Wed Dec 28 2022 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ คำวินิจฉัยที่ 21/2565 เรื่อง ประธานรัฐสภาส่งความเห็นของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 148 วรรคหนึ่ง (1) ประกอบมาตรา 132 ว่า ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... มาตรา 25 และมาตรา 26 มีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 93 และมาตรา 94 หรือไม่ และตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ มาตรา 132 หรือไม่ [ระหว่าง ประธานรัฐสภา ผู้ร้อง - ผู้ถูกร้อง]


คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ คำวินิจฉัยที่ 21/2565 เรื่อง ประธานรัฐสภาส่งความเห็นของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 148 วรรคหนึ่ง (1) ประกอบมาตรา 132 ว่า ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 25 และมาตรา 26 มีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 93 และมาตรา 94 หรือไม่ และตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ มาตรา 132 หรือไม่ [ระหว่าง ประธานรัฐสภา ผู้ร้อง - ผู้ถูกร้อง]

ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย ศาลรัฐธรรมนูญ คําวินิจฉัยที่ 21/2565 เรื่องพิจารณาที่ 20/2565 วันที่ 30 เดือน พฤศจิกายน พุทธศักราช 2565 ประธานรัฐสภา ผู้รอง - ผู้ถูกรอง เรื่อง ประธานรัฐสภาสงความเห็นของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาขอให้ศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 148 วรรคหนึ่ง (1) ประกอบมาตรา 132 วา รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 25 และมาตรา 26 มีขอความขัดหรือแยงต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 93 และมาตรา 94 หรือไม่ และตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ มาตรา 132 หรือไม่ ประธานรัฐสภา (ผู้รอง) สงความเห็นของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา รวม 105 คน ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 148 วรรคหนึ่ง (1) ประกอบมาตรา 132 ขอเท็จจริงตามคํารองและเอกสารประกอบ สรุปได้ดังนี้ ที่ประชุมรวมกันของรัฐสภา ครั้งที่ 14 (สมัยสามัญประจําปครั้งที่หนึ่ง) เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2565 พิจารณารางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการเลือกตั้ง ระหวาง ้ หนา 9 ่ เลม 139 ตอนที่ 80 ก ราชกิจจานุเบกษา 29 ธันวาคม 2565

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … ไม่แล้วเสร็จภายในหนึ่งรอยแปดสิบวัน กรณีเป็นไปตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 132 (1) ที่ให้ถือวารัฐสภาให้ความเห็นชอบตามรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ที่เสนอโดยคณะรัฐมนตรีตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 131 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา รวม 105 คน (ผู้เขาชื่อเสนอความเห็น) เห็นวารางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญดังกลาวมีขอความขัดหรือแยงต่อรัฐธรรมนูญและตราขึ้น โดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ โดยมีเหตุผลสรุปได้ดังนี้ 1. รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 25 และมาตรา 26 มีขอความขัดหรือแยงต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 93 และมาตรา 94 และขอความดังกลาวเป็นสาระสําคัญ มีผลให้รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญดังกลาว เป็นอันตกไป เนื่องจากการเลือกตั้งที่จะเกิดขึ้นอาจเกิดเหตุการณที่ทําให้ไม่สามารถดําเนินการเลือกตั้งเสร็จสิ้น หรือในกรณีที่คณะกรรมการการเลือกตั้งไม่สามารถประกาศผลการเลือกตั้งได้ครบทุกเขตเลือกตั้ง เชน กรณีมีการทุจริตการเลือกตั้ง จําเป็นต้องมีการเลือกตั้งใหมในบางพื้ นที่ หรือกรณีบางพื้นที่ ที่จัดการเลือกตั้งประสบภัยพิบัติ ประชาชนไม่สามารถออกมาใชสิทธิได้ หรือกรณีเกิดการจลาจล ซึ่งคณะกรรมการการเลือกตั้งอาจประกาศเลื่อนการเลือกตั้งในพื้นที่ดังกลาวออกไประยะเวลาหนึ่ง จนกวาเหตุการณจะคลี่คลาย กรณีดังกลาว รัฐธรรมนูญ มาตรา93 วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “ ในการเลือกตั้งทั่วไป ถาต้องมีการเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้งใหมในบางเขตหรือบางหนวยเลือกตั้งกอนประกาศผลการเลือกตั้ง หรือการเลือกตั้งยังไม่แล้วเสร็จ หรือยังไม่มีการประกาศผลการเลือกตั้งครบทุกเขตเลือกตั้งไม่วาด้วยเหตุใด การคํานวณจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่แต่ละพรรคการเมืองพึงมี และจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อที่แต่ละพรรคการเมืองพึงได้รับให้เป็นไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่บัญญัติไว ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ” และวรรคสอง บัญญัติวา “ ในกรณีที่ผลการคํานวณตามวรรคหนึ่งทําให้จํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ของพรรคการเมืองใดลดลง ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองนั้น ในลําดับทายตามลําดับพนจากตําแหนง ” แต่รางมาตรา 25 ให้ยกเลิกความในพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561 มาตรา 130 วรรคหนึ่ง ที่บัญญัติวา “ ในการเลือกตั้งทั่วไป ถาต้องมีการเลือกตั้งใหมในบางเขตหรือบางหนวยเลือกตั้ง ้ หนา 10 ่ เลม 139 ตอนที่ 80 ก ราชกิจจานุเบกษา 29 ธันวาคม 2565

