานข้อมูลที่ไม่ใช่ข้อมูลทางการเงิน ที่ปรากฏในรายงานการเงิน ผู้ตรวจสอบอาจต้องพิจารณาว่าการเลือกตัวอย่างมีปร ะโยชน์ต่อการทดสอบ ข้อมูลที่ไม่ใช่ข้อมูลทางการเงินที่ปรากฏในรายงานการเงินหรือไม่ ตัวอย่างของข้อมูลที่ไม่ใช่ข้อมูลทางการเงิน อาจเป็นข้อมูลตามนโยบายหรือมาตรการของรัฐ 4 ) ผู้ตรวจสอบอาจมีหน้าที่และอานาจในการรายงานข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเลือกตัวอย่างในการสอบบั ญชี และอาจรวมถึงการรายงานวิธีการที่ใช้ในการเลือกตัวอย่างว่าผลลัพธ์ที่ได้จากการทดสอบตัวอย่างสามารถ นาไปใช้ในการคาดการณ์ถึงประชากรทั้งหมดได้หรือไม่ ในกรณีที่สามารถนาไปใช้ได้ ให้ถือว่าผลลัพธ์ที่ได้ จากการทดสอบตัวอย่างเป็นผลลัพธ์ที่ได้จากการทดสอบประชากรทั้งหมด ทั้ งนี้ ผู้ตรวจสอบอาจพิจารณา ถึงความจำเป็นในการตัดสินใจว่าจะใช้วิธีทางสถิติหรือวิธีที่ไม่ใช่ทางสถิติ

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 57 20 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 530 เรื่อง การเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชี ลักษณะและสาเหตุของการเบี่ยงเบนและการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง 5 ) ในการวิเคราะห์การเบี่ยงเบนและการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงที่ตรวจพบตามที่กล่าวไว้ ในมาตรฐาน การสอบบัญชี รหัส 530 ย่อหน้าที่ ก17 ผู้ตรวจสอบอาจพิจารณาขยายการตรวจสอบและความรับผิดชอบ ในการรายงานเกี่ยวกับการทุจริต ตามแนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 240 เรื่อง ความรับผิดชอบ ของผู้ ตรวจสอบ เกี่ยวกับ การพิจารณาการทุจริตในการตรวจสอบ รายงาน การเงิ น ซึ่งให้ข้อมูลเพิ่มเติม สาหรับผู้ตรวจสอบที่เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบของผู้ตรวจสอบที่เกี่ยวกับการทุจริตในการตรวจสอบ รายงานการเงิน การประมาณการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง 6 ) เมื่อมีการเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชีสำหรับการทดสอบการควบคุม ผู้ตรวจสอบอาจจำเป็น ต้องประมาณอัตราความเบี่ยงเบนของกลุ่มประชากร รวมถึงช่วงความเชื่อมั่นและรายงานผลการทดสอบ ตัวอย่างตามที่ได้กล่าวไว้ในย่อหน้าที่ 4 ข้างต้น ในบางสถานการณ์ การรายงานอัตราการเบี่ยงเบน อาจ จำเป็นต้องอธิบายเกี่ยวกับความไม่เพียงพอของการควบคุมภายในหรือการไม่ปฏิบัติตามอา นาจหน้าที่ การประเมินผลการเลือกตัวอย่าง 7 ) นอกจากข้อปฏิบัติที่กล่าวไว้ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 530 ย่อหน้าที่ ก23 ผู้ตรวจสอบต้องพิจารณา ถึงความรับผิดชอบตามหน้าที่และอานาจเมื่อผู้บริหารของหน่วยรับตรวจไม่สามารถให้คาอธิบายอย่าง เพียงพอเกี่ยวกับการเบี่ยงเบนและ การแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง เช่น ในบางสถานการณ์ ผู้ตรวจสอบ อาจจาเป็นต้องตรวจสอบโดยรวบรวมพยานหลักฐานเพิ่มเติมเกี่ยวกับสาเหตุที่ข้อมูลขาดหายไปและ ระบุตัวผู้รับผิดชอบ 8 ) นอกจากข้อปฏิบัติที่กล่าวไว้ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 530 ย่อหน้าที่ ก23 (หัวข้อย่อยที่ 2) ผู้ตรวจสอบหน่วยงานภาครัฐต้องพิจารณาความรับผิดชอบเพิ่มเติมตามที่อธิบายไว้ในแนวปฏิบัติ การตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 210 เรื่อง ข้อตกลงในการรับงานสอบบัญชี ย่อหน้าที่ 6

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 58 21 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 540 (ปรับปรุง) เรื่อง การตรวจสอบประมาณการทางบัญชีและการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 21 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 540 ( ปรับปรุง) เรื่อง การตรว จสอบประมาณการทางบัญชีและการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1 ) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 540 ( ปรับปรุง) เรื่อง การตรวจสอบ ประมาณการทางบัญชีและการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้อง สำหรับผู้ตรวจสอบในเรื่องดังต่อไป นี้ (ก) ลักษณะของประมาณการทางบัญชี (ข) วัตถุประสงค์ (ค) วิธีการประเมินความเสี่ยงและกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง (ง) การตอบสนองต่อความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญที่ได้ประเมินไว้ (จ) ข้อบ่งชี้ถึงความลำเอียงของผู้บริหารที่อาจเกิดขึ้น ( ฉ) หนังสือรับรอง (ช) เอกสารหลักฐาน ลักษณะของประมาณการทางบัญชี 2 ) การพิจารณาว่าจะใช้ประมาณการทางบัญชีของหน่วยงานภาครัฐเมื่อใดและอย่างไร ขึ้นอยู่กับประเภท ของรายการทางการเงินที่ต้องรายงานและการปฏิบัติตามแม่บทการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง การประมาณการในห น่วยงานภาครัฐที่สาคัญบางรายการอาจเกี่ยวข้องกับสินทรัพย์ หนี้สิน และการเปิดเผย ข้อมูล เช่น • โครงการประกันสังคม • โครงการบำเหน็จบานาญข้าราชการ • โครงการด้านสาธารณสุข • โครงการผลประโยชน์ตอบแทนแก่ทหารผ่านศึก • โครงการรับประกันของรัฐบาล • ภาระผูกพันด้านสิ่งแวดล้อม • รายได้ภา ษีอากรและลูกหนี้ภาษีอากร • ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์บางอย่าง เช่น สินทรัพย์เฉพาะทางการทหาร และสินทรัพย์มรดกทาง วัฒนธรรม 3 ) เนื่องจากลักษณะของการดาเนินงานในภาครัฐ การประมาณการทางบัญชีบางรายการของหน่วยงาน ภาครัฐอาจมีระดับความไม่แน่นอนของประมาณการในระดับสูง เช่น กา รค้ำประกันเงินกู้ยืม หรือ ค้ำประกันหน่วยงานที่ประสบปัญหาทางการเงิน

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 59 21 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 540 (ปรับปรุง) เรื่อง การตรวจสอบประมาณการทางบัญชีและการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 4 ) ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมที่กล่าวไว้ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 540 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ ก72 - ก75 การวัด มูลค่ายุติธรรมในหน่วยงานภาครัฐไม่ได้กาหนดให้ต้องปฏิบัติตามแม่บทการรายงานทางการเงินที่เกี่ ยวข้อง เสมอไป ในกรณีดังกล่าว ผู้ตรวจสอบต้องประเมินว่าวิธีการวัดมูลค่าแบบอื่นที่นามาใช้นั้นสอดคล้องกับ แม่บทการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องหรือไม่ และไม่ทำให้เกิดความเข้าใจผิด วัตถุประสงค์ 5 ) การพิจารณาวัตถุประสงค์ของมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 540 (ปรับปรุง) ย่ อหน้าที่ 11 เพื่อให้ได้มา ซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีที่เหมาะสมอย่างเพียงพอเกี่ยวกับประมาณการทางบัญชีและการเปิดเผยข้อมูล ที่เกี่ยวข้องในรายงานการเงินนั้นสมเหตุสมผลภายใต้แม่บทการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องหรือไม่ ผู้ตรวจสอบจำเป็นต้องพิจารณาในเรื่องดังต่อไปนี้ • แม่บทการรายงานทางการเงินอาจกำหนดให้เปิดเผยข้อมูลที่ไม่ใช่ข้อมูลทางการเงิน เช่น ผล การดาเนินการของโครงการและข้อมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติงานด้านอื่น ๆ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้อาจเกิดจาก การประมาณการ • หนี้สิน/ภาระผูกพันบางประเภท เช่น การค้าประกันตามนโยบายของรัฐบาล ที่ มีความไม่แน่นอนของ ประมาณการอยู่ในระดับสูง ซึ่งแม่บทการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องไม่ได้กาหนดให้รับรู้รายการ ดังกล่าวแต่กาหนดให้เปิดเผยข้อมูลเหล่านั้น อย่างไรก็ตาม กรณีที่หนี้สิน/ภาระผูกพันนั้นมีผลกระทบ ต่อความต่อเนื่องของโครงการภาครัฐ ผู้ตรวจสอบอาจนำประเ ด็นดังกล่าวไปแสดงไว้ในวรรคเน้นข้อมูล และเหตุการณ์ หรือวรรคเรื่องอื่นในรายงานของผู้สอบบัญชี • เนื่องจากความซับซ้อน ลักษณะ และองค์ประกอบของการใช้ดุลยพินิจของผู้บริหาร ผู้ตรวจสอบ ควรรายงานสถานการณ์ดังกล่าวในวรรคเรื่องสาคัญในการตรวจสอบ ตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหั ส 701 เรื่อง การสื่อสารเรื่องสำคัญในการตรวจสอบในรายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต วิธีการประเมินความเสี่ยงและกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง 6 ) ในหน่วยงานภาครัฐ จำนวนเงินที่เกิดขึ้นจริงจากการประมาณการหนี้สินระยะยาวอาจไม่ทราบได้ ในรอบระยะเวลาถัด ๆ ไป เช่น ภาระหนี้สินจากกำรประกันสังคมที่ยังคงมีต่อเนื่องไปอีกหลายปีในอนาคต ดังนั้น ผู้ตรวจสอบอาจไม่สามารถใช้วิธีการตรวจสอบเหตุการณ์ภายหลังวันที่ใน รายงาน การเงินสาหรับ ประเมิน ภาระหนี้สินเหล่านั้นได้ โดยทั่วไป หน่วยงานภาครัฐสามารถใช้ข้อมูลของงวดก่อน ๆ ในการจัดทา ประมาณการ ซึ่งผู้ตรวจส อบอาจนาข้อมูลเหล่านั้นมาใช้ในการวิเคราะห์แนวโน้มเพื่อให้ทราบความถูกต้อง ของการประมาณการ แนวโน้มเหล่านี้อาจเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 540 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ ก55 ถึง ก60 การตอบสนองต่อความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเ ป็นสาระสำคัญที่ได้ประเมินไว้ 7 ) เมื่อพิจารณาว่ามีความจำเป็นต้องใช้ทักษะและความรู้เฉพาะทางในลักษณะใดลักษณะหนึ่งหรือ หลายลักษณะในการประมาณการทางบัญชีหรือไม่ เพื่อให้ได้มาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีที่เหมาะสม อย่างเพียงพอสาหรับการประมาณการทางบัญชีตามที่กาหนดไว้ในมำตรฐานการสอบบัญชี รหัส 540 (ปรับปรุง)

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 60 21 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 540 (ปรับปรุง) เรื่อง การตรวจสอบประมาณการทางบัญชีและการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ย่อหน้าที่ 15 การพิจารณาของผู้ตรวจสอบเกี่ยวกับความจาเป็นในการใช้ทักษะเฉพาะทางอาจเกี่ยวข้อง กับการประมาณการ เช่น โครงการประกันสังคม โครงการบาเหน็จบานาญข้าราชการ และโครงการ ผลประโยชน์ตอบแทนแก่ทหารผ่านศึก เป็นต้น กรณีดังกล่ำว หากต้องใช้ผลงานของผู้เชี่ยวชาญ ให้ผู้ตรวจ สอบปฏิบัติ ตามแนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 620 เรื่อง การใช้ผลงานของผู้เชี่ยวชาญของ ผู้ ตรวจสอบ 8 ) เมื่อประเมินการประมาณการทางบัญชีตามที่กาหนดไว้ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 540 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ 24(ง) ผู้ ตรวจสอบพิจารณาแล้วพบว่า ผู้บริหารอาจไม่อยู่ในฐานะที่จะดาเนินการกำหนด ประมาณการทางบัญชีเองได้การตัดสินใจตามที่กล่าวในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 315 (ปรับปรุง 2564 ) เรื่อง การระบุและประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญ โดยการทา ความเข้าใจ หน่วยงาน และสภาพแวดล้อมของ หน่วยงาน เกี่ยวกับการดาเนินการกาหนด ประมาณการทางบัญชีอาจจัดทาขึ้นนอกเหนือการควบคุมของหน่วยรับตรวจซึ่งเป็นผลมาจากกระบวนการ ทางการเมือง ในสถานการณ์ดังกล่าว ผู้ตรวจสอบอาจต้องพิจารณาความเพียงพอและเหมาะสมของหลักฐาน การสอบบัญชีแล ะผลกระทบใด ๆ ที่มีต่อการสรุปผลของผู้ตรวจสอบต่อรายงานทางการเงิน 9 ) เมื่อรายงานการเงินของหน่วยงานภาครัฐแสดงประมาณการที่มีจานวนเงินสูง ซึ่งอาจมีความไม่แน่นอน ของประมาณการสูงด้วย ผู้ตรวจสอบจาเป็นต้องประเมินความเพียงพอของการเปิดเผยข้อมูลสาหรับ ความไม่แน่นอนของปร ะมาณการดังกล่าว และผลกระทบต่อรายงานของผู้สอบบัญชี ข้อบ่งชี้ถึงความลำเอียงของผู้บริหารที่อาจเกิดขึ้น 10 ) ผู้ตรวจสอบสอบทานการใช้ดุลยพินิจและการตัดสินใจของผู้บริหารในการจัดทาประมาณการทางบัญชี เพื่อระบุว่า มีข้อบ่งชี้ที่แสดงถึงความลาเอียงที่อาจเป็นไปได้ของผู้บ ริหารหรือไม่ ตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 540 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ 32 ในกระบวนการนี้ ผู้บริหารสามารถกำหนดข้อสมมติตามข้อมูลประเภท ต่าง ๆ ที่ได้มาจากแหล่งข้อมูลภายในและภายนอก ซึ่งความเกี่ยวข้องและความน่าเชื่อถือของข้อมูล จะแปรผันตามแหล่งข้อมูล ข้อสมมติเฉพาะจะ แตกต่างกันไปตามลักษณะของสินทรัพย์หรือหนี้สิน ที่จะประเมินวิธีการประเมินที่ใช้ (เช่น เปรียบเทียบราคาตลาด หรือการดาเนินงาน) และข้อกาหนดของ แม่บทการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง ในการดาเนินการนี้ ผู้ตรวจสอบอาจพิจารณามูลเหตุของ ความลำเอียงที่อาจเกิดขึ้นในหน่วย งานภาครัฐ เช่น • แรงจูงใจทางการเมืองที่มีอิทธิพล • สภาพแวดล้อมทางการเมืองและเศรษฐกิจที่มีการเปลี่ยนแปลงหรือมีความไม่แน่นอน • ความคาดหวังของสาธารณชนที่เพิ่มขึ้น • ความคาดหวังที่สูงกว่าปกติที่จะให้เป็นไปตามงบประมาณ • แรงกดดันในการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ของภาครัฐ เช่น เป้ำหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน • การปรับลดงบประมาณที่ไม่สอดคล้องกับคาดหวังในการรับบริการของประชาชน • การร่วมทุนระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน • ความผิดพลาดที่ยอมรับได้ของข้อมูลทางการเงิน