กอนประกาศผลการเลือกตั้ง หรือการเลือกตั้งยังไม่แล้วเสร็จ มิให้นําผลคะแนนของการเลือกตั้ง แบบแบงเขตเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งที่เป็นเหตุดังกลาวมาคํานวณเพื่อหาจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ที่แต่ละพรรคการเมืองพึงมี และจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อที่แต่ละพรรคการเมืองพึงได้รับ ” และวรรคสอง ที่บัญญัติวา “ ความในวรรคหนึ่งให้นํามาใชบังคับแกกรณีที่ผู้สมัครถูกระงับสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง ไวเป็นการชั่วคราวตามมาตรา 132 ด้วยโดยอนุโลม ” และให้ใชความแทนวา “ เมื่อคณะกรรมการ ประกาศผลการเลือกตั้งแล้วให้นําผลการเลือกตั้งไปประกาศในราชกิจจานุเบกษา และเมื่อมีประธานรัฐสภาแล้ว ให้สงบัญชีรายชื่อผู้สมัครแบบบัญชีรายชื่อของทุกพรรคการเมืองไปยังประธานรัฐสภาเพื่อทราบโดยเร็ว ” ทําให้ไม่มีรายละเอียดวิธีปฏิบัติที่กําหนดในรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … หากเกิดกรณีเลือกตั้งไม่แล้วเสร็จ ดังนั้น รางมาตรา 25 มีขอความขัดหรือแยงต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 93 นอกจากนี้ ภายในหนึ่งปหลังจากวันเลือกตั้งอันเป็นการเลือกตั้งทั่วไป อาจเกิดกรณีมีการเลือกตั้งใหม ในบางเขตเลือกตั้งด้วยเหตุที่มีการทุจริตการเลือกตั้ง ซึ่งรัฐธรรมนูญ มาตรา 94 วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “ ภายในหนึ่งปหลังจากวันเลือกตั้งอันเป็นการเลือกตั้งทั่วไป ถาต้องมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบแบงเขตเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งใดขึ้นใหม เพราะเหตุที่การเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งนั้น มิได้เป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม ให้นําความในมาตรา 93 มาใชบังคับโดยอนุโลม ” และวรรคสอง บัญญัติวา “ การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตําแหนงที่วางไม่วาด้วยเหตุใดภายหลังพนเวลาหนึ่งป นับแต่วันเลือกตั้งทั่วไป มิให้มีผลกระทบกับการคํานวณสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่แต่ละพรรคการเมือง จะพึงมีตามมาตรา 91 ” การที่รางมาตรา 26 ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561 มาตรา 131 ทําให้ไม่มีขอความใด ที่บัญญัติเชื่อมต่อให้เกิดวิธีปฏิบัติหากเกิดกรณีที่มีการเลือกตั้งใหมด้วยเหตุทุจริตการเลือกตั้งขึ้นภายในหนึ่งป นับแต่วันเลือกตั้งทั่วไป ดังนั้น รางมาตรา 26 มีขอความขัดหรือแยงต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 94 2. รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … ตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ เนื่องจากในการประชุมรวมกัน ของรัฐสภาเพื่อพิจารณารางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญดังกลาวมีเหตุการณอันควรสงสัย วาสมาชิกพรรคเพื่อไทยและพรรคพลังประชารัฐใชวิธีถวงเวลาการประชุมและจงใจให้รัฐสภาไม่สามารถ ้ หนา 11 ่ เลม 139 ตอนที่ 80 ก ราชกิจจานุเบกษา 29 ธันวาคม 2565

พิจารณารางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … ให้เสร็จในกรอบเวลาที่กําหนด กลาวคือ จงใจให้การประชุมรัฐสภาไม่ครบองคประชุม ในการประชุมรวมกันของรัฐสภา ครั้งที่ 10 (สมัยสามัญประจําปครั้งที่หนึ่ง) เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2565 ครั้งที่ 11 (ที่ถูกคือ ครั้งที่ 12) (สมัยสามัญประจําปครั้งที่หนึ่ง) เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2565 ครั้งที่ 12 (ที่ถูกคือ ครั้งที่ 13) (สมัยสามัญประจําปครั้งที่หนึ่ง) เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2565 และครั้งที่ 13 (ที่ถูกคือ ครั้งที่ 14) (สมัยสามัญประจําปครั้งที่หนึ่ง) เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2565 ทําให้การพิจารณารางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญดังกลาวไม่สามารถดําเนินการเสร็จสิ้น ภายในหนึ่งรอยแปดสิบวัน การที่สมาชิกพรรคการเมืองดังกลาวมีผลประโยชนรวมกันในการเลือกตั้งที่ประจักษชัดวา หากใชวิธีการคํานวณตามรางเดิมของคณะรัฐมนตรีจะทําให้ได้เปรียบในการเลือกตั้ง จึงใชวิธีการเชิงเทคนิค ทําให้องคประชุมไม่ครบจนที่ประชุมรัฐสภาไม่สามารถพิจารณารางกฎหมายด้วยกลไกของรัฐสภา เป็นผลให้รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … ที่ผานการพิจารณาของคณะกรรมาธิการวิสามัญที่ดําเนินการเสร็จแล้วและกําลังแปรญัตติ ไม่สามารถดําเนินการต่อไปได้จนเสร็จสิ้น มีอันตกไปในวาระที่สอง ถือเป็นการตราโดยไม่ถูกต้อง ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ แล ะยังเป็นการกระทําผิดขอบังคับวาด้วยประมวลจริยธรรม ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและกรรมาธิการ พ.ศ. 2563 ขอ 14 ที่กําหนดให้สมาชิก และกรรมาธิการต้องอุทิศเวลาให้แกการประชุม โดยคํานึงถึงการตรงต่อเวลาและต้องไม่ขาดการประชุม โดยไม่จําเป็น เวนแต่ในกรณีเจ็บปวย หรือมีเหตุสุดวิสัย ผู้รองตรวจสอบลายมือชื่อของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาผู้เสนอความเห็นแล้วเห็นวา มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภารวมกันเขาชื่อเสนอความเห็นจํานวนไม่นอยกวาหนึ่งในสิบ ของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยู่ของทั้งสองสภาตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 148 วรรคหนึ่ง (1) ประกอบมาตรา 132 จึงสงความเห็นเพื่อขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย ประเด็นที่ศาลรัฐธรรมนูญต้องพิจารณาเบื้องตนมีวา ศาลรัฐธรรมนูญมีอํานาจรับคํารองนี้ ไววินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 148 วรรคหนึ่ง (1) ประกอบมาตรา 132 หรือไม่ เห็นวา ขอเท็จจริงตามคํารองและเอกสารประกอบเป็นกรณีที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา ้ หนา 12 ่ เลม 139 ตอนที่ 80 ก ราชกิจจานุเบกษา 29 ธันวาคม 2565