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 61 21 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 540 (ปรับปรุง) เรื่อง การตรวจสอบประมาณการทางบัญชีและการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 11 ) ผู้ตรวจสอบที่ปฏิบัติงานในบางสภาพแวดล้อม เช่น ในกระบวนการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกั บ วินัยการเงินการคลังของรัฐอาจต้องมีความรับผิดชอบเพิ่มขึ้นเมื่อต้องวินิจฉัยเจตนาในการบิดเบือน ข้อเท็จจริงของผู้บริหาร ส่วนใหญ่ความรับผิดชอบดังกล่าวรวมถึงการระบุถึงบุคคลที่ต้องรับผิดชอบ ต่อการกระทานั้น และเสนอความเห็นจากผลการตรวจสอบดังกล่าว เพื่อจุดประสงค์นั้ น ผู้ตรวจสอบ ต้องรวบรวมหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติไม่เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ หรือการกระทำผิด ส่งให้หน่วยงานภายในสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ที่รับผิดชอบด้านวินัยการเงินการคลังของรัฐ และให้ความร่วมมื อในการดาเนินการโดยทั่วไป ข้อตรวจพบ ดังกล่าวจะจัดทำเป็นรายงานการตรวจสอบแยกต่างหากจากรายงานของผู้สอบบัญชีและรายงาน ข้อเสนอแนะ หนังสือรับรอง 12 ) เนื่องจากความซับซ้อน ลักษณะและองค์ประกอบของการใช้ดุลยพินิจของผู้บริหารที่เกี่ยวข้องกับ การประมาณการทางบัญชีในหน่วยงำนภาครัฐ ผู้ตรวจสอบอาจพิจารณาถึงความจาเป็นในการได้มา ซึ่งการรับรองเกี่ยวกับประมาณการทางบัญชีที่เฉพาะเจาะจง รวมถึงที่เกี่ยวข้องกับวิธีการ ข้อสมมติ หรือ ข้อมูลที่ใช้ เอกสารหลักฐาน 13 ) ในกรณีที่ผู้ตรวจสอบใช้ข้อมูลงวดก่อนย้อนหลังหลายปีและความรู้ที่มีอยู่ในหน่ วยงานภาครัฐในการจัดทำ “ ค่าประมาณแบบช่วง ” ตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 540 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ 29 ผู้ตรวจสอบ อาจพิจารณาเอกสารหลักฐานที่เพิ่มเติมจากข้อกาหนดของมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 540 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ 39 ซึ่งเป็นเกณฑ์ที่ผู้ตรวจสอบใช้ในการประเมินเกี่ ยวกับความสมเหตุสมผลของประมาณการ ทางบัญชีและการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 62 22 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครั ฐ รหัส 5 5 0 เรื่อง บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกัน 22 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 550 เรื่อง บุคคลหรือ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกัน เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 550 เรื่อง บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน สำหรับผู้ตรวจสอบในเรื่องดังต่อไปนี้ ( ก) ข้อจำกัดในการนำไปปฏิบัติ ( ข) คำจำกัดความ ( ค) วิธีการประเมินความเสี่ยงและกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง ( ง) การระบุและประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ คัญที่เกี่ยวข้อง กับความสัมพันธ์และรายการกับบุคคลหรือ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกัน ( จ) การตอบสนองต่อความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญที่เกี่ยวข้องกับ ความสัมพันธ์และรายการกับบุคคลหรือ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกัน ข้อจำกัดในการนาไปปฏิบัติ 2 ) หน่วยงานภาครัฐอาจอยู่ภายใต้ข้อจากัดที่เฉพาะตามลักษณะและขอบเขตของรายการที่หน่วยงาน สามารถทำรายการกับบุคคลหรือ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกัน ข้อจำกัดนี้อาจห้ามการทำรายการหรือ การปฏิบัติของหน่วยงานภาครัฐ แต่ข้อจากัดดังกล่าวอาจกำหนดให้หน่วยงานภาครัฐกระทำได้กับ ความสั มพันธ์ของบุคคลหรือ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกันภายนอกหน่วยงานภาครัฐ คาจากัดความ 3) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 550 ย่อหน้า ที่ 10( ข) ให้คำจำกัดความคาว่า “ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ” ในขณะที่แม่บทการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องจะมีข้อกาหนดเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจ การที่เกี่ยวข้องกัน เพียงเล็กน้อยหรือไม่มีกาหนดเลย ผู้ตรวจสอบจะต้องพิจารณาว่าภายใต้คาจากัดความนี้ หน่วยงานทั้งหลาย ที่อยู่ภายใต้อานาจควบคุมของรัฐเช่นเดียวกัน (ไม่ว่าในระดับประเทศ ภูมิภาค หรือท้องถิ่น) ไม่ถือว่า มีความเกี่ยวข้องกันถ้าหน่วยงานเหล่านั้นไม่มีรา ยการหรือการแบ่งปันทรัพยากรที่มีนัยสำคัญระหว่างกัน 4) ผู้ตรวจสอบอาจพิจารณาว่า ข้อยกเว้นจากคำจำกัดความของบุคคลหรือ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกัน ของหน่วยงานภายใต้การควบคุมของรัฐมีผลให้ความเสี่ยงในการตรวจสอบหน่วยงานภาครัฐมีระดับสูงขึ้น หรือไม่ เช่น อาจมีสถานการณ์ที่ มีหลายหน่วยงานที่อยู่ภายใต้สังกัดกระทรวงเดียวกัน และหน่วยงานเหล่านี้ อาจไม่มีรายการหรือการแบ่งปันทรัพยากรที่มีนัยสาคัญ รวมทั้งอาจมีหลายรายการที่มีจานวนเงินน้อย ที่ไม่ถึงกับมีนัยสำคัญ ซึ่งอาจไม่เป็นไปตามปกติของหน่วยงานหรืออาจมีสถานการณ์ซึ่งไม่มีรายการ ระหว่ำงกันเกิดขึ้นเลย เช่น ผู้กากับดูแลอาจมีอานาจควบคุมหน่วยงานหนึ่งในการไม่จ่ายเงินปันผลหรือ ผลตอบแทนให้หน่วยงานอื่นเพื่อให้เกิดผลกระทบต่อกระแสเงินสดและทาให้เกิดความเป็นไปได้ใน การพิจารณาจัดสรรงบประมาณ

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 63 22 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครั ฐ รหัส 5 5 0 เรื่อง บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกัน 5) ผู้ตรวจสอบควรคานึงถึงคาจากัดความของบุคคลหรือ หน่วยงาน ที่ เกี่ยวข้องกันในความหมายที่กว้างขึ้น เมื่อนำมาตรฐานการสอบบัญชี มาปรับใช้ วิธีการประเมินความเสี่ยงและกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง 6) การได้มาซึ่งการทาความเข้าใจความสัมพันธ์และรายการกับบุคคลหรือ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกันของ หน่วยงานภาครัฐ นอกเหนือจากวิธีการที่ได้อธิบำยไว้ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 550 ย่อหน้าที่ 11 ถึง 14 ผู้ตรวจสอบต้องคำนึงถึง • โครงสร้างทางกฎหมายและข้อกาหนดของระเบียบและข้อบังคับ ซึ่งใช้กำกับหน่วยรับตรวจ และบุคคล หรือ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกัน เช่น หน่วยงานมีรูปแบบเป็นกระทรวง กรม หรือรูปแบบอื่นของ หน่วยงาน ภาครัฐ • การทาความเข้าใจภารกิจของหน่วยงานภาครัฐซึ่งรวมถึงการได้มาซึ่งความรู้เกี่ยวกับประเภทของ กิจกรรมที่รัฐดาเนินการแผนงาน/งาน/โครงการที่เกี่ยวข้องและหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบแผนงาน/ งาน/โครงการ นั้น • โครงสร้างองค์กรในการควบคุมและกาหนดภาระรับผิดชอบ โดยการตระห นักว่า หน่วยงานภาครัฐที่มี หน้าที่ในการกากับดูแลทาหน้าที่ในฐานะตัวแทนประชาชน ซึ่งความเป็นเจ้าของในหน่วยงานภาครัฐ อาจมีความสัมพันธ์ไม่เทียบเท่ากับภาคเอกชน • การได้มาซึ่งความเข้าใจเกี่ยวกับข้อกาหนดในการรายงานของหน่วยงาน รวมถึงการเปิดเผยข้อมูล เกี่ยวกับความสัมพันธ์ และรายการกับบุคคลหรือ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกัน • ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการอื่นที่ให้หน่วยงานภาครัฐ ดาเนินการตามภารกิจกับบุคคลหรือ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งอาจรวมถึงการปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนกา รปฏิบัติราชการในการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ ภาครัฐที่อาจรวมข้อกาหนดสาหรับหน่วยงานภาครัฐเพื่อแสดงว่ารายการกับบุคคลหรือ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกันเป็นรายการที่หน่วยงานสามารถดำเนินการได้ภายใต้ระเบียบและข้อกาหนดดังกล่าว 7) การหารือร่วมกันในเรื่องผลกระทบต่ อรายงานการเงินของหน่วยงานที่อาจเกิดขึ้นจากข้อมูลที่ขัดต่อ ข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญอาจครอบคลุมวัตถุประสงค์ที่เพิ่มขึ้นและเกี่ยวกับความเสี่ยงจากการแสดง ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 550 ย่อหน้าที่ ก 8 ในการหารือนี้ ผู้ ตรวจสอบอาจรวมผู้ตรวจสอบที่ปฏิบัติงานตรวจสอบผลสัมฤทธิ์และประสิทธิภาพ การดำเนินงานและการตรวจสอบลักษณะงานอื่น 8) การหารือระหว่างกลุ่มผู้ปฏิบัติงานตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวกับการทุจริตอาจรวมถึงการพิจารณา ผลกระทบจากการทุจริตในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพั สดุภาครัฐของหน่วยงานที่กระทำ โดย ผ่านบุคคลหรือ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกัน

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 64 22 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครั ฐ รหัส 5 5 0 เรื่อง บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกัน การระบุและประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญที่เกี่ยวข้องกับ ความสัมพันธ์และรายการกับบุคคลหรือ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกัน 9) นอกจากสิ่งที่ผู้บริหารได้ใ ห้การรับรองไว้ตามที่กล่าวไว้ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 315 (ปรับปรุง 2564) เรื่อง การระบุและประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญ โดยการทำความเข้าใจ หน่วยงาน และสภาพแวดล้อมของ หน่วยงาน ผู้บริหารของหน่วยงานภาครัฐอาจต้อง ให้การรับร องว่ารายการและเหตุการณ์เป็นไปตามกฎหมายหรืออานาจหน้าที่อย่างเหมาะสม ตามที่ระบุไว้ ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 315 (ปรับปรุง 2564) เรื่อง การระบุและประเมินความเสี่ยงจากการแสดง ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญ ย่อหน้าที่ ก 192 สิ่งที่ผู้บริหารได้ให้การรั บรองไว้ดังกล่าว อาจขยายไปถึงความสัมพันธ์และรายการกับบุคคลหรือ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกันและอยู่ภายใต้ขอบเขตของ การตรวจสอบรายงานการเงิน 10) ตามหน้าที่และอำนาจ อาจกำหนดให้ผู้ตรวจสอบพิจารณากรอบของกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ ที่ใช้ควบคุมกากับหน่วยงานและข้อกำหนดต่าง ๆ หรือ ข้อจากัดเฉพาะของหน่วยงาน ซึ่งกาหนดให้หน่วยงาน ผู้มีหน้าที่ในการกากับดูแล ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องและทำรายการกับบุคคลหรือ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกัน และอาจมีข้อจากัดใน ความสามารถของหน่วยรับตรว จในการจัดตั้งหรือถือหุ้นหน่วยงานอื่นที่ถือว่าเป็น หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งหน่วยรับตรวจจะมีการควบคุมทั้งหมดหรือบางส่วน 11) อาจมีข้อกำหนดสำหรับผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแลของหน่วยงานภาครัฐ ผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ให้เปิดเผยผลประโยชน์ที่ได้รับจากการทาธุรก รรมซึ่งเกี่ยวข้องกับหน่วยงานทั้งงานทางวิชาชีพและ เชิงพาณิชย์ ในกรณีที่มีข้อกาหนดทางกฎหมาย ผู้ตรวจสอบจาเป็นต้องปฏิบัติตามขั้นตอนการประเมิน ความเสี่ยงเพื่อระบุและประเมินความเสี่ยงที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญจากการไม่ปฏิบัติตาม ข้อกำหนดเหล่านั้น การตอบส นองต่อความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญที่เกี่ยวข้องกับ ความสัมพันธ์และรายการกับบุคคลหรือ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกัน 12) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 550 ย่อหน้าที่ 23( ข) กาหนดให้ ผู้ตรวจสอบ ต้องได้มาซึ่งหลักฐานสาหรับ รายการกับบุคคลหรือกิจ การที่เกี่ยวข้องกันที่มีนัยสาคัญที่ระบุได้ซึ่งไม่เป็นตามปกติทางธุรกิจของกิจการ ที่แสดงว่ามีการมอบอานาจและได้รับการอนุมัติอย่างเหมาะสมในหน่วยงานภาครัฐ หน้าที่และอานาจ ในการตรวจสอบอาจเกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบในการรายงานผลการตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมาย ซึ่งอำจรวมถึงความรับผิดชอบในการได้มาซึ่งหลักฐานเกี่ยวกับความสัมพันธ์และรายการระหว่างบุคคล หรือ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกันซึ่งเป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และ แบบแผนการปฏิบัติราชการ ที่แสดงว่าได้รับมอบอานาจและอนุมัติแล้วผู้ตรวจสอบอาจได้มาซึ่งหลั กฐาน ว่าผู้บริหารได้รับการมอบอานาจและอนุมัติจาก หน่วยงาน ที่ ออกกฎหมาย กระทรวงการคลัง หรือ “ บริษัทใหญ่ ” หรือหน่วยงานที่ให้การสนับสนุน หรือหน่วยงานกากับดูแลที่เหมาะสม ขั้นตอนเหล่านี้อาจนามาใช้กับ รายการที่มีนัยสำคัญหรือรายการที่ไม่เป็นไปตามการดำเนินงานปกติของหน่ วยงาน

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 65 22 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครั ฐ รหัส 5 5 0 เรื่อง บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกัน 13) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 550 เรื่อง บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ย่อหน้าที่ 24 กำหนดให้ ผู้ ตรวจสอบ ต้องได้รับหลักฐานการสอบบัญชีที่เหมาะสมอย่างเพียงพอในสิ่งที่ผู้บริหารให้การรับรองไว้ เกี่ยวกับรายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันว่าเป็นรายการ ที่มีเงื่อนไขเช่นเดียวกับรายการ ที่เป็นไปตามปกติธุรกิจ หากมีการรับรองดังกล่าวโดยผู้บริหารในรายงานการเงิน ในหน่วยงานภาครัฐ กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง อาจกำหนดให้ต้องทำสัญญากับบุคคลที่สามรวมถึงบุ คคลหรือ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกัน โดยวิธีการ ประกวดราคาหรือวิธีการอื่นที่แสดงถึงความคุ้มค่าของการจัดซื้อจัดจ้าง

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 66 23 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 560 เรื่อง เหตุการณ์ภายหลังวันที่ ใน รายงานการเงิน 23 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 560 เรื่อง เหตุการณ์ภายหลังวันที่ใน รายงาน การเงิน เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1 ) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 5 6 0 เรื่อง เหตุการณ์ภายหลังวันที่ ใน งบ การเงิน สำหรับผู้ตรวจสอบในเรื่องดังต่อไปนี้ (ก) เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นระหว่างวันที่ใน รายงานการเงิน และวันที่ในรายงานของผู้สอบบัญชี (ข) ข้อเท็จจริงที่ผู้ ตรวจ สอบ พบหลังจากการนำ รายงาน การเงินออกเผยแพร่ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นระหว่างวันที่ใน รายงาน การเงินและวันที่ในรายงานของผู้สอบบัญชี 2 ) นอกเหนือจากการสอบถามเฉพาะที่กาหนดไว้ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 560 เรื่อง เหตุการณ์ ภายหลังวันที่ในงบการเงิน ย่อหน้าที่ ก9 ผู้ตรวจสอบ อาจพิจารณาเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นว่า ก) มีความเกี่ยวข้องกับความสามารถในการบรรลุวัตถุประสงค์ของแผนงาน/งาน/โครงการของ หน่วยงาน ภาค รัฐ ข) อาจกระทบต่อการแสดงข้อมูลผลการดำเนินงานในรายงานการเงิน 3 ) นอกเหนือจากการดาเนินการที่อธิบายไว้ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 560 เรื่อง เหตุการณ์ภายหลัง วันที่ในงบการเงิน ย่อหน้าที่ ก10 ผู้ตรวจสอบควรพิจารณาเรื่องที่เกิดจากการดาเนินงานที่เกี่ยวข้องกับ หน่วยงาน ที่ ออกกฎหมาย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ ที่อาจต้องคานึงถึงในระหว่างการปฏิบัติงาน ตรวจสอบหรือภายหลังเสร็จสิ้นการตรวจสอบ ซึ่งเรื่ องดังกล่าวส่งผลให้ต้องปรับปรุงหรือเปิดเผยข้อมูลใน รายงานการเงิน ข้อเท็จจริงที่ผู้ ตรวจสอบ พบหลังจากการนา รายงาน การเงินออกเผยแพร่ 4 ) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 560 เรื่อง เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบการเงิน ย่อหน้าที่ ก20 กล่าวถึง การดาเนินการของผู้ สอบบัญชี เพื่อป้ องกันการนารายงานของผู้สอบบัญชีไปอ้างอิง ในหน่วยงานภาครัฐ ผู้ตรวจสอบ ควร ขอคาปรึกษาด้านกฎหมายเพื่อพิจารณารายงานไปยังหน่วยงานที่มีหน้าที่และอานาจ ตามความเหมาะสม

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 67 2 4 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 570 (ปรับปรุง) เรื่อง การดำเนินงานต่อเนื่อง 24 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 570 ( ปรับปรุง) เรื่อง การดำเนินงานต่อเนื่อง เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1 ) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 5 7 0 (ปรับปรุง) เรื่อง การดาเนินงาน ต่อเนื่อง สำหรับผู้ตรวจสอบในเรื่องดังต่อไปนี้ (ก) เกณฑ์การดำเนินงานต่อเนื่อง (ข) การประเมินผลการประเมินของผู้บริหาร (ค) วิธีการตรวจ สอบเพิ่มเติมเมื่อพบเหตุการณ์หรือสถานการณ์ เกณฑ์การดำเนินงานต่อเนื่อง 2 ) ผู้ตรวจสอบอาจต้องสอบทานและรายงานเกี่ยวกับการเตรียมการของหน่วยรับตรวจในการดารงไว้ซึ่ง สถานภาพทางการเงิน 3 ) หน่วยงานภาครัฐอาจมีการใช้จ่ายเงินในหนึ่งรอบปีงบประมาณมากกว่าทรัพยากรที่มีอยู่ ซึ่งเกิดจากรายได้ น้อยกว่ารายจ่าย หรือมีหนี้สินมากกว่าสินทรัพย์ อย่างไรก็ตาม การหยุดหรือลดขนาดการดาเนินงาน เนื่องจากการขาดความสามารถในการจัดหาเงินสาหรับการดาเนินงานหรือมีหนี้สินสุทธิ เป็นเรื่องที่เกิดขึ้น ได้ยากในหน่วยงานภาครัฐ 4 ) โดยส่วนใหญ่ การหยุดการดำเนิ นงานของหน่วยงานภาครัฐเป็นผลจากการตัดสินใจเชิงนโยบายของรัฐบาล ซึ่งอาจต้องยุติการดาเนินงานและยุบเลิก ต้องลดขนาดและถ่ายโอนงานบางส่วนไปยังหน่วยงานอื่น หรือ ควบรวมกับหน่วยงานอื่น หรือแปรรูป ในแต่ละกรณีนั้นมีการหยุดการดาเนินงานของหน่วยงานทั้งหมด หรือบางส่วนงาน ผู้ ตรวจสอบอาจพิจารณาการดำเนินการเกี่ยวกับกิจกรรมของหน่วยงานที่กำลัง ประสบปัญหา และ/หรือได้มีการถ่ายโอนไปแล้ว เพื่อให้ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับการดำเนินงานต่อเนื่อง 5 ) ในการพิจารณาความสามารถในการดาเนินงานต่อเนื่องของหน่วยรับตรวจ ข้อพิจารณาของผู้ตรวจสอบ เกี่ยวกับกำรดำเนินงานต่อเนื่องประกอบด้วยปัจจัย 2 ประการ ที่ในบางครั้งอาจมีความทับซ้อนกัน ดังนี้ • ความเสี่ยงที่สำคัญเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทิศทางของนโยบาย เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนรัฐบาล • ความเสี่ยงที่ไม่ได้เกิดขึ้นบ่อยนักในการดาเนินงานหรือความเสี่ยงต่อกิจกรรมหลักของหน่ว ยรับตรวจ เช่น เมื่อหน่วยรับตรวจมีทุนหมุนเวียนในระดับที่ไม่เพียงพอในการดาเนินงาน และไม่สามารถระดมทุน เพิ่มเติมได้ 6 ) ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายของรัฐบาล ที่มีผลกระทบต่อเกณฑ์การดาเนินงานต่อเนื่อง ผู้ตรวจสอบต้องพิจารณาเรื่องดังต่อไปนี้ • การประกาศเจตนาร มณ์ของรัฐบาลในการทบทวนนโยบายที่มีผลกระทบต่อหน่วยรับตรวจ • การทบทวนนโยบายดังกล่าวได้มีการประกาศให้ทราบแล้วและอยู่ระหว่างการดำเนินการ

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 68 2 4 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 570 (ปรับปรุง) เรื่อง การดำเนินงานต่อเนื่อง • การทบทวนนโยบายดังกล่าวบ่งชี้ว่าได้ดาเนินการต่อหน่วยรับตรวจนั้นอย่างสมเหตุสมผล หรืออาจมี การทบทวนอีกครั้งในอนาคต • มีนโยบายที่จะแป รรูปกิจกรรมต่าง ๆ ของหน่วยรับตรวจ การประเมินผลการประเมินของผู้บริหาร 7 ) ผู้ตรวจสอบควรตระหนักว่าการเปลี่ยนแปลงนโยบายของรัฐบาลสามารถทาให้เกิดผลกระทบที่สาคัญต่อ สถานะและหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐ อย่างไรก็ตาม ผู้ตรวจสอบอาจไม่ทราบถึงการตัดสินใจต่าง ๆ ในทางการเมื อง วิธีการตรวจสอบเพิ่มเติมเมื่อพบเหตุการณ์หรือสถานการณ์ 8 ) เมื่อพิจารณาข้อกาหนดตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 570 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ 16 ผู้ตรวจสอบอาจ พิจารณาร้องขอให้หน่วยรับตรวจจัดทาหนังสือยืนยันโดยตรงจากส่วนงานหรือฝ่ายบริหารที่มีหน้าที่ รับผิดชอบในการจัดหำแหล่งเงินหรือเงินทุนในอนาคตแก่หน่วยรับตรวจนั้น เมื่อมีการพิจารณาร้องขอ หนังสือยืนยันดังกล่าว ผู้ตรวจสอบควรคานึงถึงข้อจากัดทั้งหมดที่เกิดขึ้ นโ ดยกระบวนการทางการเมือง ในสถานการณ์นี้ คารับรองของเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบด้านการเงินของหน่วยรับตรวจที่ได้รับการสนับ สนุน ทางการเงินหรือเงินทุนในอนาคตอาจไม่เพียงพอที่จะให้ความเชื่อมั่นเกี่ยวกับการดาเนินงานในอนาคตของ หน่วยรับตรวจ เนื่องจากหน่วยรับตรวจอาจไม่ทราบเจตนาของหน่วยงานที่ให้การสนับสนุนทางการเงินได้ 9 ) นอกจากวิธีการตรวจสอบตามที่ได้กาหนดไว้ในมาตรฐานการสอบบัญชี ผู้ตรว จสอบอาจอ่านบันทึก ทางราชการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงนโยบายและการดำเนินการที่เกี่ยวข้องของ หน่วยงาน ที่ ออกกฎหมาย และสอบถามเกี่ยวกับเรื่องที่อยู่ระหว่างดำเนินการ เนื่องจากยังไม่มีบันทึกทางราชการในเรื่องนั้น

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 69 2 5 แนวปฏิบั ติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 580 เรื่อง หนังสือรับรอง 25 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 58 0 เรื่อง หนังสือรับรอง เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1 ) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 5 8 0 เรื่อง หนังสือรับรอง สาหรับ ผู้ตรวจสอบในเรื่องดังต่อไปนี้ (ก) ข้อพิจารณาโดยรวม (ข) ผู้บริหารที่ได้รับคำร้องขอให้ออกหนังสือรับรอง (ค) การ สื่อสารถึงจำนวน เงิน ที่ยอมรับได้ (ง) วันที่และรอบระยะเวลาที่ครอบคลุมในหนังสือรับรอง (จ) ความสงสัยในความน่าเชื่อถือของหนังสือรับรองและการไม่ได้รับหนังสือรับรองที่ขอ ข้อพิจารณาโดยรวม 2 ) ความรับผิดชอบของผู้บริหารหน่วยงานภาครัฐอาจมีขอบเขตกว้างกว่าความรับผิดช อบของผู้บริหารใน ภาคเอกชน ซึ่งผู้ตรวจสอบต้องคานึงถึงเรื่องขอบเขตความรับผิดชอบที่กว้างนี้ เมื่อต้องขอหนังสือรับรอง เกี่ยวกับความรับผิดชอบของผู้บริหาร ผู้บริหารที่ได้รับคาร้องขอให้ออกหนังสือรับรอง 3 ) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 580 ย่อหน้าที่ ก2 ผู้ตรวจสอบต้องคานึ งถึงข้อกาหนดที่เกี่ยวข้องกับ ความรับผิดชอบในการจัดทารายงานการเงินที่อาจแตกต่างกันตามที่กาหนดไว้ในกฎหมาย ระเบียบและ ข้อบังคับ ผู้ตรวจสอบต้องมีความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับที่นามาใช้เพื่อให้สามารถระบุ ผู้มีหน้าที่ในการจัดทาหนังสือรับรอง ในขั้นตอ นการวางแผนผู้ตรวจสอบอาจแจ้งและตกลงกับผู้มีหน้าที่ ในการกำกับดูแลบุคคลต่าง ๆ ดังกล่าว ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดเตรียมหนังสือรับรอง การสื่อสารถึงจำนวนเงินที่ยอมรับได้ 4 ) ตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 580 ย่อหน้าที่ ก14 ผู้ ตรวจส อ บ อาจ พิจารณาถึงการสื่อสารจาน วนเงิน ที่ยอมรับได้กับผู้บริหารเพื่อวัตถุประสงค์ในการขอหนังสือรับรอง ในมุมมองของผู้ตรวจสอบหน่วยงาน ภาครัฐ ผู้ตรวจสอบควรพิจารณาถึงความรับผิดชอบที่กว้างกว่าการตรวจสอบภาคเอกชน ซึ่งอาจสื่อสาร เกี่ยวกับข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงทั้งหมดที่เกิดขึ้น และข้อบกพร่องของ การควบคุม และการไม่ปฏิบัติตาม อานาจหน้าที่ แม้ว่าหน่วยรับตรวจจะดาเนินการแก้ไขแล้วก็ตาม ผู้ตรวจสอบควรพิจารณาการสื่อสาร ตามข้อกำหนดดังกล่าวในการขอหนังสือรับรอง ซึ่งอธิบายถึงวัตถุประสงค์ ความรับผิดชอบและข้อกาหนด ที่เพิ่มเติม

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 70 2 5 แนวปฏิบั ติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 580 เรื่อง หนังสือรับรอง วันที่และรอบระยะเวลาที่ครอบคลุมในห นังสือรับรอง 5 ) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 580 ย่อหน้าที่ ก15 กาหนดให้วันที่ในหนังสือรับรองควรเป็นวันที่ใกล้เคียง เท่าที่จะสามารถทาได้ในทางปฏิบัติกับวันที่ในรายงานของผู้สอบบัญชีต่อรายงานการเงิน ในหน่วยงาน ภาครัฐ หนังสือรับรองของผู้บริหารในบางครั้งอาจได้รับจากผู้ กากับดูแลระดับสูง ซึ่งสิ่งสาคัญสาหรับ ผู้ตรวจสอบคือการวางแผนล่วงหน้าเพื่อให้ได้รับหนังสือรับรองอย่างทันเวลาเพื่อหลีกเลี่ยงความล่าช้า ในการออกรายงานของผู้สอบบัญชี ความสงสัยในความน่าเชื่อถือของหนังสือรับรองและการไม่ได้รับหนังสือรับรองที่ขอ 6 ) ผู้ตรวจสอบอา จได้รับการแต่งตั้งตามขั้นตอนทางกฎหมาย ดังนั้น อาจไม่อยู่ในฐานะที่จะปฏิเสธหรือ ถอนตัวจากการตรวจสอบ ในกรณีดังกล่าวผู้ตรวจสอบอาจต้องรายงานต่อ หน่วยงาน ที่ ออกกฎหมาย ตามความเหมาะสม ข้อพิจารณาเพิ่มเติมสำหรับหน่วยงานภาครัฐในการจัดทำหนังสือรับรอง ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้ อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ หรือ หน้าที่และอานา จ การตรวจสอบ ผู้ตรวจสอบอาจขอให้เพิ่มเติมข้อมูลดังต่อไปนี้ในหนังสือรับรอง • กิจกรรมและรายการทางการเงินเป็นไปตามอานาจหน้าที่ที่กาหนดหรือไม่ • ระบบการควบคุมภายในมีประสิทธิผลตลอดระยะเวลาการตรวจส อบหรือไม่ • หน่วยงานตรวจสอบภายในปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิผลตลอดระยะเวลาการตรวจสอบหรือไม่ • โครงการของหน่วยงานภาครัฐได้ดำเนินการด้วยความคุ้มค่า มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลหรือไม่ • ฝ่ายบริหารได้จัดให้มีการตีความเกี่ยวกับข้อกำหนดที่ต้องปฏิบัติ สำหรับกรณีที่ข้อ กำหนดนั้น สามารถตีความได้หลายแง่มุมหรือไม่ • ฝ่ายบริหารได้จัดเตรียมสัญญา ข้อตกลงเงินช่วยเหลือและหนังสือโต้ตอบทั้งหมด ในเรื่องที่เกี่ยวกับ ข้อตกลงซึ่งรวมถึงการใช้จ่ายเงินตามแผนงาน/งาน/โครงการ ไว้ให้ตรวจสอบหรือไม่ • ฝ่ายบริหารได้เปิดเผยสัญญา ข้อตกลง กับหน่วยงานที่ ให้บริการ รวมถึงการสื่อสารต่าง ๆ กับหน่วยงาน ที่ให้บริการ ในเรื่องที่เกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายหรือไม่

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 71 26 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 600 เรื่อง ข้อพิจารณาพิเศษ - การตรวจสอบ รายงาน การเงินของกลุ่มกิจการรวมถึงงานของผู้ ตรวจ สอบ อื่น 26 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 600 เรื่อง ข้อพิจารณาพิเศษ - การตรวจสอบ รายงาน การเงินของกลุ่มกิจการ รวมถึงงานของผู้ ตรวจสอบ อื่น เนื้ อหาของแนวปฏิบัติ 1 ) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 600 เรื่อง ข้อพิจารณาพิเศษ - การตรวจสอบ งบการเงินของกลุ่มกิจการรวมถึงงานของผู้สอบบัญชีอื่น สำหรับผู้ตรวจสอบในเรื่องดังต่อไปนี้ (ก) คำจำกัดความ (ข) การรับงานใหม่และการรับงาน ต่อเนื่อง (ค) การทำความเข้าใจกลุ่มกิจการ กิจการภายในกลุ่ม และสภาพแวดล้อมของกลุ่มกิจการ (ง) การทำความเข้าใจผู้ ตรวจสอบ ของกิจการภายในกลุ่ม (จ) ความมีสาระสำคัญ (ฉ) การตอบสนองต่อความเสี่ยงที่ได้ประเมินไว้ (ช) กระบวนการจัดทำ รายงาน การเงินรวม (ซ) การติดต่อสื่ อสารกับผู้ ตรวจสอบ ของกิจการภายในกลุ่ม (ฌ) การติดต่อสื่อสารกับผู้บริหารของกลุ่มกิจการและผู้มีหน้าที่ในการกากับดูแลของกลุ่มกิจการ คาจากัดความ 2 ) ในการพิจารณาคาจำกัดความตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 600 ย่อหน้าที่ 9 ในหน่วยงานภาครัฐ ควรพิจารณาลักษณะเพิ่มเติมจาก ที่กล่าวไว้ในย่อหน้าที่ ก2 ถึง ก6 ดังนี้ ก) กิจการภายในกลุ่ม - อาจรวมถึงหน่วยงานต่าง ๆ กรม สำนักงาน บรรษัท กองทุน ส่วนงานของกิจการ ภายในกลุ่ม เขต กิจการร่วมค้า และองค์กร ที่ไม่ใช่องค์กรของรัฐ ( Non - Governmental Organizations: NGOs) ข) กิจการภายในกลุ่มที่มีนัย สาคัญ - การตัดสินใจของกิจการภายในกลุ่มที่มีนัยสาคัญอาจเกี่ยวข้องกับ เรื่องที่อ่อนไหวต่อความรู้สึกของสาธารณชน เช่น ประเด็นเกี่ยวกับความมั่นคงของประเทศ โครงการ ที่ได้รับเงินบริจาค หรือการรายงานการจัดเก็บรายได้ภาษีอากร เป็นต้น การรับงานใหม่และการรับงานต่อเนื่อง 3 ) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 600 ย่อหน้าที่ 13 กล่าวถึงความไม่สามารถในการเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับ งานของ ผู้ตรวจสอบ ของกิจการภายในกลุ่ม และการไม่ได้รับหลักฐานการสอบบัญชีที่เหมาะสมอย่างเพียงพอ ซึ่งในหน่วยงานภาครัฐเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นได้น้อยมาก เนื่องจากกฎหมำย ระเบียบ ข้อบังคับ มติ คณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ ห้ามจำกัดผู้ตรวจสอบในการเข้าถึงข้อมูล