จํานวน 105 คน เป็นจํานวนไม่นอยกวาหนึ่งในสิบของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยู่ของทั้งสองสภา เขาชื่อรองต่อผู้รองขอให้สงความเห็นไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยวา รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 25 และมาตรา 26 มีขอความขัดหรือแยงต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 93 และมาตรา 94 หรือไม่ และตราขึ้นโดยไม่ถูกต้อง ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ หรือไม่ และผู้รองยื่นคํารองต่อศาลรัฐธรรมนูญแล้ว กรณีเป็นไปตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 148 วรรคหนึ่ง (1) ประกอบมาตรา 132 และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2561 มาตรา 7 (1) ศาลรัฐธรรมนูญจึงมีคําสั่งรับคํารอง ไวพิจารณาวินิจฉัย และเพื่อประโยชนแห่งการพิจารณา อาศัยอํานาจตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2561 มาตรา 27 วรรคสาม ให้ผู้รองและประธานกรรมการ การเลือกตั้งชี้แจงตามประเด็นที่ศาลรัฐธรรมนูญกําหนดและสงเอกสารที่เกี่ยวของต่อศาลรัฐธรรมนูญ 1. ผู้รองชี้แจงและสงเอกสารประกอบ สรุปได้วา มีรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … คณะรัฐมนตรีเสนอ จํานวน 1 ฉบับ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเสนอ จํานวน 3 ฉบับ ต่อมาวันที่ 17 กุมภาพันธ 2565 ผู้รองให้บรรจุรางทั้งสี่ฉบับเขาระเบียบวาระการประชุมรวมกันของรัฐสภา ซึ่งขอบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. 2563 ขอ 84 กําหนดให้รัฐสภาประชุมรวมกันเพื่อพิจารณารางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ให้แล้วเสร็จภายในเวลาหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแต่วันที่ประธานรัฐสภาให้บรรจุระเบียบวาระการประชุมรัฐสภา วันที่ระยะเวลาครบกําหนดหนึ่งรอยแปดสิบวัน คือ วันที่ 15 สิงหาคม 2565 ในคราวประชุมรวมกันของรัฐสภา ครั้งที่ 6 (สมัยสามัญประจําปครั้งที่สอง) วันที่ 24 กุมภาพันธ 2565 ที่ประชุมพิจารณาและลงมติรับหลักการแห่งรางพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญทั้งสี่ฉบับ และตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณารางดังกลาว กําหนดการแปรญัตติ ภายในสิบหาวัน โดยให้ถือเอารางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … ที่เสนอโดยคณะรัฐมนตรีเป็นหลักในการพิจารณาในวาระที่สอง รางที่เสนอให้รัฐสภาพิจารณารับหลักการทั้งสี่ฉบับ เสนอวิธีการคํานวณหาจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อของแต่ละพรรคการเมืองในสวนของคะแนนเฉลี่ยต่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อหนึ่งคนเป็นหลักการทํานองเดียวกัน คือ (1) รวมผลคะแนนทั้งหมดที่ทุกพรรคการเมือง ได้รับจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อทั้งประเทศ และ (2) นําคะแนนรวมจาก (1) หารด้วยหนึ่งรอย ้ หนา 13 ่ เลม 139 ตอนที่ 80 ก ราชกิจจานุเบกษา 29 ธันวาคม 2565

คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณารางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … เสนอรายงานที่คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาแล้วเสร็จ ต่อผู้รองเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2565 ผู้รองอนุญาตให้บรรจุระเบียบวาระการประชุมรวมกัน ของรัฐสภาเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2565 ซึ่งในวาระที่สองมีการพิจารณา จํานวน 5 ครั้ง ดังนี้ 1) คราวประชุมรวมกันของรัฐสภา ครั้งที่ 7 (สมัยสามัญประจําปครั้งที่หนึ่ง) วันที่ 5 กรกฎาคม 2565 ที่ประชุมพิจารณาเริ่มตั้งแต่ชื่อราง คําปรารภ แล้วเรียงตามลําดับมาตรา จนถึงมาตรา 6/3 2) คราวประชุมรวมกันของรัฐสภา ครั้งที่ 8 (สมัยสามัญประจําปครั้งที่หนึ่ง) วันที่ 6 กรกฎาคม 2565 ที่ประชุมพิจารณาต่อในมาตรา 6/3 แล้วพิจารณาเรียงลําดับตามมาตรา จนจบมาตรา 24 (ที่ประชุมมีมติเห็นชอบกับกรรมาธิการเสียงขางนอยในมาตรา 23 โดยให้คํานวณ จํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อหารด้วยหารอย) 3) คราวประชุมรวมกันของรัฐสภา ครั้งที่ 9 (สมัยสามัญประจําปครั้งที่หนึ่ง) วันที่ 26 กรกฎาคม 2565 ที่ประชุมพิจารณาต่อ ภายหลังการอภิปรายของสมาชิก ประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญ พิจารณารางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … ขอถอนรายงานฯ ไปพิจารณาปรับปรุง และจะนําเสนอกลับมาเพื่อให้ที่ประชุมรวมกัน ของรัฐสภาพิจารณาต่อจากที่ได้พิจารณาคางไว ที่ประชุมเห็นชอบให้ถอนรางพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญดังกลาว 4) คราวประชุมรวมกันของรัฐสภา ครั้งที่ 13 (สมัยสามัญประจําปครั้งที่หนึ่ง) วันที่ 10 สิงหาคม 2565 (นํากลับมาพิจารณา) ที่ประชุมพิจารณาต่อมาตรา 24/1 เมื่อสมาชิกอภิปราย จนหมดแล้วมีการเสนอให้ตรวจสอบองคประชุมโดยการขานชื่อ สมาชิกครบองคประชุม จึงมีการลงมติ ในมาตรา 24/1 แต่ปรากฏวาจํานวนผู้ลงมติไม่ครบองคประชุม รองประธานรัฐสภาปฏิบัติหน้าที่ ประธานรัฐสภาในขณะนั้นจึงสั่งปดการประชุม เหลือมาตราที่จะต้องพิจารณา จํานวน 10 มาตรา พรอมขอสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ 5) คราวประชุมรวมกันของรัฐสภา ครั้งที่ 14 (สมัยสามัญประจําปครั้งที่หนึ่ง) วันที่ 15 สิงหาคม 2565 ที่ประชุมลงมติในมาตรา 24/1 ผู้รองตรวจสอบองคประชุม องคประชุมไม่ครบ ที่ประชุมพิจารณาไม่แล้วเสร็จภายในหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแต่วันที่ผู้รองให้บรรจุระเบียบวาระ ้ หนา 14 ่ เลม 139 ตอนที่ 80 ก ราชกิจจานุเบกษา 29 ธันวาคม 2565