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 72 26 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 600 เรื่อง ข้อพิจารณาพิเศษ - การตรวจสอบ รายงาน การเงินของกลุ่มกิจการรวมถึงงานของผู้ ตรวจ สอบ อื่น 4 ) ในการปฏิบัติตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 600 ย่อหน้าที่ 13 นอกเหนือจากการอ้างถึงข้อปฏิบัติ ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 600 ย่อหน้า ก18 ผู้ตรวจสอบของกลุ่มกิ จการของหน่วยงานภาครัฐ อาจสื่อสารกับ หน่วยงาน ที่ ออกกฎหมาย หรือหน่วยงานกำกับดูแลอื่นตามความเหมาะสม เกี่ยวกับ การยกเลิกข้อจำกัดในการเข้าถึงหลักฐานการสอบบัญชี ซึ่งผู้บริหารของกลุ่มกิจการ หรือกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ กำหนด ไว้ 5 ) ในหน่วยงานภาครัฐ นอกจากการเปลี่ยนแปลงที่มีนัยสาคัญซึ่งกระทบต่อความสามารถของกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน ตรวจสอบกลุ่มกิจการในการได้รับหลักฐานการสอบบัญชีที่เหมาะสมอย่างเพียงพอตามที่ระบุไว้ใน มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 600 ย่อหน้าที่ ก12 อาจได้รับผลกระทบจากการเปลี่ ยนแปลงที่มีนัยสาคัญ เพิ่มเติม ดังนี้ • การเปลี่ยนแปลงกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ ที่มีผลกระทบต่อระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านการเงิน และ/หรือแม่บทการรายงานทางการเงิน • การเปลี่ยนแปลงลักษณะ แหล่งที่มาหรือจานวนเงินของเงินทุ น รวมถึงการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างหนี้ สาธารณะ การทำความเข้าใจกลุ่มกิจการ กิจการภายในกลุ่ม และสภาพแวดล้อมของกลุ่มกิจการ 6 ) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 600 ย่อหน้าที่ ก23 ถึง ก31 กาหนดให้ผู้ ตรวจสอบ ของกลุ่มกิจการต้องเข้าใจ กลุ่มกิจการ และกิจการภายในกลุ่ม กลุ่มผู้ปฏิ บัติงานตรวจสอบกลุ่มกิจการอาจทาความเข้าใจประเด็น สำคัญเพิ่มเติมเกี่ยวกับหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งอาจรวมถึง • การควบคุมสำหรับการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผน การปฏิบัติราชการ • การปฏิบัติตามข้อกำหนดด้านงบประมาณและอานาจหน้าที่ในการเบิกจ่าย • ความสม่าเสมอของการจาแนกประเภทรหัสงบประมาณสาหรับการรายงานจานวนเงินงบประมาณกับ การรายงานจำนวนเงินที่เบิกจ่ายจริง • การมีส่วนร่วมของกลุ่มกิจการ และ/หรือกิจการภายในกลุ่มเกี่ยวกับความร่วมมือระหว่างภาครัฐ และภาคเอกชน 7 ) ในบางกรณี รัฐบาลอาจมีความสัมพันธ์กับหน่วยงา นที่มีความเป็นอิสระ ในรูปแบบของการถ่ายโอนหรือ บทบาทการเป็นผู้กากับดูแลสาหรับบางภารกิจ ในกรณีนี้อาจเป็นการยากที่จะพิจารณาความสัมพันธ์ ของรัฐบาลกับหน่วยงานนั้นว่าเป็นการรวมกันในรูปแบบกลุ่มกิจการหรือไม่ ตัวอย่างเช่น • การนำแม่บทการรายงานทางการเงินมาใช้ อาจมีผลให้ ยกเว้นหน่วยงานที่มีลักษณะเฉพาะ กรม สำนักงาน บรรษัท กองทุน เขต กิจการร่วมค้า หรือองค์กร ที่ไม่ใช่องค์กรของรัฐ ( Non - Governmental Organizations: NGOs) จากรายงานทางการเงินของกลุ่มกิจการ ในกรณีนี้ หากผู้ตรวจสอบของ กลุ่มกิจการในหน่วยงานภาครัฐเชื่อว่าผลลัพธ์นี้อา จส่งผลให้เกิดความเข้าใจผิดในการนาเสนอรายงาน การเงินของกลุ่มกิจการ ผู้ตรวจสอบของกลุ่มกิจการของหน่วยงานภาครัฐอาจพิจารณาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 73 26 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 600 เรื่อง ข้อพิจารณาพิเศษ - การตรวจสอบ รายงาน การเงินของกลุ่มกิจการรวมถึงงานของผู้ ตรวจ สอบ อื่น ผลกระทบต่อรายงานของ ผู้สอบบัญชี และความจาเป็นในการสื่อสารเรื่องดังกล่าวกับ หน่วยงาน ที่ ออกกฎหมาย หรือหน่วยงานกำกับดูแลอื่นที่ เหมาะสมด้วย • แม่บทการรายงานทางการเงินอาจไม่ได้ให้ข้อปฏิบัติเฉพาะสำหรับการรวมหรือไม่รวมหน่วยงาน ที่มีลักษณะดังกล่าวข้างต้นในรายงานการเงินของกลุ่มกิจการ ในกรณีนี้ ผู้ตรวจสอบของกลุ่มกิจการ ของหน่วยงานภาครัฐอาจร่วมหารือกับผู้บริหารของกลุ่มกิจการและผู้บริหารของ กิจการภายในกลุ่ม เพื่อพิจารณาว่าการปฏิบัติของกิจการภายในกลุ่มอาจมีผลต่อการแสดงข้อมูลโดยถูกต้องตามที่ควร ในรายงานการเงินของกลุ่มกิจการหรือไม่ อีกทั้งยังเป็นไปได้ที่ผู้บริหารกลุ่มกิจการอาจไม่เห็นด้วย กับการรวมกิจการภายในกลุ่มในรายงานการเงินของกลุ่มกิจการ ซึ่ งอาจมีการจากัดขอบเขตขอ ง ผู้ตรวจสอบของกลุ่มกิจการในการสื่อสารและการใช้ผลงานของผู้ตรวจสอบของกิจการภายในกลุ่ม การทำความเข้าใจ ผู้ ตรวจสอบ ของกิจการภายในกลุ่ม 8 ) นอกจากที่กล่าวไว้ตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 600 ย่อหน้าที่ ก33 ในหน่วยงานภาครัฐ ผู้ตรวจสอบ ของกลุ่มกิ จการวางแผนเพื่อให้ผู้ตรวจสอบของกิจการภายในกลุ่มปฏิบัติงานตรวจสอบข้อมูลทางการเงิน ของกิจการภายในกลุ่มหรือกลุ่มกิจการเพิ่มเติม สาหรับการตรวจสอบกลุ่มกิจการของหน่วยงานภาครัฐ อาจมีวิธีการตรวจสอบของผู้ตรวจสอบของกลุ่มกิจการที่แตกต่างจากวิธีการตรวจสอบหรือแนวปฏิบัติ ของ ผู้ตรวจสอบของกิจการภายในกลุ่ม ในกรณีนี้ ผู้ตรวจสอบของกลุ่มกิจการอาจกำหนดวิธีปฏิบัติของ ผู้ตรวจสอบของกิจการภายในกลุ่มให้สอดคล้องกับวิธีการตรวจสอบของผู้ตรวจสอบของกลุ่มกิจการ 9 ) เมื่อพิจารณามาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 600 ย่อหน้าที่ ก37 ผู้ตรวจสอบพึงระมัดระวั งว่า ในหน่วยงาน ภาครัฐ ผู้ตรวจสอบของกิจการภายในกลุ่มอาจต้องปฏิบัติตามข้อกาหนดทางจริยธรรมที่คณะกรรมการ ตรวจเงินแผ่นดินประกาศ 10 ) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 600 ย่อหน้าที่ ก38 หัวข้อย่อยที่ 2 ในหน่วยงานภาครัฐ ความเข้าใจของ กลุ่มผู้ปฏิบัติงานตรวจสอบกลุ่มกิจการเกี่ ยวกับความรู้ความสามารถทางวิชาชีพของผู้ตรวจสอบของ กิจการ ภายในกลุ่มและทักษะเฉพาะที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงานตรวจสอบ เช่น ความรู้เฉพาะในอุตสาหกรรม ในบริบทนี้ ความเข้าใจดังกล่าวอาจรวมถึงความรู้เกี่ยวกับสภาพแวดล้อม กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผ นการปฏิบัติราชการ ที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบกลุ่มกิจการ 11 ) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 600 ย่อหน้าที่ ก41 กล่าวถึงสถานการณ์ที่กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ ห้ามการเข้าถึงเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับ งานตรวจสอบของผู้ตรวจสอ บของกิจการภายในกลุ่ม ในสถานการณ์ดังกล่าวผู้ตรวจสอบอาจสื่อสารกับ หน่วยงานภาครัฐให้พิจารณาว่าควรสื่อสารเหตุการณ์นี้ต่อ หน่วยงาน ที่ ออกกฎหมาย หรือหน่วยงานกากับ ดูแลอื่นที่เหมาะสมด้วยหรือไม่

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 74 26 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 600 เรื่อง ข้อพิจารณาพิเศษ - การตรวจสอบ รายงาน การเงินของกลุ่มกิจการรวมถึงงานของผู้ ตรวจ สอบ อื่น ความมีสาระสำคัญ 12 ) ในการกาหนดความมีสาระสาคัญสาหรับรายงานการเงินของกลุ่ มกิจการตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 600 ย่อหน้าที่ 21 ถึง 23 กาหนดไว้ ผู้ตรวจสอบอาจใช้ข้อปฏิบัติตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 320 เรื่อง ความมีสาระสาคัญในการวางแผนและการปฏิบัติงานสอบบัญชี ย่อหน้าที่ ก3 และ ก10 ซึ่งกล่าวถึงการกาหนดความมีสาระสาคัญในหน่วยงานภาครั ฐ ในบริบทของรายงานการเงินของกลุ่มกิจการ ความมีสาระสาคัญสำหรับประเภทของรายการ ยอดคงเหลือของบัญชี การเปิดเผยข้อมูล เช่นเดียวกันกับ ความมีสาระสาคัญของกิจการภายในกลุ่มอาจประเมินได้ว่าอยู่ในระดับต่า ซึ่งอาจเกิดจากหลายสาเหตุ รวมถึงบริบทของเหตุการณ์นั้น หรือลักษณ ะและรูปแบบของระบบและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อีกทั้งอาจมี ข้อกำหนดสำหรับการแยกแสดงความเห็นต่อรายงานการเงินเฉพาะของกิจการภายในกลุ่ม ซึ่งเป็นการบ่งชี้ ถึงความจาเป็นในการลดระดับความมีสาระสาคัญของกิจการภายในกลุ่ม นอกจากนี้วิธีการปฏิบัติบางอย่าง อาจกาหนดขึ้นตามหน้าที่ และอานาจในการ ตรวจเงินแผ่นดิน หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง หรือผู้ตรวจสอบ อาจออกแบบวิธีการตรวจสอบสาหรับรายการที่มีสาระสำคัญตามลักษณะของรายการนั้น ๆ 13 ) ตามที่กาหนดไว้ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 600 ย่อหน้าที่ 21(ง) ได้กล่าวถึงการพิจารณาขอบเขต ของการแสดงข้อมูลที่ขั ดต่อข้อเท็จจริง ที่ไม่สามารถอ้างได้อย่างแน่ชัดว่าไม่สาคัญต่อรายงานการเงิน ของกลุ่มกิจการ อาจได้รับอิทธิพลจากลักษณะของสถานการณ์ และความอ่อนไหวของสาธารณชน ผู้ตรวจสอบของกลุ่มกิจการของหน่วยงานภาครัฐยังต้องคานึงถึงในมุมมองของหน่วยงานภาครัฐที่กว้างขึ้น ผู้ตรวจส อบอาจต้องสื่อสารข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงทั้งหมด รวมถึงข้อมูลที่หน่วยงานได้แก้ไขให้ถูกต้องแล้ว ตลอดจนข้อบกพร่องในการควบคุมทั้งหมด และการไม่ปฏิบัติตามอานาจหน้าที่ ซึ่งกรณีเหล่านี้ไม่มี การกาหนดขอบเขตไว้ การตอบสนองต่อความเสี่ยงที่ได้ประเมินไว้ 14 ) เมื่อมี การปรับใช้ข้อกาหนดตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 600 ย่อหน้าที่ 24 ในระดับกลุ่มกิจการ ผู้ตรวจสอบของกลุ่มกิจการของหน่วยงานภาครัฐอาจพิจารณาว่าในหน่วยงานภาครัฐ ลักษณะของ กิจกรรมที่ดำเนินการโดยกิจการภายในกลุ่มที่แตกต่างกันเป็นปัจจัยกำหนดความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูล ที่ ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญ ตัวอย่างเช่น ความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง อันเป็นสาระสาคัญในการปฏิบัติงานด้านการบรรเทาภัยพิบัติจะสูงกว่าความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูล ที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญในการปฏิบัติงานที่เกิดขึ้นเป็นประจา ซึ่งมีความแน่นอนกว่า เช่น การจ่ายเงินเดือนข้าราชการ ในการประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญ ในการดาเนินงานทั้งกลุ่มกิจการ ผู้ตรวจสอบของกลุ่มกิจการอาจจัดประเภทของการดาเนินงานของ กิจการภายในกลุ่มตามลักษณะของการดาเนินงาน การป ระเมินความเสี่ยงสาหรับแต่ละประเภทแยกกัน ซึ่งการประเมินความเสี่ยงดังกล่าวอาจทำให้ผู้ตรวจสอบของกลุ่มกิจการสามารถกำหนดลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของงานตรวจสอบกระบวนการจัดทำรายงานการเงินรวม

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 75 26 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 600 เรื่อง ข้อพิจารณาพิเศษ - การตรวจสอบ รายงาน การเงินของกลุ่มกิจการรวมถึงงานของผู้ ตรวจ สอบ อื่น กระบวนการจัดทำ รายงาน การเงินรวม 15 ) เมื่อมีการพิจารณาข้อปฏิบัติตามมาตร ฐานการสอบบัญชี รหัส 600 ย่อหน้าที่ ก56 ในบริบทของ หน่วยงานภาครัฐ อาจมีรายการที่มีความหลากหลายซึ่งถูกบันทึกเฉพาะในระดับกลุ่มโดยเฉพาะในรายงาน การเงินแผ่นดิน รายการดังกล่าวอาจรวมถึงการบันทึกรายการประเภททรัพยากรธรรมชาติหรือทรัพย์สิน ทางประวัติศาสตร์ เช่น สินทรั พย์มรดกทางวัฒนธรรม ในกรณีดังกล่าว ผู้ตรวจสอบของกลุ่มกิจการ รับผิดชอบในการได้มาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีที่เหมาะสมอย่างเพียงพอสำหรับรายการเหล่านี้ 16 ) ตัวอย่างของเงื่อนไขสาหรับหน่วยงานภาครัฐที่เพิ่มเติมจากภาคผนวกที่ 3 ของมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 600 รวมถึงงานขอ งผู้สอบบัญชีอื่น ซึ่งอาจบ่งชี้ถึงความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง อันเป็นสาระสำคัญต่อรายการเงินของกลุ่มกิจการ • ผู้บริหารขาดความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติ ราชการ ที่เกี่ยวข้อง • การใช้จ่ายเงินเกินงบประมา ณเนื่องจากความบกพร่องในการควบคุมด้านงบประมาณ • การแปรรูปของกิจการภายในกลุ่ม การมีแผนงาน/งาน/โครงการหรือกิจการภายในกลุ่มใหม่ หรือ การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของแผนงาน/งาน/โครงการหรือกิจการภายในกลุ่มที่มีอยู่ • แหล่งเงินทุนใหม่ของกลุ่มกิจการหรือกิจการภายในกลุ่ม และระ หว่างกิจการภายในกลุ่ม • การเปลี่ยนแปลงกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ หรือ คำสั่ง • การตัดสินใจทางการเมือง เช่น การปรับโครงสร้างองค์กรของกิจการภายในกลุ่ม • แผนงาน/งาน/โครงการสำคัญของกิจการภายในกลุ่มที่ไม่ได้รับการจัดสรรทรัพยาก ร และ/หรือ งบประมาณอย่างเพียงพอ • ความคาดหวังของสาธารณชนที่เพิ่มขึ้น • การจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการของกิจการภายในกลุ่มบางกิจการ เช่น หน่วยงานด้านความมั่นคง แห่งชาติ • การจ้างบุคคลภายนอกในการดำเนินกิจกรรมของกิจการภายในกลุ่ม • กิจการภายในกลุ่มซึ่งอยู่ระหว่างการสอบ สวนพิเศษ หรือการควบคุมกากับทางกฎหมายหรือโดยรัฐสภา • การเปลี่ยนแปลงผู้นำทางการเมือง • ข้อบ่งชี้เกี่ยวกับความเสียหายหรือการกระทาความผิด • การทำประมาณการรายจ่ายสูงกว่าปกติเพื่อให้ได้รับงบประมาณ • การร่วมทุนระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน • การแทรกแซงทางการเมืองในการจัดสรรทรัพ ยากรสาธารณะ • รัฐบาลมีอิทธิพลโดยตรงต่อการบริหารงาน และ/หรือการขาดประสบการณ์ทางวิชาชีพในการบริหารงาน เปรียบเทียบกับตำแหน่งที่ได้รับแต่งตั้งจากการเมือง

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 76 26 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 600 เรื่อง ข้อพิจารณาพิเศษ - การตรวจสอบ รายงาน การเงินของกลุ่มกิจการรวมถึงงานของผู้ ตรวจ สอบ อื่น การสื่อสารกับ ผู้ ตรวจสอบ ของกิจการภายในกลุ่ม 17 ) เมื่อมีการสื่อสารระหว่างผู้ตรวจสอบของกิจการภายในกลุ่มตามมาต รฐานการสอบบัญชี รหัส 600 ย่อหน้าที่ 40 ผู้ตรวจสอบของกลุ่มกิจการของหน่วยงานภาครัฐอาจพบว่า การติดต่อสื่อสารดังกล่าว เกี่ยวข้องกับการให้ข้อมูลความเสี่ยงของการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ แก่ผู้ตรวจสอบของกิจการ ภายในกลุ่ม ซึ่งอาจมีผลให้เกิดการแสดงข้อมูล ที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญในรายงานการเงินของกลุ่มกิจการ หรือมีผลกระทบกับลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของการปฏิบัติงานตรวจสอบ และข้อกำหนดในการรายงาน 18 ) ข้อกาหนดและข้อมูลสาหรับหน่วยงานภาครัฐที่เพิ่มเติมจาก ภาคผ นวกที่ 5 ของมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 600 อาจรวมถึง • กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ ที่เกี่ยวข้องกับ การตรวจสอบกิจการภายในกลุ่ม ตลอดจน ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผน การปฏิบัติราชการ ที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบกลุ่ มกิจการ • วิธีการเพิ่มเติมที่ผู้ตรวจสอบของกลุ่มกิจการกาหนดว่า จาเป็นต่อการปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบของ กิจการภายในกลุ่ ม การติดต่อสื่อสารกับผู้บริหารของกลุ่มกิจการและผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแลของกลุ่มกิจการ 19 ) ผู้ตรวจสอบของกลุ่มกิจการของหน่วยงานภาครัฐอาจมีควา มรับผิดชอบในการรายงาน เพื่อสื่อสารเรื่อง การทุจริตที่ตรวจพบในระดับกิจการภายในกลุ่มที่เพิ่มเติมจากข้อกาหนดตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 600 ย่อหน้าที่ 47 ความรับผิดชอบนี้ อาจรวมถึงการรายงานต่อบุคคลภายนอกที่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง เช่น ผู้กากับดูแล และผู้มีอานาจหน้ำที่ในการบังคับบัญชา ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมเกี่ยวกับความรับผิดชอบ ของผู้ตรวจสอบในการรายงานเรื่องการทุจริตรวมอยู่ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 240 เรื่อง ความรับผิดชอบของ ผู้ สอบบัญชี เกี่ยวกับการพิจารณาการทุจริตในการตรวจสอบ งบ การเงิน