การประชุมรัฐสภา ถือวารัฐสภาให้ความเห็นชอบรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญดังกลาวแล้ว ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 132 (2) ที่ให้ถือวารัฐสภาให้ความเห็นชอบตามรางที่เสนอตามมาตรา 131 ทั้งนี้ ตามขอบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. 2563 ขอ 87 วรรคสอง ประกอบขอ 101 ให้ถือวารัฐสภาให้ความเห็นชอบตามรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่ใชเป็นหลักในการพิจารณา ในวาระที่สอง (ฉบับที่คณะรัฐมนตรีเป็นผู้เสนอ) และให้ดําเนินการตามขอบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. 2563 ขอ 102 ต่อไป ผู้รองมีหนังสือลงวันที่ 16 สิงหาคม 2565 สงรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … ฉบับที่คณะรัฐมนตรีเป็นผู้เสนอ ไปยังคณะกรรมการการเลือกตั้งเพื่อให้ความเห็นตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 132 (2) ประธานกรรมการ การเลือกตั้งมีหนังสือลงวันที่ 23 สิงหาคม 2565 แจงวาคณะกรรมการการเลือกตั้งพิจารณารางดังกลาวแล้ว ไม่มีขอทักทวง ขอบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. 2563 ขอ 104 กําหนดวา “ รางพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญที่รัฐสภาให้ความเห็นชอบ และได้ดําเนินการตามขอ 102 แล้ว กอนสงรางพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญไปยังนายกรัฐมนตรีเพื่อดําเนินการตามมาตรา 81 ของรัฐธรรมนูญ ให้ประธานรัฐสภา ชะลอไวสามวัน เพื่อเปดโอกาสให้สมาชิกรัฐสภาจํานวนไม่นอยกวาหนึ่งในสิบของจํานวนสมาชิกรัฐสภาทั้งหมด เทาที่มีอยู่ของทั้งสองสภาเสนอความเห็นต่อประธานรัฐสภาวา รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้น มีขอความขัดหรือแยงต่อรัฐธรรมนูญหรือตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ และให้ประธานรัฐสภาสงความเห็นไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัย ” ซึ่งรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … จะครบกําหนดระยะเวลาที่ชะลอไวสามวัน ในวันที่ 26 สิงหาคม 2565 ต่อมา เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2565 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภายื่นหนังสือต่อผู้รองขอให้สงศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัย 2. ประธานกรรมการการเลือกตั้งยื่นคําชี้แจง คําชี้แจงเพิ่มเติม และสงเอกสารประกอบ สรุปได้วา คณะกรรมการการเลือกตั้งคํานวณหาจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของแต่ละพรรคการเมือง โดยอาศัยวิธีการคํานวณตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2564 มาตรา 91 ประกอบรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ้ หนา 15 ่ เลม 139 ตอนที่ 80 ก ราชกิจจานุเบกษา 29 ธันวาคม 2565

(ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 128 ดังนี้ (1) รวมผลคะแนนทั้งหมดที่ทุกพรรคการเมืองได้รับจาก การเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อทั้งประเทศ (2) นําคะแนนรวมจาก (1) หารด้วยหนึ่งรอย ผลลัพธที่ได้ ให้ถือเป็นคะแนนเฉลี่ยต่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อหนึ่งคน (3) นําคะแนนรวมจากการเลือกตั้ง แบบบัญชีรายชื่อที่แต่ละพรรคการเมืองได้รับ หารด้วยคะแนนเฉลี่ยตาม (2) ผลลัพธที่ได้เฉพาะสวน ที่เป็นจํานวนเต็มคือจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อที่พรรคการเมืองนั้นได้รับ และ (4) กรณีที่จํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อที่พรรคการเมืองได้รับรวมกันทุกพรรคการเมือง มีจํานวนไม่ครบหนึ่งรอยคน ให้พรรคการเมืองที่มีผลลัพธที่เป็นเศษโดยไม่มีจํานวนเต็มและพรรคการเมือง ที่มีเศษหลังจากการคํานวณตาม (3) พรรคใดเป็นหรือมีเศษจํานวนมากที่สุด ให้ได้รับจํานวน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่ออีกหนึ่งคนเรียงตามลําดับ จนกวาจะมีจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อที่พรรคการเมืองทั้งหมดได้รับรวมกันครบจํานวนหนึ่งรอยคน บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ มาตรา 92 มาตรา 93 และมาตรา 94 บัญญัติขึ้นเพื่อรองรับ การคํานวณจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่แต่ละพรรคการเมืองจะพึงมีและจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อที่แต่ละพรรคการเมืองพึงได้รับ โดยคํานวณจากคะแนนทั้งประเทศที่ได้รับจากการเลือกตั้ง แบบแบงเขตเลือกตั้ง แต่เมื่อมีการแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2564 มาตรา 83 และมาตรา 91 จึงยกรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ โดยแกไขเพิ่มเติมการคํานวณสัดสวนเพื่อหาผู้ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561 มาตรา 128 และยกเลิกความในมาตรา 126 มาตรา 129 มาตรา 130 และมาตรา 131 ในสวนที่เกี่ยวของกับการคํานวณจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่แต่ละพรรคการเมืองจะพึงมี และจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อที่แต่ละพรรคการเมืองพึงได้รับ กรณีมีการเลือกตั้งใหม แบบแบงเขตเลือกตั้งในบางเขตหรือบางหนวยเลือกตั้งกอนประกาศผลการเลือกตั้งยังไม่แล้วเสร็จ หรือยังไม่มีการประกาศผลการเลือกตั้งครบทุกเขตเลือกตั้ง หรือมีการเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้งใหม ภายในหนึ่งป หลังจากการเลือกตั้งอันเป็นการเลือกตั้งเป็นการทั่วไปเพราะเหตุที่การเลือกตั้ง ในเขตเลือกตั้งนั้นมิได้เป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม เมื่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2564 ไม่มีการแกไขเพิ่มเติมมาตรา 92 มาตรา 93 และมาตรา 94 ้ หนา 16 ่ เลม 139 ตอนที่ 80 ก ราชกิจจานุเบกษา 29 ธันวาคม 2565

ให้สอดคลองกับรูปแบบของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่เปลี่ยนแปลงไป ประกอบกับรางพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญมีการแกไขเพิ่มเติมโดยยกเลิกวิธีการคํานวณจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ที่แต่ละพรรคจะพึงมีและจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อที่แต่ละพรรคการเมืองพึงได้รับ คณะกรรมการการเลือกตั้งจึงไม่มีเหตุที่จะคํานวณหาจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ของแต่ละพรรคการเมืองตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 92 มาตรา 93 และมาตรา 94 ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาขอเท็จจริงตามคํารอง คําชี้แจงของผู้รอง คําชี้แจงและคําชี้แจงเพิ่มเติม ของผู้เกี่ยวของ และเอกสารประกอบแล้วเห็นวา คดีเป็นปญหาขอกฎหมายและมีพยานหลักฐานเพียงพอ ที่จะพิจารณาวินิจฉัยได้ จึงยุติการไตสวนตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยวิธีพิจารณา ของศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2561 มาตรา 58 วรรคหนึ่ง และกําหนดประเด็นที่ต้องพิจารณาวินิจฉัย ดังนี้ ประเด็นที่หนึ่ง รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … ตราขึ้นโดยไม่ถูกต องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ มาตรา 132 หรือไม่ ประเด็นที่สอง รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 25 และมาตรา 26 มีขอความขัดหรือแยงต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 93 และมาตรา 94 หรือไม่ ประเด็นที่หนึ่ง รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … ตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ มาตรา 132 หรือไม่ พิจารณาแล้วเห็นวา รัฐธรรมนูญ มาตรา 132 บัญญัติวา “ รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ นอกจากที่บัญญัติไวดังต่อไปนี้ ให้กระทําเชนเดียวกับพระราชบัญญัติ (1) การเสนอรางพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญให้เสนอต่อรัฐสภา และให้รัฐสภาประชุมรวมกันเพื่อพิจารณารางพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายในเวลาหนึ่งรอยแปดสิบวัน โดยการออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สาม ต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยมากกวากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยู่ของรัฐสภา ถาที่ประชุมรวมกันของรัฐสภาพิจารณาไม่แล้วเสร็จภายในกําหนดเวลาดังกลาว ให้ถือวารัฐสภาให้ความเห็นชอบ ตามรางที่เสนอตามมาตรา 131 (2) ภายในสิบหาวันนับแต่วันที่รัฐสภาให้ความเห็นชอบรางพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญ ให้รัฐสภาสงรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นไปยังศาลฎีกา ศาลรัฐธรรมนูญ หรือองคกรอิสระที่เกี่ยวของ เพื่อให้ความเห็น ในกรณีที่ศาลฎีกา ศาลรัฐธรรมนูญ หรือองคกรอิสระที่เกี่ยวของ ้ หนา 17 ่ เลม 139 ตอนที่ 80 ก ราชกิจจานุเบกษา 29 ธันวาคม 2565

ไม่มีขอทักทวงภายในสิบวันนับแต่วันที่ได้รับรางดังกลาว ให้รัฐสภาดําเนินการต่อไป (3) ในกรณีที่ศาลฎีกา ศาลรัฐธรรมนูญ หรือองคกรอิสระที่เกี่ยวของ เห็นวารางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่รัฐสภา ให้ความเห็นชอบมีขอความใดขัดหรือแยงต่อรัฐธรรมนูญ หรือทําให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ให้ถูกต้อง ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญได้ ให้เสนอความเห็นไปยังรัฐสภาและให้รัฐสภาประชุมรวมกัน เพื่อพิจารณาให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับความเห็นดังกลาว ในการนี้ ให้รัฐสภา มีอํานาจแกไขเพิ่มเติมตามขอเสนอของศาลฎีกา ศาลรัฐธรรมนูญ หรือองคกรอิสระ ตามที่เห็นสมควรได้ และเมื่อดําเนินการเสร็จแล้ว ให้รัฐสภาดําเนินการต่อไป ” ขอบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. 2563 ขอ 84 วรรคสอง กําหนดวา “ ให้รัฐสภาประชุมรวมกันเพื่อพิจารณารางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ให้แล้วเสร็จภายในเวลาหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแต่วันที่ประธานรัฐสภาให้บรรจุระเบียบวาระการประชุมรัฐสภา ” ขอ 87 วรรคสอง กําหนดวา “ ในกรณีที่รัฐสภามีมติให้พิจารณารางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ที่มีหลักการทํานองเดียวกันหลายฉบับรวมกัน รัฐสภาจะลงมติรับหลักการหรือไม่รับหลักการแห่งรางพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญแต่ละฉบับหรือทั้งหมดรวมกันก็ได้ และเมื่อรัฐสภาได้มีมติรับหลักการแล้ว ให้รัฐสภาลงมติวาจะให้รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญฉบับใดเป็นหลักในการพิจารณาในวาระที่สอง ” และขอ 101 กําหนดวา “ ในกรณีที่รัฐสภาพิจารณารางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญไม่แล้วเสร็จ ภายในกําหนดเวลาหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแต่วันที่ประธานรัฐสภาให้บรรจุระเบียบวาระการประชุมรัฐสภา ให้ถือวารัฐสภาให้ความเห็นชอบตามรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่ใชเป็นหลักในการพิจารณา ในวาระที่สอง… ” เมื่อขอเท็จจริงปรากฏวา วันที่ 15 สิงหาคม 2565 ที่ประชุมรวมกันของรัฐสภาพิจารณา รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … ไม่แล้วเสร็จภายในหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแต่วันที่ 17 กุมภาพันธ 2565 ซึ่งเป็นวันที่ผู้รอง ให้บรรจุระเบียบวาระการประชุมรัฐสภา กรณีเป็นไปตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 132 (1) ประกอบขอบังคับ การประชุมรัฐสภา พ.ศ. 2563 ขอ 84 วรรคสอง ขอ 87 วรรคสอง และขอ 101 ที่ให้ถือวารัฐสภา ให้ความเห็นชอบตามรางฉบับที่คณะรัฐมนตรีเป็นผู้เสนอซึ่งใชเป็นหลักในการพิจารณาในวาระที่สองแล้ว ในวันที่ 15 สิงหาคม 2565 นั้น เมื่อผู้รองมีหนังสือลงวันที่ 16 สิงหาคม 2565 สงรางฉบับที่ คณะรัฐมนตรีเป็นผู้เสนอให้คณะกรรมการการเลือกตั้ง และประธานกรรมการการเลือกตั้งมีหนังสือ ้ หนา 18 ่ เลม 139 ตอนที่ 80 ก ราชกิจจานุเบกษา 29 ธันวาคม 2565