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 77 27 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 610 (ปรับปรุง) เรื่อง การใช้ผลงานของผู้ตรวจสอบภายใน 27 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงิ นภาครัฐ รหัส 610 ( ปรับปรุง) เรื่อง การใช้ผลงานของผู้ตรวจสอบภายใน เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1 ) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 6 1 0 (ปรับปรุง) เรื่อง การใช้ผลงาน ของผู้ตรวจสอบภายใน สำหรับผู้ตรวจสอบในเรื่องดังต่อไปนี้ ( ก) การพิจาร ณาว่าจะใช้ผลงานของผู้ตรวจสอบภายในหรือไม่ ในเรื่องใด และมีขอบเขตเพียงใด ( ข) การพิจารณาว่าจะขอความช่วยเหลือโดยตรงจากผู้ตรวจสอบภายในหรือไม่ ในเรื่องใด และมีขอบเขต เพียงใด การพิจารณาว่าจะใช้ผลงานของผู้ตรวจสอบภายในหรือไม่ ในเรื่องใด และมีขอบเขตเพียงใด 2) การประ เมินความเที่ยงธรรมของหน่วยงานตรวจสอบภายในตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 610 ( ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ 15( ก) ผู้ตรวจสอบควรพิจารณาตามหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐาน และหลักเกณฑ์ปฏิบัติการตรวจสอบภายในสาหรับหน่วยงาน ภาค รัฐ อย่างไรก็ตาม งานของหน่วยตรวจสอบ ภายในจะน่า เชื่อได้ว่ามีความเที่ยงธรรม หากการจัดตั้งหน่วยตรวจสอบภายในเป็นไปตาม ก ฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ และดาเนินการตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ ( ก) หน่วยงานตรวจสอบภายในขึ้นตรงต่อผู้บริหารสูงสุดและผู้มีหน้าที่ในการกากับดูแล เช่น หั วหน้า หน่วยงานหรือคณะกรรมการตรวจสอบ ( ข) หน่วยงานตรวจสอบภายในได้รายงานผลการตรวจสอบให้ทั้งผู้บริหารสูงสุดและผู้มีหน้าที่ ในการกำกับดูแล เช่น หัวหน้าหน่วยงานหรือคณะกรรมการตรวจสอบ ( ค) โครงสร้างของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ต้อง ไม่อยู่ภายใต้สายการบังคับบัญชาของหน่วยงา นใด หน่วยงานหนึ่งที่รับการตรวจสอบ ( ง) หน่วยงานตรวจสอบภายในปฏิบัติงานตรวจสอบและรายงานข้อตรวจพบ ความเห็น และข้อสรุป ได้อย่างเที่ยงธรรมโดยปราศจากแรงกดดันทางการเมือง และไม่เกรงกลัวต่อผลกระทบทางการเมือง ( จ) ข้อกาหนดที่ไม่อนุญาตให้ผู้ตรวจสอบภายในตรวจสอบหน่วยงานที่ ตนเคยปฏิบัติงานเพื่อหลีกเลี่ยง ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ใด ๆ ( ฉ) หน่วยงานตรวจสอบภายในมีการติดต่อ สื่อสารกับผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแล การพิจารณาว่าจะขอความช่วยเหลือโดยตรงจากผู้ตรวจสอบภายในหรือไม่ ในเรื่องใด และมีขอบเขต เพียงใด 3) ในการพิจารณาความคาดหวังของ สาธารณชนเกี่ยวกับความเป็นอิสระในการปฏิบัติงานตรวจสอบ ผู้ตรวจสอบ อาจ ต้องประเมินอุปสรรคและมาตรการป้องกันในการขอความช่วยเหลือโดยตรงจาก ผู้ตรวจสอบภายใน ซึ่งเพิ่มเติมจากเกณฑ์ที่ระบุไว้ในมาตรฐานการสอบบัญชี

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 78 28 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 620 เรื่อง การใช้ผลงานของผู้เชี่ยวชาญของผู้ตรวจสอบ 28 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 620 เรื่อง การใช้ผลงานของผู้เชี่ยวชาญของผู้ ตรวจสอบ เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1 ) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 6 2 0 เรื่อง การใช้ผลงานของ ผู้เชี่ยวชาญของผู้สอบบัญชี สำหรับผู้ตรวจสอบในเรื่องดังต่อไปนี้ ( ก) การพิจารณาความจำเป็นในการใช้ผู้เชี่ ยวชาญของผู้ตรวจสอบ ( ข) ความรู้ความสามารถ ความเที่ยงธรรมและเป็นกลางของผู้เชี่ยวชาญของผู้ตรวจสอบ ( ค) ข้อตกลงกับผู้เชี่ยวชาญของผู้ตรวจสอบ การพิจารณาความจำเป็นในการใช้ผู้เชี่ยวชาญของผู้ตรวจสอบ 2) ในการพิจารณาความจาเป็นในการใช้ผลงานของผู้เชี่ยวชาญของผู้ตรวจสอ บ ผู้ตรวจสอบควรพิจารณาว่า การตรวจสอบการเงินอาจรวมถึงความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้นในเรื่องเกี่ยวกับการทุจริต ซึ่งในบางกรณี ผู้ตรวจสอบอาจจำเป็นต้องใช้ผลงานของผู้เชี่ยวชาญ เช่น ในกรณีตรวจพบการปฏิบัติไม่เป็นไปตาม กฎหมายและข้อกาหนดที่อาจบ่งชี้ถึงการกระทาผิดกฎหมายหรือ ทุจริต ผู้ตรวจสอบอาจหารือกับที่ปรึกษา ทางกฎหมายหรือหน่วยงานกากับดูแลที่เหมาะสม ในบางสภาพแวดล้อมของหน่วยงานภาครัฐ เช่น ในกระบวนการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวินัยการเงินการคลังของรัฐ ผู้ตรวจสอบต้องรวบรวมหลักฐาน ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติไม่เป็นไปตามกฎหมาย ระ เบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผน การปฏิบัติราชการ หรือการกระทาผิด ส่งให้หน่วยงานภายในสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินที่รับผิดชอบ ด้านวินัยการเงินการคลังของรัฐ และให้ความร่วมมือในการดาเนินการ โดยทั่วไป ข้อตรวจพบดังกล่าว จะจัดทำเป็นรายงานการตรวจสอบแยกต่างหำกจากรายงานของผู้สอบบัญชีและรายงานข้อเสนอแนะ ความรู้ความสามารถ ความเที่ยงธรรมและเป็นกลางของผู้เชี่ยวชาญของผู้ตรวจสอบ 3) ประเด็นเรื่องความเป็นอิสระเป็นเรื่องสาคัญที่สุดของภาครัฐและประเด็นดังกล่าวอาจรวมถึงข้อกาหนด ทางกฎหมายหรือนโยบายของรัฐบาลซึ่งผู้ตรวจสอบและ ผู้เชี่ยวชาญต้องปฏิบัติตาม ในการประเมิน ความเป็นอิสระของผู้เชี่ยวชาญ ผู้ตรวจสอบอาจปรับใช้วิธีการประเมินความเที่ยงธรรมตามที่แนะนาไว้ ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 620 ย่อหน้าที่ ก 20 และอาจประเมินว่าผู้เชี่ยวชาญมีความเป็นกลาง ทางการเมือง การกระทาของผู้เชี่ยวชาญที่ อาจนาไปสู่ข้อสงสัยเกี่ยวกับความเป็นกลางทางการเมือง อาจรวมถึงการลงสมัครรับเลือกตั้งหรือการดารงตาแหน่งทางการเมือง หรือมีส่วนเกี่ยวข้องในงานที่ได้รับ การสนับสนุนทางการเงินจากกลุ่มการเมือง กลุ่มจัดการผลประโยชน์ หรือองค์กรที่เกี่ยวข้องทางการเมือง ปัจจัยเหล่านี้ ควรนำมาพิจารณาว่าผู้เชี่ยวชาญเข้าไปมีส่วนร่วมมากน้อยเพียงใดและมีความเป็นไปได้ อย่างชัดแจ้ง หรือไม่ ว่าเป็นการกระทำเพื่อประโยชน์ส่วนตน และ/หรือเป็นการกระทำที่มีอคติ

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 79 28 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 620 เรื่อง การใช้ผลงานของผู้เชี่ยวชาญของผู้ตรวจสอบ ข้อตกลงกับผู้เชี่ยวชาญของผู้ตรวจสอบ 4) ในการรักษาความลับ ผู้ตรวจสอบและผู้เชี่ยวชาญต้องปฏิบั ติตามหลักเกณฑ์มาตรฐานเกี่ยวกับ การตรวจเงินแผ่นดิน ภาค 1 มาตรฐานการตรวจเงินแผ่นดินทั่วไป ข้อ 4 ความเคร่งครัดในจริยธรรม แห่งวิชาชีพใน การตรวจเงินแผ่นดิน 4.5 ความโปร่งใสและการรักษาความลับ และในการพิจารณาเรื่อง การรักษาความลับ ตามที่ระบุในมาตรฐานการสอบบัญชี รหั ส 620 ย่อหน้าที่ 11( ง) ผู้ตรวจสอบต้อง ตระหนักถึงกฎหมายที่ให้สาธารณชนสามารถเข้าถึงผลงานของผู้เชี่ยวชาญที่นามาใช้ในการตรวจสอบ หน่วยงานภาครัฐด้วย 5) สำหรับหน่วยงานภาครัฐ โดยทั่วไป หน่วยงานที่มีหน้าที่กากับดูแล หน่วยงานที่มีหน้าที่และอำนาจ ตามกฎหมาย สานักงานตาร วจแห่งชาติ สานักงานอัยการสูงสุด ผู้ฟ้องคดี หรือผู้พิพากษาสามารถร้องขอ เพื่อให้ได้มาซึ่งการเข้าถึงผลงานของผู้เชี่ยวชาญได้ ผู้ตรวจสอบควรแจ้งให้ผู้เชี่ยวชาญทราบว่าหน่วยงาน หรือบุคคลดังกล่าวอาจขอเอกสารหลักฐานหรือรายงานของผู้เชี่ยวชาญเพื่อนาไปใช้ในการดาเนินการอื่ น หรืองานสืบสวนได้ 6) ผู้เชี่ยวชาญที่ปฏิบัติงานให้แก่หน่วยงานภาครัฐอาจมีความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้นเกี่ยวกับการรักษาความลับ ซึ่งเป็นไปตามหน้าที่และอานาจของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน หรือกฎหมายที่เกี่ยวกับรักษาความลับ ของทางราชการหรือพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูล ส่วนบุคคล เช่น กฎหมายที่เกี่ยวกับการตรวจสอบ หน่วยงานด้านความมั่นคง ด้านสาธารณสุข ด้านบริการสังคมหรือด้านการจัดเก็บภาษี ผู้ตรวจสอบอาจ จาเป็นต้องทาความเข้าใจในข้อกาหนดเฉพาะที่เกี่ยวกับการรักษาความลับที่ตกลงกับผู้เชี่ยวชาญไว้เป็น ลายลักษณ์อักษร 7) เพื่อรักษาควา มสมดุลระหว่างการรักษาความลับกับความโปร่งใส ผู้ตรวจสอบต้องใช้วิจารณญาณเยี่ยง ผู้ประกอบวิชาชีพเพื่อให้มั่นใจว่างานของผู้เชี่ยวชาญนั้นได้มีการระบุถึงลักษณะงานที่ต้องถือเป็นความลับ ไว้อย่างชัดเจนและได้ปฏิบัติเกี่ยวกับการรักษาความลับแล้วอย่างเหมาะสม ในขณะเดียวกั นก็ให้สิทธิ ในการ เข้าถึงข้อมูลได้ตามความเหมาะสม ทั้งนี้ ผู้ตรวจสอบควรตระหนักถึงนโยบายและวิธีปฏิบัติกาหนด ไว้เกี่ยวกับการจัดการสถานการณ์ดังกล่าว

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 80 2 9 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 700 (ปรับปรุง) เรื่อง การแสดงความเห็นและการรายงานต่อรายงานการเงิน 29 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 700 ( ปรับปรุง) เรื่อง การแสดงความเห็นและการรายงานต่อ รายงาน การเงิ น เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1 ) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 700 (ปรับปรุง) เรื่อง การแสดง ความเห็นและการรายงานต่อ งบ การเงิน สำหรับผู้ตรวจสอบในเรื่องดังต่อไปนี้ รายงานของผู้สอบบัญชี 2 ) กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแ บบแผนการปฏิบัติราชการ ของหน่วยงานภาครัฐ อาจกาหนดความรับผิดชอบต่อรายงานการเงินและผู้ตรวจสอบควรกาหนดความรับผิดชอบของผู้บริหาร และผู้มีหน้าที่ในการกากับดูแล 1 ในรายงานของผู้สอบบัญชี ตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 700 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ ก44 ถึง ก49 3 ) ตามมาตรฐาน การสอบบัญชี รหัส 700 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ 43 กาหนดว่า หากผู้สอบบัญชีกล่าวถึง ความรับผิดชอบอื่น ๆ ในการรายงานไว้ในรายงานของ ผู้สอบบัญชีต่องบการเงิน ซึ่งนอกเหนือจาก ความรับผิดชอบผู้สอบบัญชีภายใต้มาตรฐานการสอบบัญชีในการรายงานต่องบการเงิน ความรับผิดชอบอื่น ๆ ใ นการรายงานดังกล่าวต้องกล่าวถึงในส่วนที่แยกต่างหากในรายงานของผู้สอบบัญชีและต้องอยู่ภายใต้ หัวข้อ “ รายงานตามข้อกาหนดทางกฎหมายและข้อบังคับอื่น ” หรือหัวข้ออื่นตามความเหมาะสมกับ เนื้อหาของส่วนนั้น เว้นแต่ได้กล่าวถึงความรับผิดชอบในการรายงานอื่น ๆ เหล่านี้ในหัวข้อเ หมือนกันกับ ที่นาเสนอภายใต้ความรับผิดชอบการรายงานที่กาหนดโดยมาตรฐานการสอบบัญชีในกรณีที่นาเสนอ ความรับผิดชอบอื่น ๆ ในการรายงานในส่วนที่เหมือนกันกับองค์ประกอบรายงานที่เกี่ยวข้องที่กาหนด โดยมาตรฐานการสอบบัญชี ข้อกาหนดในการรายงานตามมาตรฐานการสอบบัญชีนี้ มีขึ้น เพื่อช่วยให้ การแสดงความเห็นต่อรายงานการเงินมีความชัดเจน โดยกาหนดข้อมูลที่ต้องรายงานไว้ในรายงานของ ผู้สอบบัญชีตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่ไม่เกี่ยวข้องกับ การแสดงความเห็นต่อรายงานการเงินเพื่อให้เห็น ความแตกต่างอย่างชัดเจนซึ่งตามมาตรฐานการสอบบัญชี ไม่ได้กล่าวถึงลัก ษณะและขอบเขตของวิธีการ ที่ต้องปฏิบัติเพื่อสนับสนุนการรายงานข้อมูลดังกล่าว หรือวิธีการนาเสนอข้อมูลดังกล่าวในรายงาน แยกต่างหาก ดังนั้น การนามาตรฐานการตรวจสอบอื่น ๆ มาใช้จึงมีความจาเป็นในการรายงานข้อมูลดังกล่าว ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามที่สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิ นกำหนด 4 ) ความรับผิดชอบด้านจรรยาบรรณตามที่กล่าวไว้ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 220 เรื่อง การ ควบคุม คุณภาพการตรวจสอบงบการเงิน ต้องระบุไว้ในรายงานของผู้สอบบัญชีในหัวข้อเกณฑ์ในการแสดงความเห็น ตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 700 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ 28 1 มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 260 (ปรับปรุง) การสื่อสารกับผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแล

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 81 2 9 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 700 (ปรับปรุง) เรื่อง การแสดงความเห็นและการรายงานต่อรายงานการเงิน 5 ) ในกรณีที่กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ กาหนดให้ ผู้ตรวจสอบใช้รูปแบบหรือถ้อยคาที่เฉพาะเจาะจงในรายงานของผู้สอบบัญชี ผู้ตรวจสอบต้องพิจารณาว่ำ รูปแบบหรือถ้อยคาได้รวมถึงแต่ละองค์ประกอบเป็นอย่างน้อยตามที่กาหนดไว้ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 700 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ 50 หรือไม่ หากไม่มีองค์ประกอบตามที่กาหนด ผู้ตรวจสอบไม่สามารถ อ้างได้ว่าการตรวจสอบเป็นไปตามมาตรฐานการสอบบัญชี 6 ) ในการปฏิบัติตามมาตรฐานกำรสอบบัญชี รหัส 700 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ ก21 หากกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ ไม่ได้กาหนดผู้รับรายงานของผู้สอบบัญชีไว้ ให้ผู้ตรวจสอบเสนอรายงานของผู้สอบบัญชีต่อผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแลหรือหน่วยงานที่ ออก กฎหมาย 7 ) กฎหมา ย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ อาจกาหนดระยะเวลา ในการลงวันที่ในรายงานของผู้สอบบัญชี ในสถานการณ์ที่ผู้ตรวจสอบไม่สามารถปฏิบัติงานให้แล้วเสร็จ ภายในเวลาที่กาหนด ผู้ตรวจสอบอาจพิจารณาถึงการดาเนินการที่เหมาะสม เช่น แจ้งผู้มีหน้าที่ใน การกากับ ดูแลหรือหน่วยงานที่ ออก ฎหมาย

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 82 30 แนวปฏิบัติ การตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 70 1 เรื่อง การสื่อสารเรื่องสำคัญในการตรวจสอบในรายงานของผู้สอบบัญชี หรือรายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต 30 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 701 เรื่อง การสื่อสารเรื่องสาคัญในการตรวจสอบในรายงานของผู้สอบบัญชี หรือ รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1 ) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเ พิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 701 เรื่อง การสื่อสารเรื่องสำคัญ ในการตรวจสอบในรายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต สำหรับผู้ตรวจสอบในเรื่องดังต่อไปนี้ ( ก) การกาหนดเรื่องสำคัญในการตรวจสอบ ( ข) การสื่อสารเรื่องสำคัญในการตรวจสอบ การกำหนดเรื่องสำคัญในการตรวจสอบ 2 ) ในขณะที่ข้อกาหนดในการรายงานเรื่องสาคัญในการตรวจสอบเป็นข้อบังคับสาหรับกิจการจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์ตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 701 ผู้ตรวจสอบอาจพิจารณารายงานเรื่องสาคัญ ในการตรวจสอบเมื่อตรวจสอบหน่วยงานอื่นนอกเหนือจากกิจการจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เนื่อ งจากหน่วยงานภาครัฐเป็นส่วนเกี่ยวข้องที่สาคัญของภาคเศรษฐกิจต่าง ๆ และมีหน้าที่รับผิดชอบตามที่ กาหนด ไว้ในกฎหมายซึ่งส่งผลกระทบต่อประชาชน ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามที่สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน กำหนด 3) เมื่อตัดสินใจที่จะสื่อสารเรื่องสำคัญในการตรวจสอบ ในกรณีที่มีการตร วจสอบหน่วยงานอื่นนอกเหนือจาก กิจการจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ผู้ตรวจสอบอาจพิจารณาตามหลักเกณฑ์ ดังนี้ • ถ้ากฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ หรือ หน้าที่และ อานาจในการ ตรวจเงินแผ่นดิน กาหนดให้ผู้ตรวจสอบต้องรายงานประเด็นเฉพาะที่เกี่ ยวข้องกับงาน ของผู้ตรวจสอบซึ่งคล้ายกับเรื่องสาคัญในการตรวจสอบ ผู้ตรวจสอบอาจพิจารณาว่าประเด็นเฉพาะ ดังกล่าวเกี่ยวข้องกับการสื่อสารเรื่องสำคัญในการตรวจสอบในรายงานของผู้สอบบัญชี หรือไม่ • การสื่อสารประเด็นที่คล้ายกับเรื่องสำคัญในการตรวจสอบ ซึ่งกาหนดไว้ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ อาจมีการสื่อสารในรูปแบบที่แตกต่างกันไป หากเป็นการสื่อสารในรายงานของผู้สอบบัญชีตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 701 อาจไม่เหมาะสม แต่ผู้ตรวจสอบอาจสื่อสารเรื่องดังกล่าวด้วยการแยกเสนอรายงานต่อผู้ใช้อย่างเฉพำะเจาะจง ทั้งนี้ ผู้ตรวจสอบอาจนามาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 701 เรื่อง การสื่อสารเรื่องสาคัญในการตรวจสอบ ในรายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต มาปรับใช้ในส่วนที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากรายงานของผู้สอบบัญชี เผยแพร่ต่อผู้มีส่วนได้เสียและผู้ใช้รายงานการเงิน • มาตรฐานการสอบบั ญชี รหัส 700 ( ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ ก 75 ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมในการปฏิบัติ เกี่ยวกับเรื่องสำคัญในการตรวจสอบและข้อกำหนดการรายงานอื่น ๆ สาหรับหน่วยงานภาครัฐ

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 83 30 แนวปฏิบัติ การตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 70 1 เรื่อง การสื่อสารเรื่องสำคัญในการตรวจสอบในรายงานของผู้สอบบัญชี หรือรายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต 4) ในกรณีที่ผู้ตรวจสอบนามาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 701 มาใช้สาหรับการตรวจสอบหน่วยงานภาครัฐ นอกเหนือจา กกิจการจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ผู้ตรวจสอบอาจกาหนดนโยบายเพื่อสื่อสารเรื่องสาคัญ ในการตรวจสอบสาหรับหน่วยงานภาครัฐทั้งหมด (นอกเหนือจากกิจการจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์) หรือเฉพาะหน่วยงานที่เฉพาะเจาะจง โดยอาจกาหนดหลักเกณฑ์เพื่อระบุหน่วยงานที่อาจมี การสื่อสาร เรื่ องสำคัญในการตรวจสอบ ตัวอย่างเช่น • หน่วยงานภาครัฐที่มีผลกระทบสูงสุดต่องบประมาณของรัฐ เช่น หน่วยงานภาครัฐที่ได้รับการจัดสรร งบประมาณรายจ่ายประจำปี • หน่วยงานภาครัฐที่มีผลกระทบในสัดส่วนมากที่สุดต่อ รายงาน การเงินรวม • หน่วยงานภาครัฐที่อาจส่งผลต่อเศรษฐกิจ เช่น ภาระ หนี้สาธารณะ การสื่อสารเรื่องสำคัญในการตรวจสอบ 5) ในการสื่อสารเรื่องสำคัญในการตรวจสอบ ให้ผู้ตรวจสอบพิจารณากฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ โดยจากัดการรายงานข้อมูลให้เป็นไปตามข้อกาหนด การรักษาความลับ ในการรักษาความลับอาจขึ้ นอยู่กับหน้าที่และอานาจของผู้ตรวจสอบหรือกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับความลับทางราชการหรือข้อมูลส่วนบุคคล เช่น การตรวจสอบหน่วยงานที่รับผิดชอบ เกี่ยวกับการป้องกันประเทศ งานสาธารณสุข งานบริการสังคม และการจัดเก็บภาษี ผู้ตรวจสอบอาจระบุ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณ ะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ และพิจารณาข้อกาหนด การรักษาความลับดังกล่าว เมื่อกำหนดเรื่องสำคัญในการตรวจสอบเพื่อสื่อสาร ซึ่งมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 701 ย่อหน้าที่ 14 และย่อหน้าที่ ก 52 ถึง ก 56 ให้ข้อปฏิบัติเกี่ยวกับสถานการณ์นี้ 6) ตัวอย่างของวรรคเรื่ องสำคัญในการตรวจสอบ เรื่องสำคัญในการตรวจสอบ เรื่องสาคัญในการตรวจสอบ คือเรื่องต่าง ๆ ที่มีนัยสาคัญที่สุดตามดุลยพินิจเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ ในการตรวจสอบรายงานการเงินงวดปัจจุบัน เรื่องเหล่านี้ได้ถูกระบุในบริบทของการตรวจสอบรายงานการเงิน โดยรวมและในการแสดงความเ ห็นของผู้สอบบัญชี ทั้งนี้ ผู้สอบบัญชีไม่ได้แสดงความเห็นแยกต่างหากสาหรับ เรื่องเหล่านี้ การประเมินมูลค่าสินทรัพย์ที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะ บริษัท กขค จากัด ถือครองสินทรัพย์ที่มีนัยสาคัญซึ่งมีวัตถุประสงค์เฉพาะ แสดงเป็นร้อยละ xx ของ สินทรัพย์รวม เนื่องจากโครงสร้าง ที่มีรูปแบบเฉพาะ ลักษณะและอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ดังกล่าว การประเมินมูลค่าสินทรัพย์เหล่านี้ ขึ้นอยู่กับการพัฒนาแบบจาลองการประเมินมูลค่าที่ใช้ภายใน หน่วยงาน และไม่ใช่ราคาซื้อขายในตลาด ทาให้เกิดความไม่แน่นอนของการวัดมูลค่าอย่างมีสาระสาคัญในการประเมิน มู ลค่าสินทรัพย์ ด้วยเหตุนี้ การประเมินมูลค่าสินทรัพย์เหล่านี้จึงเป็นสาระสำคัญต่อการตรวจสอบ

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 84 30 แนวปฏิบัติ การตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 70 1 เรื่อง การสื่อสารเรื่องสำคัญในการตรวจสอบในรายงานของผู้สอบบัญชี หรือรายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน/ข้าพเจ้าให้ผู้เชี่ยวชาญด้านการประเมินมูลค่าสินทรัพย์ และ ผู้เชี่ยวชาญ ภายนอกมีส่วนร่วมในเรื่องนี้ และสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน/ข้าพเจ้าได้ใช้ วิธีการตรวจสอบ ที่สำคัญ ดังนี้ • การประเมินความเหมาะสมของข้อสมมติที่ผู้บริหารใช้ • การวิเคราะห์ผลลัพธ์เปรียบเทียบกับข้อมูลของบุคคลที่สามที่เกี่ยวข้อง • การทดสอบการควบคุมภายในของโปรแกรมที่ใช้ในการประเมินมูลค่า สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน/ข้าพเจ้าได้ประเมินการแสดงรำยการและการเปิดเผยข้อมูล ในรายงานทางการเงินแล้ว การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการประเมินมูลค่าสินทรัพย์ที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะตามที่กล่าวไว้ในหมาย เหตุประกอบงบการเงินข้อ XX 1 1 มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 701 ย่อหน้าที่ 13

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 85 31 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 70 5 (ปรับปรุง) เรื่อง การแสดงความเห็นแบบที่เปลี่ยนแปลงไปในรายงานของผู้สอบบัญ ชี หรือรายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต 31 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเ งินภาครัฐ รหัส 705 ( ปรับปรุง) เรื่อง การแสดงความเห็นแบบที่เปลี่ยนแปลงไปในรายงานของผู้สอบบัญชี หรือ รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1 ) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 705 (ปรับปรุง) เรื่อง การแสดง ความเห็นแบ บที่เปลี่ยนแปลงไปในรายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต สำหรับผู้ตรวจสอบในเรื่อง ดังต่อไปนี้ (ก) สถานการณ์ซึ่งกำหนดให้ผู้สอบบัญชี/ผู้ตรวจสอบแสดงความเห็นแบบที่เปลี่ยนแปลงไป (ข) การกาหนดรูปแบบการแสดงความเห็นของผู้สอบบัญชี/ผู้ตรวจสอบแบบที่เปลี่ยนแปลงไป (ค) ลักษณะขอ งการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญ (ง) ลักษณะของการไม่สามารถหาหลักฐานการสอบบัญชีที่เหมาะสมอย่างเพียงพอ (จ) รูปแบบและเนื้อหาในรายงานของผู้สอบบัญชีเมื่อแสดงความเห็นแบบที่เปลี่ยนแปลงไป (ฉ) การสื่อสารกับผู้มีหน้าที่ในการกากับดูแล สถานการณ์ซึ่ งกำหนดให้ผู้สอบบัญชี/ผู้ตรวจสอบแสดงความเห็นแบบที่เปลี่ยนแปลงไป 2 ) ในการปรับใช้ข้อกาหนดตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 705 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ 6 ผู้ตรวจสอบ ที่รับผิดชอบในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการรายงานการไม่ปฏิบัติตามอำนาจหน้าที่ ในขณะปฏิบัติงาน ตรวจสอบรายงานกำรเงิน อาจพิจารณาผลกระทบของเรื่องสาคัญในการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย โดย รายงานในส่วนที่แยกต่างหากในรายงานของผู้สอบบัญชีตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 700 (ปรับปรุง) เรื่อง การแสดงความเห็นและการรายงานต่อง งบ การเงิน ย่อหน้าที่ 43 การกำหนดรูปแบบการแสดงความเห็นของผู้สอบบั ญชี/ผู้ตรวจสอบแบบที่เปลี่ยนแปลงไป 3 ) นอกจากการปฏิบัติตามที่กาหนดไว้ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 705 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ 13(ข) ผู้ตรวจสอบอาจพิจารณารายงานต่อ หน่วยงาน ที่ ออกกฎหมาย หรือหน่วยงานกากับดูแลอื่นตามความเหมาะสม จากการที่ผู้บริหารจากัดการเข้าถึงหลักฐาน การสอบบัญชี ลักษณะของการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญ 4 ) เมื่อนามาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 705 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ ก3 มาใช้ ผู้ตรวจสอบต้องนาข้อปฏิบัติเพิ่มเติม ตามแนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 450 และตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 450 เรื่อง การประเมินการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงที่พบระหว่างการตรวจสอบ ย่อหน้าที่ ก24 และ ก25 มาใช้ด้วย

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 86 31 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 70 5 (ปรับปรุง) เรื่อง การแสดงความเห็นแบบที่เปลี่ยนแปลงไปในรายงานของผู้สอบบัญ ชี หรือรายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ลักษณะของการไม่สามารถหาหลักฐานการสอบบัญชีที่เหมาะสมอย่างเพียงพอ 5 ) สำหรับหน่วยงานภาครัฐ ตัวอย่างเพิ่มเติมของสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับวิธีการตรวจสอบห รือเวลา การปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบตามที่อธิบายไว้ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 705 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ ก11 อาจรวมถึงการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับกฎหมาย ภัยพิบัติที่ส่งผลกระทบระดับชาติ และการตัดสินใจ ทางการเมือง เช่น การปฏิบัติการทางทหาร และการย้ายสถานที่ทาการที่สำคั ญของรัฐ รูปแบบและเนื้อหาในรายงานของผู้สอบบัญชีเมื่อแสดงความเห็นแบบที่เปลี่ยนแปลงไป 6 ) สาหรับหน่วยงานภาครัฐ การแสดงความเห็นแบบที่เปลี่ยนแปลงไปอาจไม่เกี่ยวข้องเฉพาะกับจานวนเงิน ของผลกระทบที่มีต่อภาษีเงินได้ กาไรก่อนภาษี กาไรสุทธิและส่วนของเจ้าของ ตามตัวอย่า งที่ให้ไว้ใน มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 705 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ ก22 ผู้ตรวจสอบอาจพิจารณาจากจานวนเงินของ ผลกระทบที่มีต่อรายงานการเงินในรายการอื่น ๆ เช่น รายจ่ายรวม รายได้รวม หรือหนี้สาธารณะ หรือ รายได้สูงกว่าค่าใช้จ่าย การสื่อสารกับผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแล 7 ) ผู้ตรวจสอบอาจพิจารณาสื่อสารกับผู้ใช้รายงานอื่น เช่น หน่วยงาน ที่ ออกกฎหมาย เพิ่มเติมจากผู้มีหน้าที่ ในการกำกับดูแลตามที่กล่าวไว้ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 705 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ 30

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 87 32 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 70 6 (ปรับปรุง) เรื่อง วรรคเน้นข้อมูลและเหตุการณ์และวรรคเรื่องอื่นในรายงานของผู้สอบบัญชี หรือรายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต 3 2 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 706 ( ปรับปรุง) เรื่ อง วรรคเน้นข้อมูลและเหตุการณ์และวรรคเรื่องอื่นในรายงานของ ผู้สอบบัญชี หรือ รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1 ) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 70 6 (ปรับปรุง) เรื่อง วรรคเน้นข้อมูล และเหตุการณ์และวรรคเรื่องอื่นใ น รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต สำหรับผู้ตรวจสอบในเรื่อง ดังต่อไปนี้ ( ก) วรรคเน้นข้อมูลและเหตุการณ์ในรายงานของผู้สอบบัญชี ( ข) วรรคเรื่องอื่นในรายงานของผู้สอบบัญชี ( ค) การสื่อสารกับผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแล วรรคเน้นข้อมูลและเหตุการณ์ในรายงานของผู้สอบบัญชี 2) นอกจากตัวอย่างสถานการณ์ที่ผู้ตรวจสอบอาจพิจารณาว่าจาเป็นต้องเพิ่มวรรคเน้นข้อมูลและเหตุการณ์ ตามมาตร ฐาน การสอบบัญชี รหัส 706 ( ปรับปรุง) แต่สาหรับการตรวจสอบหน่วยงานภาครัฐ หน้าที่และ อานาจในการ ตรวจเงินแผ่นดิน หรือความคาดหวังของสาธารณชน ผู้ตรวจสอบอาจเพิ่มสถานการณ์ ที่ต้อง รายงานในวรรคเน้นข้อมูลและเหตุการณ์ที่ได้มีการแสดงหรือเปิดเผยไว้แล้วอย่างเหมาะสมในรายงาน การเงิน โดยอาจพิจารณาปัจจัยดังต่อไปนี้ • การดำเนินการตามข้อกำหนดของกฎหมายที่เกี่ยวกับโครงการหรืองบประมาณ • กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติ ราชการ หรือคาสั่งที่ถือปฏิบัติ ที่มีผลกระทบอย่างมีสาระสำคัญกับหน่วยงานภาครัฐ • การทุจริต การปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบหรือการเกิดความเสียหาย • รายการที่มีนัยสำคัญ • ข้อบกพร่องของการควบคุมภายในที่เป็นสาระสำคัญ • การดำเนินงานตามภารกิจที่มีข้อสงสัย • รายการที่เกิดขึ้นโดยไม่ คำนึงถึงความประหยัด • ข้อผิดพลาดของงวดก่อน • ประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม • ประเด็นที่เกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคมของหน่วยงานภาครัฐ