ลงวันที่ 23 สิงหาคม 2565 แจงวาคณะกรรมการการเลือกตั้งพิจารณาแล้วไม่มีขอทักทวง จึงเป็นกรณีที่รัฐสภาสงรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญดังกลาวไปยังคณะกรรมการการเลือกตั้ง ซึ่งเป็นองคกรอิสระที่เกี่ยวของภายในสิบหาวันนับแต่วันที่รัฐสภาให้ความเห็นชอบ และคณะกรรมการ การเลือกตั้งไม่มีขอทักทวงภายในสิบวันนับแต่วันที่ได้รับรางดังกลาวแล้ว กรณีเป็นไปตามกระบวนการ ที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญ มาตรา 132 (1) และ (2) ดังนั้น รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … ตราขึ้นโดยถูกต้องตามบทบัญญัติ แห่งรัฐธรรมนูญ มาตรา 132 ในสวนที่ผู้เขาชื่อเสนอความเห็นกลาวอางวามีพฤติกรรมของสมาชิกรัฐสภาที่มาประชุมครบองคประชุม แต่ผู้ลงมติไม่ครบองคประชุมหรือมาประชุมไม่ครบองคประชุมจนเป็นเหตุให้การพิจารณารางพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญดังกลาวไม่แล้วเสร็จภายในหนึ่งรอยแปดสิบวันนั้น เห็นวา รัฐธรรมนูญ มาตรา 219 บัญญัติให้มีมาตรฐานทางจริยธรรมขึ้นใชบังคับแกตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ดํารงตําแหนงในองคกรอิสระ ผู้วาการตรวจเงินแผนดิน และหัวหน้าหนวยงานธุรการของศาลรัฐธรรมนูญและองคกรอิสระ รวมทั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา และคณะรัฐมนตรี และมีมาตรฐานทางจริยธรรม ของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และผู้ดํารงตําแหนงในองคกรอิสระ รวมทั้งผู้วาการตรวจเงินแผนดิน และหัวหน้าหนวยงานธุรการของศาลรัฐธรรมนูญและองคกรอิสระ พ.ศ. 2561 ขึ้นใชบังคับแล้ว หากบุคคลใดเห็นวาพฤติกรรมดังกลาวเป็นการฝาฝนมาตรฐานทางจริยธรรมหรือเป็นการกระทําผิด ตามขอบังคับวาด้วยประมวลจริยธรรมของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและกรรมาธิการ พ.ศ. 2563 และขอบังคับวาด้วยประมวลจริยธรรมของสมาชิกวุฒิสภาและกรรมาธิการ พ.ศ. 2563 บุคคลนั้น ก็ชอบที่จะใชสิทธิตามที่รัฐธรรมนูญและกฎหมายบัญญัติไว ประเด็นที่สอง รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 25 และมาตรา 26 มีขอความขัดหรือแยงต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 93 และมาตรา 94 หรือไม่ พิจารณาแล้วเห็นวา รัฐธรรมนูญ มาตรา 93 และมาตรา 94 เป็นบทบัญญัติในหมวด 7 รัฐสภา สวนที่ 2 สภาผู้แทนราษฎร โดยมาตรา 93 วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “ ในการเลือกตั้งทั่วไป ถาต้องมีการเลือกตั้ง แบบแบงเขตเลือกตั้งใหมในบางเขตหรือบางหนวยเลือกตั้งกอนประกาศผลการเลือกตั้ง หรือการเลือกตั้ง ้ หนา 19 ่ เลม 139 ตอนที่ 80 ก ราชกิจจานุเบกษา 29 ธันวาคม 2565

ยังไม่แล้วเสร็จ หรือยังไม่มีการประกาศผลการเลือกตั้งครบทุกเขตเลือกตั้งไม่วาด้วยเหตุใด การคํานวณ จํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่แต่ละพรรคการเมืองพึงมี และจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อที่แต่ละพรรคการเมืองพึงได้รับให้เป็นไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่บัญญัติไว ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ” วรรคสอง บัญญัติวา “ ในกรณีที่ผลการคํานวณตามวรรคหนึ่งทําให้จํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของ พรรคการเมืองใดลดลง ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองนั้นในลําดับทาย ตามลําดับพนจากตําแหนง ” และมาตรา 94 วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “ ภายในหนึ่งปหลังจากวันเลือกตั้ง อันเป็นการเลือกตั้งทั่วไป ถาต้องมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้ง ในเขตเลือกตั้งใดขึ้นใหม เพราะเหตุที่การเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งนั้นมิได้เป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม ให้นําความในมาตรา 93 มาใชบังคับโดยอนุโลม ” วรรคสอง บัญญัติวา “ การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แทนตําแหนงที่วางไม่วาด้วยเหตุใดภายหลังพนเวลาหนึ่งปนับแต่วันเลือกตั้งทั่วไป มิให้มีผลกระทบกับ การคํานวณสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่แต่ละพรรคการเมืองจะพึงมีตามมาตรา 91 ” สําหรับรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … ตราขึ้นเนื่องจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2564 แกไขเพิ่มเติมบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวของกับจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งมาจากการเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้งและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งมาจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ จํานวนบัตรเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร การคํานวณสัดสวนผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อของแต่ละพรรคการเมืองที่จะได้รับเลือกตั้ง รวมถึงหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไข ในการสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ การออกเสียงลงคะแนน การนับคะแนน การรวมคะแนน การประกาศผลการเลือกตั้ง และการอื่นที่เกี่ยวของ โดยรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 25 ให้ยกเลิกความในมาตรา130 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561 ซึ่งวรรคหนึ่ง บัญญัติวา “ ในการเลือกตั้งทั่วไป ถาต้องมีการเลือกตั้งใหมในบางเขตหรือบางหนวยเลือกตั้ง กอนประกาศผลการเลือกตั้ง หรือการเลือกตั้งยังไม่แล้วเสร็จ มิให้นําผลคะแนนของการเลือกตั้ง แบบแบงเขตเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งที่เป็นเหตุดังกลาวมาคํานวณเพื่อหาจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ้ หนา 20 ่ เลม 139 ตอนที่ 80 ก ราชกิจจานุเบกษา 29 ธันวาคม 2565