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 88 32 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 70 6 (ปรับปรุง) เรื่อง วรรคเน้นข้อมูลและเหตุการณ์และวรรคเรื่องอื่นในรายงานของผู้สอบบัญชี หรือรายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต วรรคเรื่องอื่นในรายงานของผู้สอบบัญชี 3) ตัวอย่างการรายงานในวรรคเน้นข้อมูลและเหตุการณ์ ตามย่อหน้าที่ 2 ข้างต้น หากไม่มีการเปิดเผยข้อ มูล ดังกล่าวในรายงานการเงิน ผู้ตรวจสอบอาจพิจารณาเพิ่มวรรคเรื่องอื่น ตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 706 ( ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ 10 ถึง 11 4) ในการตรวจสอบหน่วยงานภาครัฐ ผู้ตรวจสอบมีหน้าที่และอานาจตามกฎหมายหรือ ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติรา ชการ อาจไม่สามารถถอนตัวจากงานตรวจสอบได้ ถึงแม้ว่า ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการไม่สามารถได้มาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีที่เหมาะสมอย่างเพียงพอ อันเนื่องมาจากการจากัดขอบเขตการตรวจสอบโดยผู้บริหารจะแผ่กระจาย ตามที่ระบุไว้ในมาตรฐาน การสอบบัญชี รหัส 706 ( ปรับปรุง) ย่อห น้า ที่ ก 10 ในกรณีนี้ ผู้ตรวจสอบควรพิจารณาว่าจาเป็นต้องเพิ่ม วรรคเรื่องอื่นในรายงานของผู้สอบบัญชีเพื่ออธิบายถึงหน้าที่และอานาจในการ ตรวจเงินแผ่นดิน ซึ่งทาให้ ผู้ตรวจสอบ ไ ม่ สามารถถอนตัวจากงานตรวจสอบนั้นได้ 5) ข้อจำกัดในการเผยแพร่หรือการใช้รายงานของผู้สอบบัญชี ตา มที่กล่าวไว้ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 706 ( ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ ก 14 อาจไม่สามารถนำมาใช้ได้ในหน่วยงานภาครัฐ ทั้งนี้ ตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 800 (ปรับปรุง) เรื่อง ข้อพิจารณาพิเศษ - การตรวจสอบงบการเงินที่จัดทำตามแม่บทเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ ย่อหน้าที่ ก 21 ได้ ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมเกี่ยวกับข้อจำกัดในการเผยแพร่หรือการนำไปใช้ การสื่อสารกับผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแล 6) ตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 706 ( ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ 12 กาหนดให้ผู้ตรวจสอบต้องสื่อสารกับ ผู้มีหน้าที่ในการกากับดูแล หากผู้ตรวจสอบคาดว่าจะเพิ่มวรรคเ น้นข้อมูลและเหตุการณ์หรือวรรคเรื่องอื่น ในรายงานของผู้สอบบัญชี นอกจากนี้ ผู้ตรวจสอบอาจพิจารณาสื่อสารกับผู้ใช้รายงานอื่นด้วย เช่น หน่วยงานที่ออกกฎหมาย 7) ตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 706 ( ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ ก 18 ผู้ตรวจสอบอาจได้รับการคาดหวังให้ สื่อสารกับผู้ มีหน้าที่ ในการ กำกับดูแลเกี่ยวกับทุกเรื่องที่อยู่ในวรรคเรื่องอื่นรวมถึงเรื่องที่เกิดขึ้น ในหลายงวด ต่อเนื่องกัน และอาจพิจารณาสื่อสารเรื่องที่เกิดขึ้นดังกล่าวกับบุคคลอื่นด้วย เช่น หน่วยงาน ที่ออก ก ฎหมาย

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 89 33 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 7 10 เรื่อง ข้อมูลเปรียบเทียบ - ตัวเลขเปรียบเทียบและรายงานการเงินเปรียบเทียบ 33 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 710 เรื่อง ข้อมูลเปรียบเทียบ - ตัวเลขเปรียบเทียบและ รายงานการเงิน เปรียบเทียบ เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1 ) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 710 เรื่อง ข้อมูลเปรียบเทียบ - ตัวเลข เปรียบเทียบและงบการเงินเปรียบเทียบ สำหรับผู้ตรวจสอบในเรื่องดังต่อไปนี้ การรายงานการตรวจสอบ 2) โดยทั่วไป สถานการณ์ตามที่กล่าวไว้ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 710 ย่อหน้าที่ 13 17 และ 18 มีโอกาสเกิดขึ้นน้อยในหน่วยงานภาครัฐ เนื่องจากความรับผิดชอบในการตรวจสอบรายงานการเงิน เป็นหน้าที่และอำนาจตามที่กฎหมายกำหนด นอกจากนี้ สถานการณ์ที่ อาจเกี่ยวข้องกับแนวคิด เรื่องผู้ตรวจสอบคนก่อน ได้แก่ การแปรรูปกิจการเอกชนไปเป็นของรัฐและการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ รวมถึง สถานการณ์ตามที่กล่าวไว้ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 710 ย่อหน้าที่ 14 และ 19 ที่เกี่ยวข้องกับ รายงานการเงินงวดก่อนไม่ได้มีการตรวจสอบ นั้น มีโอกาส น้อยมากที่จะเกิดขึ้น

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 90 34 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 7 20 (ปรับปรุง) เรื่อง ความรับผิดชอบของผู้ตรวจสอบเกี่ยวกับข้อมูลอื่น 34 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 720 ( ปรับปรุง) เรื่อง ความรับผิดชอบของผู้ ตรวจสอบ เกี่ยวกับข้อมูลอื่น เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1 ) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 720 ( ปรับปรุง ) เรื่อง ความรับผิดชอบ ของผู้สอบบัญชีเกี่ยวกับข้อมูลอื่น สำหรับผู้ตรวจสอบในเรื่องดังต่อไปนี้ (ก) คำจำกัดความของรายงานประจำปี (ข) การถอนตัวจากงานตรวจสอบ คาจากัดความของรายงานประจำปี 2 ) ในการปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนกำรปฏิบัติราชการ หน่วยงานภาครัฐอาจเผยแพร่รายงานเพิ่มเติม เช่น รายงานกิจกรรมประจาปี หรือรายงานความยั่งยืน ด้านการเงินหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง 3 ) ผู้ตรวจสอบควรทาความเข้าใจเกี่ยวกับขอบเขต เนื้อหา วัตถุประสงค์ และเจตนารมณ์ของเอกสารหรือ ชุดเอกสารที่หน่วยรับตรวจเ ผยแพร่ประจาปี ไม่ว่าเอกสารหรือชุดเอกสารนั้นจะอยู่ในรูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ หรืออิเล็กทรอนิกส์ ผู้ตรวจสอบควรประสานงานกับผู้บริหารเพื่อระบุว่าเอกสารหรือชุดเอกสารใด เป็นรายงานประจำปีของหน่วยรับตรวจ 4 ) ผู้ตรวจสอบอาจพิจารณาว่าจาเป็นต้องจัดทาแนวปฏิบัติ เพื่อให้แน่ใจว่ำลักษณะของรายงานประจาปี ที่หน่วยงานภาครัฐจะดำเนินการเป็นไปอย่างสม่ำเสมอในทุกหน่วยรับตรวจ การถอนตัวจากงานตรวจสอบ 5 ) เมื่อสถานการณ์แวดล้อมในการปฏิเสธการแก้ไขการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญ ในข้อมูลอื่น อันทาให้เกิดข้อสงสัยในความซื่อสัตย์สุ จริตของผู้บริหารและผู้มีหน้าที่ในการกากับดูแล ซึ่งนาไปสู่ปัญหาความน่าเชื่อถือของหนังสือรับรองที่ได้รับจากผู้บริหารและผู้มีหน้าที่ในการกากับดูแล ในระหว่างการตรวจสอบ เมื่อนั้นการถอนตัวจากงานตรวจสอบอาจเหมาะสม 6 ) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 720 (ปรับปรุง) ย่อหน้ ำที่ ก47 กำหนดให้ในหน่วยงานภาครัฐ การถอนตัวจากงานตรวจสอบอาจไม่สามารถทาได้ ในกรณีดังกล่าว ผู้ตรวจสอบอาจออกรายงานต่อ หน่วยงานที่ออกกฎหมาย โดยให้รายละเอียดของประเด็นหรืออาจดาเนินการอื่น ๆ ตามความเหมาะสม ซึ่งการดาเนินการอื่น ๆ ตามความเหมาะสมประกอบด้วยรายงานภำยใต้วรรคเรื่องอื่นตามมาตรฐาน การสอบบัญชี รหัส 706 (ปรับปรุง) เรื่อง วรรคเน้นข้อมูลและเหตุการณ์และวรรคเรื่องอื่นในรายงานของ ผู้สอบบัญชีรับอนุญา ต ที่ระบุให้เห็นชัดถึงการปฏิเสธของผู้บริหารในการแก้ไขการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อ ข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญในข้อมูลอื่ น หรือผู้ตรวจสอบอาจสรุปได้ว่าการไม่แสดงความเห็นต่อรายงาน การเงินเป็นการตอบสนองที่เหมาะสมในสถานการณ์ดังกล่าว นอกจากนี้ ผู้ตรวจสอบอาจพิจารณา ดำเนินการเพิ่มเติมตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้น

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 91 35 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 800 (ปรับปรุง) เรื่อง ข้อพิ จารณาพิเศษ - การตรวจสอบ รายงาน การเงินที่จัดทำตามแม่บท เพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ 35 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 800 ( ปรับปรุง) เรื่อง ข้อพิจารณาพิ เศษ - การตรวจสอบ รายงาน การเงินที่จัดทำ ตามแม่บทเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1 ) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 800 ( ปรับปรุง) เรื่อง ข้อพิจารณาพิเศษ - การตรวจสอบ งบ การเงินที่จัดทำตามแม่บทเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ สำห รับผู้ตรวจสอบในเรื่องดังต่อไปนี้ (ก) คำนิยามของแม่บทเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ (ข) ข้อพิจารณาเมื่อตกลงรับงานสอบบัญชี (ค) การแสดงความเห็นและข้อพิจารณาในการรายงาน คานิยามของแม่บทเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ 2 ) นอกจากการจัดทารายงานการเงินเพื่อวัตถุประสงค์ทั่วไป หน่ วยงานภาครัฐอาจจัดทารายงานการเงิน เพื่อนาเสนอหน่วยงานอื่น (เช่น หน่วยงานกากับดูแล หน่วยงานที่ออกกฎหมาย หรือหน่วยงานอื่นที่ทาหน้าที่ ควบคุมดูแล) ที่สามารถสั่งการให้หน่วยงานภาครัฐจัดทารายงานการเงินที่ให้ข้อมูลเฉพาะตามความต้องการ ในบางสถานการณ์ รายงานการเงินดั งกล่าวเป็นรายงานการเงินเพียงฉบับเดียวที่หน่วยงานภาครัฐจัดทา ตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 800 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ ก4 สามารถพิจารณาได้ว่ารายงานการเงินนั้น เป็นรายงานการเงินเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ ดังนั้น ผู้ตรวจสอบควรพิจารณาว่าแม่บทการรายงานทางการเงิน ที่ออกแบ บมาได้ตอบสนองความต้องการข้อมูลทางการเงินของผู้ใช้รายงานการเงินที่หลากหลาย “ แม่บท เพื่อวัตถุประสงค์ทั่วไป ” หรือได้ตอบสนองความต้องการข้อมูลทางการเงินของผู้ใช้รายงานการเงิน เฉพาะกลุ่มหรือไม่ 3 ) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 800 (ปรับปรุง ) ย่อหน้าที่ ก1 ให้ตัวอย่างขอ งแม่บทเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ สาหรับตัวอย่างอื่นอาจรวมถึงการจัดทารายงานทางการเงินตามข้อกาหนดของการให้ความช่วยเหลือ หรือแผนงาน/งาน/โครงการเฉพาะเรื่องของหน่วยงานภาครัฐ ข้อพิจารณาเมื่อตกลงรับงานสอบบัญชี 4 ) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 800 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ 8 กา หนดว่า การทาความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอน ที่ผู้บริหารใช้ในการตัดสินใจว่าแม่บทการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องเป็นที่ยอมรับได้ในสถานการณ์นั้น อาจช่วยให้ผู้ตรวจสอบพิจารณาว่า แม่บทการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องในการจัดทารายงานการเงิน ที่ ยอมรับได้หรือไม่ ตามข้ อกาหนดของมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 210 เรื่อง ข้อตกลงในการรับงาน สอบบัญชี ในบางสถานการณ์ กฎหมาย หรือ ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผน การปฏิบัติราชการ อาจกาหนดแม่บทการรายงานทางการเงินที่ผู้บริหารนามาใช้ในการจัดทารายงาน การเงินเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะสำ หรับหน่วยงานบางประเภท ตัวอย่างเช่น หน่วยงานกำกับดูแล อาจกาหนดบทบัญญัติการรายงานการเงินเพื่อให้เป็นไปตามข้อกาหนดของหน่วยงานกากับดูแลนั้น

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 92 35 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 800 (ปรับปรุง) เรื่อง ข้อพิ จารณาพิเศษ - การตรวจสอบ รายงาน การเงินที่จัดทำตามแม่บท เพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ ในกรณีที่ไม่มีข้อกาหนดอื่นที่ขัดแย้ง แม่บทการรายงานทางการเงินที่นามาใช้ในการจัดทารายงานการเงิน ที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะ ซึ่ งจัดทำโดยหน่วยงานดังกล่าวถือเป็นที่ยอมรับ การแสดงความเห็นและข้อพิจารณาในการรายงาน 5 ) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 800 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ 11 กาหนดให้ ผู้ตรวจสอบต้องนาข้อกาหนด ตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 700 (ปรับปรุง) เรื่อง การแสดงความเห็นและการรายงานต่อง บการเงิน มาใช้ในการแสดงความเห็น ซึ่งในหน่วยงานภาครัฐ กฎหมายที่กาหนดหน้าที่และอานาจในการ ตรวจเงิน แผ่นดิน อาจกาหนดรูปแบบหรือถ้อยคาที่เฉพาะเจาะจงในรายงานของผู้สอบบัญชี เมื่อผู้ตรวจสอบ จัดทารายงานของผู้สอบบัญชีโดยใช้รูปแบบหรือถ้อยคาที่เฉพาะเจาะจงที่กาหนดโดยกฎหมา ยดังกล่าว รายงานของผู้สอบบัญชีสามารถระบุว่าการตรวจสอบได้ปฏิบัติตามมาตรฐานการสอบบัญชีและกฎหมาย ที่กำหนดหน้าที่และอำนาจในการ ตรวจเงินแผ่นดิน เฉพาะกรณีที่รายงานของผู้สอบบัญชีได้รวม แต่ละองค์ประกอบที่ระบุตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 700 (ปรับปรุง) เรื่อง การแสดงค วามเห็นและ การรายงานต่องบการเงิน ย่อหน้าที่ 50(ก) ถึง (ฒ) เป็นอย่างน้อย 6 ) ความรับผิดชอบตามกฎหมายหรือตามหน้าที่และอานาจในภาครัฐอาจกาหนดให้รายงานของผู้สอบบัญชี สาหรับรายงานการเงินเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ ระบุความรับผิดชอบต่อรายงานอื่น ๆ นอกเหนือจาก ความรับผิด ชอบของผู้ตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี โดยแยกคาอธิบายดังกล่าวเป็นวรรคต่างหาก ในรายงานของผู้สอบบัญชี ทั้งนี้หากกฎหมายที่เกี่ยวข้องหรือหน้าที่และอานาจในการ ตรวจเงินแผ่นดิน ระบุรูปแบบหรือถ้อยคำที่ใช้ในส่วนนี้ ผู้ตรวจสอบอาจใช้ถ้อยคำที่กาหนดไว้ และต้องเป็นไปตามข้ อกาหนด ของมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 700 (ปรับปรุง) เรื่อง การแสดงความเห็นและการรายงานต่องบการเงิน ย่อหน้าที่ 43 ถึง 45 7 ) ในกรณีที่ผู้บริหารสามารถเลือกใช้แม่บทการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 800 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ 13(ข) กาหนดว่า การอ้างอิงถึงแม่ บทการรายงานทางการเงินที่เลือกใช้ในวรรค แสดงความรับผิดชอบของผู้บริหารต่อรายงานการเงินเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะให้อธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ความรับผิดชอบในการตัดสินใจว่า แม่บทการรายงานทางการเงินที่เลือกใช้นั้นเป็นที่ยอมรับในสถานการณ์ ของงานตรวจสอบนั้น ตามที่กล่าว ไว้ในย่อหน้าที่ 4 ข้างต้น ผู้บริหารของหน่วยงานภาครัฐอาจไม่สามารถ ตัดสินใจเลือกใช้แม่บทการรายงานทางการเงินได้ อย่างไรก็ตาม ผู้ตรวจสอบต้องพิจารณาเพิ่มคาอธิบาย ที่ เกี่ยวกับความรับผิดชอบของผู้บริหารต่อรายงานการเงินเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ ทั้งนี้ เพื่ออ้างอิงแหล่ งที่มา ของการกำหนดแม่บทการรายงานทางการเงินที่นำมาใช้ 8 ) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 800 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ 14 กาหนดให้รายงานของผู้สอบบัญชีเพิ่มวรรคเน้น ข้อมูลและเหตุการณ์ เพื่อให้ข้อมูลกับผู้ใช้รายงานของผู้สอบบัญชีว่า รายงานการเงินได้จัดทาตามแม่บท เพื่อวัตถุ ประสงค์เฉพาะ ซึ่งส่งผลให้รายงานการเงินอาจไม่เหมาะสมที่จะนาไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์อื่น มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 800 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ ก21 อธิบายว่า ผู้ตรวจสอบอาจพิจารณา เพิ่มข้อความในรายงานของผู้สอบบัญชีว่ารายงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประโยชน์ของผู้ใช้รายงำนการเงิน เฉพาะกลุ่มเท่านั้น ซึ่งสามารถกระทาได้โดยการจากัดการเผยแพร่หรือการใช้รายงานของผู้สอบบัญชี

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 93 35 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 800 (ปรับปรุง) เรื่อง ข้อพิ จารณาพิเศษ - การตรวจสอบ รายงาน การเงินที่จัดทำตามแม่บท เพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับกฎหมายหรือข้อบังคับ สาหรับหน่วยงานภาครัฐ การจากัดการเผยแพร่หรือการใช้รายงาน ของผู้สอบบัญชีอาจไม่สามารถกระทาได้ เนื่องจากรายงานของผู้สอบบัญ ชีถือเป็นเอกสารที่เปิดเผย ต่อสาธารณะ อย่างไรก็ตาม ผู้ตรวจสอบต้องเพิ่มข้อความในรายงานของผู้สอบบัญชีว่า รายงานการเงิน ได้จัดทำตามแม่บทเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ เพื่อหลีกเลี่ยงความเข้าใจผิดของผู้ใช้รายงานของผู้สอบบัญชี ตัวอย่างของย่อหน้าข้างต้นมี ดังนี้ ตัวอย่างของข้อความที่รวมอยู่ในรายงานของผู้สอบบัญชี ข้อมูลและเหตุการณ์ที่เน้น : หลักการบัญชีและข้อจำกัดในการนำไปใช้เผยแพร่ สํานักงําน กํารตรวจเงินแผ่นดิน/ข้ําพเจ้ําขอให้สังเกตหมํายเหตุประกอบงบกํารเงินข้อ x ซึ่งอธิบํายเกี่ยวกับ นโยบํายกํารบัญชีที่หน่วยรับตรวจใช้ในกํารจัดทํารํายงํานกํารเงิน รํายงํานกํารเงินจัดทําขึ้นตําม (กฎหมําย/ ระเบียบข้อบังคับ/ข้อกําหนดอื่น) กําหนดโดย (รัฐสภํา/รัฐบําล/กระทรวง/หน่วยงํานรําชกําร/หน่ วยงํานที่มี อํานําจหน้ําที่) เพื่อช่วยหน่วยรับตรวจในกํารปฏิบัติตําม(เกณฑ์/ข้อกําหนด) ซึ่งส่งผลให้รํายงํานกํารเงินนี้ อําจไม่เหมําะสมสําหรับใช้เพื่อวัตถุประสงค์อื่น รํายงํานของสํานักงํานกํารตรวจเงินแผ่นดิน/ข้ําพเจ้ําจัดทํา เพื่อ (รัฐสภํา/รัฐบําล/กระทรวง/หน่วยงํานรําชกําร/หน่วยงํานที่มี อํานําจหน้ําที่) และไม่ควรนําไปใช้งํานโดย บุคคลอื่น ทั้งนี้ สํานักงํานกํารตรวจเงินแผ่นดิน/ข้ําพเจ้ํามิได้แสดงควํามเห็นแบบที่เปลี่ยนแปลงไปในเรื่องนี้ หมายเหตุ : คาว่า “ รายงานการเงิน ” ให้ปรับเปลี่ยนตามแม่บทการรายงานทางการเงินที่หน่วยรับตรวจใช้

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 94 36 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 805 (ปรับปรุง) เรื่อง ข้อพิจารณาพิเศษ - การตรวจสอบรายงานการเงินงบใดงบหนึ่ง และการตรวจสอบเฉพาะส่วนประกอบ หรือบัญชี หรือรายการในรายงา นการเงิน 36 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 805 ( ปรับปรุง) เรื่อง ข้อพิจารณาพิเศษ - การตรวจสอบ รายงาน การเงินงบใดงบหนึ่ง และการตรวจสอบเฉพาะส่วนประกอบ หรือบัญชี หรือรายการ ใน รายงาน การเงิน เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1 ) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมจากมาตร ฐานการสอบบัญชี รหัส 805 ( ปรับปรุง) เรื่อง ข้อพิจารณาพิเศษ - การตรวจสอบงบการเงินงบใดงบหนึ่งและการตรวจสอบเฉพาะส่วนประกอบ หรือบัญชี หรือรายการใน งบการเงิน สำหรับผู้ตรวจสอบในเรื่องดังต่อไปนี้ (ก) ข้อพิจารณาเมื่อตกลงรับงานสอบบัญชี (ข) การแสดงความเห็นและข้อพิจารณำในการรายงาน ข้อพิจารณาเมื่อตกลงรับงานสอบบัญชี 2 ) เมื่อพิจารณาตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 805 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ 7 ผู้ตรวจสอบอาจรับงาน ตรวจสอบรายงานการเงินงบใดงบหนึ่ง หรือการตรวจสอบเฉพาะส่วนประกอบ หรือบัญชี หรือรายการ ในรายงานการเงิน เช่น ตรวจสอบแผนงาน / งาน/โครงการขององค์กรใดองค์กรหนึ่งที่ได้รับเงินจากรัฐบาล ซึ่งผู้ตรวจสอบไม่ได้เป็นผู้ตรวจสอบรายงานการเงินฉบับสมบูรณ์ขององค์กรนั้น ตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 805 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ ก6 ระบุให้ผู้ตรวจสอบปรึกษาหารือกับผู้บริหารของหน่วยงานภาครัฐ เกี่ยวกับงานต รวจสอบอีกประเภทหนึ่งที่อาจมีความเหมาะสมกว่าในทางปฏิบัติหรือไม่ กรณีที่ผู้ตรวจสอบ พิจารณาแล้วว่าการตรวจสอบดังกล่าวไม่สามารถกระทาได้ในทางปฏิบัติ และไม่สามารถดาเนินการได้ ตามมาตรฐานการสอบบัญชี ผู้ตรวจสอบอาจจาเป็นต้องพิจารณาเกี่ยวกับประเด็นดังกล่าวกับผู้มีหน้าที่ และอานาจตามกฎหมาย 3 ) หน่วยงานภาครัฐอาจจัดทำข้อมูลทางการเงินรวมทั้งรายงานการเงินงบใดงบหนึ่ง หรือส่วนประกอบเฉพาะ ของรายงานการเงิน หรือบัญชี หรือรายการในรายงานการเงินสำหรับหน่วยงานอื่น (เช่น หน่วยงานกากับ ดูแล หน่วยงานที่ออกกฎหมาย หรือหน่วยงานอื่นที่ทำหน้าที่ ควบคุมดูแล) สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน อาจมีหน้าที่และอำนาจในการ ตรวจเงินแผ่นดิน ข้อมูลข้างต้น ดังนั้น ผู้ตรวจสอบควรพิจารณา ข้อปฏิบัติในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 805 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ ก5 ถึง ก9 เกี่ยวกับกรณีดังกล่าว ด้วยความระมัดระวัง 4 ) ในกรณีที่ผู้ตรวจส อบตอบรับงานเพื่อรายงานเกี่ยวกับรายงานการเงินงบใดงบหนึ่ง หรือส่วนประกอบ เฉพาะของรายงานการเงิน หรือบัญชี หรือรายการในรายงานการเงินที่เกี่ยวเนื่องกับการตรวจสอบ รายงานการเงินของหน่วยงานภาครัฐ ผู้ตรวจสอบควรพิจารณาว่ากฎหมายที่กาหนดหน้าที่และอานาจ ในการตรวจสอบอาจกา หนดการใช้ข้อความในการแสดงความเห็นในรายงานของผู้สอบบัญชีที่แตกต่าง อย่างมีนัยสำคัญจากที่กาหนดในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 805 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ ก8 ถึง ก9

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 95 36 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 805 (ปรับปรุง) เรื่อง ข้อพิจารณาพิเศษ - การตรวจสอบรายงานการเงินงบใดงบหนึ่ง และการตรวจสอบเฉพาะส่วนประกอบ หรือบัญชี หรือรายการในรายงา นการเงิน ทั้งนี้ ข้อพิจารณาเพิ่มเติมสำหรับผู้ตรวจสอบในการตกลงรับงานสอบบัญชีจะเป็นไปตามมาตรฐาน การสอบบัญชี รหัส 210 เรื่อง ข้อตกลงในการรับงานสอบบัญชี ย่อหน้าที่ 18 ถึง 21 5 ) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 805 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ 8 กล่าวถึงการทำความเข้าใจเกี่ยวกับข้อพิจารณา ที่ผู้บริหารใช้ในการตัดสินใจว่าแม่บทการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องเป็นที่ยอมรับได้ในสถานการณ์นั้ น ซึ่งจะช่วยให้ผู้ตรวจสอบใช้ในการพิจารณาการยอมรับได้ของแม่บทดังกล่าว อย่างไรก็ตาม ในหน่วยงาน ภาครัฐ แม่บทการรายงานทางการเงินอาจกาหนดโดยกฎหมาย หรือระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชการ การแสดงความเห็นและข้อพิจารณาในการรายงาน 6 ) ในหน่วยงำนภาครัฐ กฎหมายที่กำหนดหน้าที่และอานาจในการ ตรวจเงินแผ่นดิน อาจกำหนดรูปแบบหรือ ถ้อยคาที่เฉพาะเจาะจงในรายงานของผู้สอบบัญชี เมื่อผู้ตรวจสอบจัดทารายงานของผู้สอบบัญชีโดยใช้ รูปแบบหรือถ้อยคาที่เฉพาะ เจาะจงที่กาหนดโดยกฎหมายดังกล่าว รายงานของผู้สอบบัญชีสามารถระบุ ว่า การตรวจสอบได้ปฏิบัติตามมาตรฐานการสอบบัญชี (รหัส 200 - 899) และกฎหมายที่กำหนดหน้าที่และ อำนาจในการ ตรวจเงินแผ่นดิน เฉพาะกรณีที่รายงานของผู้สอบบัญชีได้รวมถึงแต่ละองค์ประกอบ ที่กาหนดในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 700 (ปรับปรุง) เรื่อง การแสดงความเห็นและรายงานต่อ งบ การ เงิน ย่อหน้าที่ 50(ก) ถึง (ฒ) เป็นอย่างน้อย 7 ) มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 805 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ 15 กำหนดให้ผู้ สอบบัญชี พิจารณาว่า ต้องเปลี่ยนแปลงรายงานของผู้สอบบัญชีต่อส่วนประกอบของรายงานการเงินในลักษณะเดียวกันกับ รายงานของผู้สอบบัญชีต่อรายงานการเงินฉบับสมบู รณ์ของหน่วยรับตรวจหรือไม่ ผู้ตรวจสอบต้อง พิจารณาเปลี่ยนแปลงรายงานของผู้สอบบัญชีต่อส่วนประกอบของรายงานการเงิน โดยพิจารณาจาก การแสดงความเห็นแบบที่เปลี่ยนแปลงไปในรายงานของผู้สอบบัญชีต่อรายงานการเงินฉบับสมบูรณ์ของ หน่วยรับตรวจ ซึ่งรวมถึงข้อพิจารณาที่เกี่ยวข้อง ตามย่อหน้าที่ 6 ข้างต้น ในกรณีรายงานของผู้สอบบัญชี ต่อรายงานการเงินฉบับสมบูรณ์ของหน่วยรับตรวจแสดงความเห็นแบบที่เปลี่ยนแปลงไปไม่เกี่ยวข้องกับ ส่วนประกอบของรายงานการเงินที่ตรวจสอบ ผู้ตรวจสอบควรพิจารณาว่าควรอ้างถึงความเห็น ที่เปลี่ยนแปลงไปดังกล่าวในรายงานของผู้ สอบบัญชีต่อส่วนประกอบของรายงานการเงินหรือไม่ ปัจจัย ที่อาจมีผลกระทบต่อการพิจารณาของผู้ตรวจสอบ รวมถึงข้อกาหนดของกฎหมายที่เกี่ยวข้องหรือหน้าที่ และอานาจในการ ตรวจเงินแผ่นดิน ข้อกาหนดเฉพาะอื่น ๆ สาหรับงานสอบบัญชี และการไม่อ้างถึง ความเห็นที่เปลี่ยนแปลงไปดังกล่ำวในรายงานของผู้สอบบัญชีต่อส่วนประกอบของรายงานการเงิน อาจทาให้ ผู้ใช้รายงานดังกล่าวเข้าใจผิดได้

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 96 37 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 8 10 (ปรับปรุง) เรื่อง งานการรายงานต่อรายงานการเงินอย่างย่อ 3 7 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 810 ( ปรับปรุง) เรื่อง งานการรายงานต่อ รายงาน การเงินอย่างย่อ เนื้อหาของแนวปฏิบัติ 1 ) แนวปฏิบัติ นี้ให้ข้อปฏิบัติเ พิ่มเติมจากมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 810 ( ปรับปรุง) เรื่อง งานการรายงาน ต่องบการเงินอย่างย่อ สำหรับผู้ตรวจสอบในเรื่องดังต่อไปนี้ (ก) รายงานของผู้สอบบัญชีต่อ รายงาน การเงินอย่างย่อ (ข) ข้อจำกัดในการเผยแพร่หรือการใช้หรือการให้ผู้อ่านระมัดระวังเกี่ยวกับหลักสำคัญทา งการบัญชี (ค) ความเกี่ยวข้องกันของผู้ตรวจสอบ รายงานของผู้สอบบัญชีต่อ รายงาน การเงินอย่างย่อ 2 ) ในการรายงานต่อ รายงาน การเงินอย่างย่อ ผู้ตรวจสอบต้องแสดงความเห็นเพิ่มเติมจากการแสดงความเห็น ว่า รายงาน การเงินจัดทาขึ้นโดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสาคัญตามแม่บทการรายงานทำงการเงินหรือไม่ เช่น ผู้ตรวจสอบอาจรายงานว่าพบการไม่ปฏิบัติตามอำนาจหน้าที่ซึ่งครอบคลุมถึงระเบียบวิธีการ งบประมาณและภาระรับผิดชอบ หรือรายงานเกี่ยวกับประสิทธิผลของการควบคุมภายใน กรณีดังกล่าว ผู้ตรวจสอบควรอ้างถึงการแสดงความเห็นเพิ่มเติมในการรายงานต่อ รายงาน การ เงินอย่างย่อ นอกเหนือจาก ข้อกำหนดของมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 810 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ 16 3 ) ในหน่วยงานภาครัฐ องค์ประกอบของรายงานของผู้สอบบัญชีรวมทั้งรูปแบบและข้อความในการแสดง ความเห็นอาจกาหนดโดยกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และแบบแผนการปฏิบัติราชกำร หรือโดยหน้าที่และอานาจในการ ตรวจเงินแผ่นดิน ในสถานการณ์ดังกล่าว ผู้ตรวจสอบควรปรับใช้ ข้อความที่ได้อธิบายไว้ตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 810 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ 10 4 ) กรณีที่รายงานของผู้สอบบัญชีได้แสดงความเห็นอย่างมีเงื่อนไขต่องบการเงินอย่างย่อ มีวรรคเน้ นข้อมูล และเหตุการณ์ วรรคเรื่องอื่น วรรคความไม่แน่นอนที่มีสาระสาคัญที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานต่อเนื่อง การสื่อสารเรื่องสาคัญในการตรวจสอบ หรือข้อความซึ่งได้อธิบายถึงการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง อันเป็นสาระสาคัญซึ่งยังไม่ได้รับการแก้ไข ผู้ตรวจสอบต้องนา มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 810 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ 19 มาปรับใช้ตามสถานการณ์ ข้อจำกัดในการเผยแพร่หรือการใช้หรือการให้ผู้อ่านระมัดระวังเกี่ยวกับหลักสำคัญทางการบัญชี 5 ) ตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 810 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ 22 โดยทั่วไปรายงานของผู้สอบบัญชีต่อ งบการเงินอย่างย่อมีข้อจากัดในการเผยแพร่หรือการนาไปใช้ ซึ่งแตกต่างจากรายงานของผู้สอบบัญชี ที่ไม่มีข้อจำกัดในการใช้หรือการเผยแพร่เนื่องจากเป็นเอกสารสาธารณะ

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 97 37 แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ รหัส 8 10 (ปรับปรุง) เรื่อง งานการรายงานต่อรายงานการเงินอย่างย่อ ความเกี่ยวข้องกันของผู้ ตรวจสอบ 6 ) ตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 810 (ปรับปรุง) ย่อหน้าที่ 26 ถึง 27 กา หนดให้ผู้ตรวจสอบหลีกเลี่ยง การเข้าไปเกี่ยวข้องกับ รายงาน การเงินอย่างย่อที่ผู้ ตรวจสอบ ไม่ได้ตรวจสอบ แต่ผู้ตรวจสอบอาจกระทาการอื่น ตามที่กฎหมาย รวมทั้งหน้าที่และอานาจในการ ตรวจเงินแผ่นดิน กาหนดไว้ ซึ่งการกระทาดังกล่าว อาจ รวมถึงการรายงานอย่างเป็นทางการต่อ หน่วยงานที่ ออกกฎหมาย

แนวปฏิบัติการตรวจสอบการเงินภาครัฐ 98 คณะทำงาน ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ นายประจักษ์ บุญยัง ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ที่ปรึกษาคณะทำงาน นางเกล็ดนที มโนสันติ์ รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน นางสาวมะยุรีย์ จันทะมาตย์ ที่ปรึกษา การตรวจเงินแผ่นดิน คณะทำงา น นางสาวนันทิดา บัวแย้ม ผู้อำนวยการสำนักวิจัย นางสาวพุทธชาด ตันหยง ผู้อำนวยการสำนักตรวจสอบการเงิน และบริหารพัสดุที่ 15 นางลดาวัลย์ โชติมานนท์ ผู้อำนวยการสำนักตรวจสอบการเงิน และบริหารพัสดุที่ 3 นางสาวพัทธมน พุทธสีมา นักวิชาการตรวจเงินแผ่นดินเชี่ยวชาญ นายบุญชาย ชุมแสงหิรัญ นักวิชาการตรวจเงินแผ่นดิน ชานาญการพิเศษ นางวรรณวรางค์ ทิพย์มณี นักวิชาการตรวจเงินแผ่นดิ น ชานาญการพิเศษ นางสาวปิยรัตน์ ตั้งกาญจนภาสน์ นักวิชาการตรวจเงินแผ่นดิน ชานาญการพิเศษ นางสาวจุฑามาศ ชัยศิริถาวรกุล นักวิชาการตรวจเงินแผ่นดิน ชานาญการพิเศษ นางสุนทรี ตะเพียนทอง นักวิชาการตรวจเงินแผ่นดิน ชานาญการพิเศษ นางสาวอังคณา เตชะวงศากร นักวิชาการตรวจเงิ นแผ่นดิน ชานาญการพิเศษ นางสาวศริยา กฤษณรักษ์ปาณี นักวิชาการตรวจเงินแผ่นดิน ชานาญการพิเศษ นางปิยปภัสร์ จันทร์เอี่ยม นักวิชาการตรวจเงินแผ่นดินชานาญการ นางสาวจตุพร บุญเหมย นักวิชาการตรวจเงินแผ่นดิน ชานาญการ นางสาวอโรญา จันทรวิบูลย์ นักวิชาการตรวจเงินแผ่นดิน ชานาญการ นางสาวชาสิณี สุขสอาด นักวิชาการตรวจเงินแผ่นดิน ปฏิบัติการ