ที่แต่ละพรรคการเมืองพึงมี และจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อที่แต่ละพรรคการเมืองพึงได้รับ ” และวรรคสอง บัญญัติวา “ ความในวรรคหนึ่งให้นํามาใชบังคับแกกรณีที่ผู้สมัครถูกระงับสิทธิสมัครรับเลือกตั้งไว เป็นการชั่วคราวตามมาตรา 132 ด้วยโดยอนุโลม ” และให้ใชความต่อไปนี้แทน “ มาตรา 130 เมื่อคณะกรรมการประกาศผลการเลือกตั้งแล้วให้นําผลการเลือกตั้งไปประกาศในราชกิจจานุเบกษา และเมื่อมีประธานรัฐสภาแล้ว ให้สงบัญชีรายชื่อผู้สมัครแบบบัญชีรายชื่อของทุกพรรคการเมือง ไปยังประธานรัฐสภาเพื่อทราบโดยเร็ว ” และรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 26 ให้ยกเลิกมาตรา 131 แห่งพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561 ซึ่งวรรคหนึ่ง บัญญัติวา “ ภายในหนึ่งปหลังจากวันเลือกตั้งอันเป็นการเลือกตั้งทั่วไป ถาต้องมีการเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้งใดขึ้นใหม เพราะเหตุที่การเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งนั้นมิได้เป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม ให้คํานวณจํานวน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อใหม โดยมิให้นําคะแนนที่ได้รับจากการเลือกตั้งที่เป็นเหตุ ให้มีการเลือกตั้งใหมมารวมคํานวณด้วย และให้นําวิธีการคํานวณตามมาตรา 129 และมาตรา 130 มาใชบังคับด้วยโดยอนุโลม ” วรรคสอง บัญญัติวา “ ภายในหนึ่งปหลังจากวันเลือกตั้งอันเป็นการเลือกตั้งทั่วไป หากปรากฏวาผู้สมัครผู้ใดกระทําการอันถือวาเป็นการทุจริตในการเลือกตั้ง และผู้นั้นไม่ได้รับการเลือกตั้ง หากมีการนําคะแนนที่ผู้สมัครผู้นั้นได้รับไปรวมคํานวณเพื่อจัดสรรสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ให้พรรคการเมืองที่ผู้นั้นสังกัดไปแล้ว ให้ดําเนินการคํานวณเพื่อหาจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อของแต่ละพรรคการเมืองใหม โดยมิให้นําคะแนนที่ผู้สมัครดังกลาวได้รับไปรวมคํานวณด้วย และให้นําความในมาตรา 129 วรรคสี่และวรรคหา มาใชบังคับด้วยโดยอนุโลม ” วรรคสาม บัญญัติวา “ การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตําแหนงที่วางไม่วาด้วยเหตุใดภายหลังพนเวลาหนึ่งป นับแต่วันเลือกตั้งทั่วไป มิให้มีผลกระทบกับการคํานวณสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่แต่ละพรรคการเมืองจะพึงมี ตามมาตรา 128 ” และวรรคสี่ บัญญัติวา “ ให้นําความในวรรคสามมาใชบังคับแกกรณีที่มีการเลือกตั้ง แทนตําแหนงที่วางด้วยเหตุอื่นใดนอกจากเหตุตามวรรคหนึ่งกอนพนเวลาหนึ่งปนับแต่วันเลือกตั้งทั่วไป ด้วยโดยอนุโลม ” ผู้เขาชื่อเสนอความเห็นกลาวอางวา รางมาตรา 25 และรางมาตรา 26 มีขอความขัดหรือแยง ต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 93 และมาตรา 94 เนื่องจากไม่ได้บัญญัติรายละเอียดวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับ ้ หนา 21 ่ เลม 139 ตอนที่ 80 ก ราชกิจจานุเบกษา 29 ธันวาคม 2565

วิธีการคํานวณจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่แต่ละพรรคการเมืองพึงมีและจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อที่แต่ละพรรคการเมืองพึงได้รับกรณีเลือกตั้งไม่แล้วเสร็จตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 93 หรือกรณีที่มีการเลือกตั้งใหมด้วยเหตุทุจริตการเลือกตั้งขึ้นภายในหนึ่งปนับแต่วันเลือกตั้งทั่วไปตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 94 นั้น เห็นวา รัฐธรรมนูญ มาตรา 93 และมาตรา 94 เป็นบทบัญญัติวาด้วยวิธีการคํานวณ จํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่แต่ละพรรคการเมืองพึงมีและจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อที่แต่ละพรรคการเมืองพึงได้รับ โดยมาตรา 93 ใชแกกรณีที่ ต้องมีการเลือกตั้ง แบบแบงเขตเลือกตั้งใหมในบางเขตหรือบางหนวยเลือกตั้งกอนประกาศผลการเลือกตั้ง หรือการเลือกตั้ง ยังไม่แล้วเสร็จ หรือยังไม่มีการประกาศผลการเลือกตั้งครบทุกเขตเลือกตั้งไม่วาด้วยเหตุใด และมาตรา 94 ใชแกกรณีที่ต้องมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งใดขึ้นใหม ภายในหนึ่งปหลังจากวันเลือกตั้งอันเป็นการเลือกตั้งทั่วไปเพราะเหตุที่การเลือกตั้งในเขตนั้นมิได้เป็นไปโดยสุจริต และเที่ยงธรรม ซึ่งรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีการคํานวณดังกลาวบัญญัติไวในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561 มาตรา 130 และมาตรา 131 กลาวคือ กรณีตามมาตรา 93 มิให้นําผลคะแนนของการเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งที่เป็นเหตุดังกลาว มาคํานวณเพื่อหาจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่แต่ละพรรคการเมืองพึงมีและจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อที่แต่ละพรรคการเมืองพึงได้รับ สวนกรณีตามมาตรา 94 ให้คํานวณจํานวนสมาชิก สภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อใหม โดยมิให้นําคะแนนที่ได้รับจากการเลือกตั้งที่เป็นเหตุให้มีการเลือกตั้งใหม มารวมคํานวณด้วย เหตุผลที่ต้องมีการกําหนดวิธีการคํานวณจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่แต่ละพรรคการเมืองพึงมี และจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อที่แต่ละพรรคการเมืองพึงได้รับตามมาตรา 93 และมาตรา 94 ประกอบพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561 มาตรา 130 และมาตรา 131 นั้น เนื่องจากมาตรา 83 และมาตรา 91 กอนการแกไขเพิ่มเติมโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2564 บัญญัติให้สภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วยสมาชิกจํานวนหารอยคน โดยมีสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้ง แบบแบงเขตเลือกตั้งจํานวนสามรอยหาสิบคน และสมาชิกซึ่งมาจากบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง จํานวนหนึ่งรอยหาสิบคน ผู้มีสิทธิเลือกตั้งมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งได้คนละหนึ่งคะแนน ้ หนา 22 ่ เลม 139 ตอนที่ 80 ก ราชกิจจานุเบกษา 29 ธันวาคม 2565

ผานบัตรเลือกตั้งหนึ่งใบที่ใชในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้งแล้วจึงนําคะแนนรวม ทั้งประเทศที่พรรคการเมืองทุกพรรคที่สงผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อได้รับจากการเลือกตั้ง แบบแบงเขตเลือกตั้งนั้นมาคํานวณหาจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของแต่ละพรรคการเมืองต่อไป การลงคะแนนเสียงเลือกตั้งตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญเดิมจึงเป็นการใชบัตรเลือกตั้งเพียงหนึ่งใบ เพื่อลงคะแนนเลือกทั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้งและแบบบัญชีรายชื่อไปในคราวเดียวกัน ด้วยเหตุผลดังกลาวจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของแต่ละพรรคการเมืองจึงยึดโยงอยู่กับ จํานวนคะแนนรวมทั้งประเทศของพรรคการเมืองนั้นที่ได้รับจากการเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้ง หากเกิดกรณีตามมาตรา 93 และมาตรา 94 ยอมจะทําให้จํานวนคะแนนรวมทั้งประเทศของพรรคการเมืองนั้น ที่ได้รับจากการเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้งเปลี่ยนแปลงไป และสงผลกระทบต่อจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อของแต่ละพรรคการเมืองด้วย จึงต้องกําหนดวิธีการคํานวณหาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อของแต่ละพรรคการเมืองเพราะเหตุผลดังกลาวไวในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561 มาตรา 130 และมาตรา 131 เมื่อมีการแกไขเพิ่มเติมและประกาศใชบังคับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2564 ปรากฏวามีการแกไขเพิ่มเติม มาตรา 83 และมาตรา 91 โดยมีเหตุผลวา การคํานวณคะแนนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อมีความจําเป็นที่จะต้องมี หลักเกณฑที่ชัดเจนและเป็นธรรมต่อพรรคการเมืองและต้องเคารพหนึ่งสิทธิหนึ่งเสียงของประชาชน การให้มีบัตรเลือกตั้งสองใบเพื่อให้ประชาชนมีสิทธิในการเลือกพรรคการเมืองและผู้สมัครรับเลือกตั้ง เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้ง ยอมทําให้ประชาชนได้ใชเจตจํานงในการเลือกตั้ง ที่สอดคลองกับความเป็นจริงมากยิ่งขึ้น ซึ่งบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญที่แกไขเพิ่มเติม มาตรา 83 และมาตรา 91 บัญญัติให้สภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วยสมาชิกจํานวนหารอยคน โดยเป็นสมาชิก ซึ่งมาจากการเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้งจํานวนสี่รอยคน และสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้ง แบบบัญชีรายชื่อจํานวนหนึ่งรอยคน และให้ใชบัตรเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบละหนึ่งใบ สําหรับการคํานวณสัดสวนผู้สมัครรับเลือกตั้งตามบัญชีรายชื่อของแต่ละพรรคการเมืองที่จะได้รับเลือกตั้งนั้น ให้นําคะแนนที่แต่ละพรรคการเมืองได้รับการเลือกตั้งมารวมกันทั้งประเทศ แล้วคํานวณเพื่อแบงจํานวน ผู้ที่จะได้รับเลือกของแต่ละพรรคการเมือง เป็นสัดสวนที่สัมพันธกันโดยตรงกับจํานวนคะแนนรวมขางตน ้ หนา 23 ่ เลม 139 ตอนที่ 80 ก ราชกิจจานุเบกษา 29 ธันวาคม 2565

สวนหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ การออกเสียงลงคะแนน การนับคะแนน การรวมคะแนน การประกาศผลการเลือกตั้ง และการอื่นที่เกี่ยวของ ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร โดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2564 ไม่มีการแกไขเพิ่มเติม มาตรา 93 และมาตรา 94 เห็นได้วา การที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2564 ยังคงบัญญัติให้สภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วยสมาชิกอันมีจํานวนแนนอน คือ จํานวนหารอยคน แต่เปลี่ยนแปลงเฉพาะสัดสวนจํานวนสมาชิกโดยให้มาจากการเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้ง จํานวนสี่รอยคนและมาจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อจํานวนหนึ่งรอยคน และเปลี่ยนแปลงหลักการ เกี่ยวกับจํานวนบัตรเลือกตั้งใหมให้แตกตางจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 คือให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งได้คนละสองคะแนนผานบัตรเลือกตั้งสองใบ คือ บัตรที่ใชในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้งและบัตรที่ใชในการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ยอมแสดงให้เห็นเจตนารมณของรัฐธรรมนูญที่ประสงคจะเปลี่ยนแปลง ระบบการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากเดิมไปในสาระสําคัญ เพื่อให้ประชาชนได้ใชเจตจํานง ในการเลือกพรรคการเมืองและผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้ง ระบบการเลือกตั้งเชนนี้จึงมีทั้งคะแนนที่มาจากการเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้งและแบบบัญชีรายชื่อ แยกตางหากจากกัน ซึ่งแตกตางไปจากระบบเดิมที่ใชบัตรเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้งเพียงใบเดียว และนําจํานวนคะแนนรวมทั้งประเทศของพรรคการเมืองนั้นที่ได้รับจากการเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้งนั้น มายึดโยงเป็นฐานในการคํานวณหาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของแต่ละพรรคการเมือง จะได้รับเลือกตั้ง การคํานวณสัดสวนผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามบัญชีรายชื่อ ของแต่ละพรรคการเมืองที่จะได้รับเลือกตั้งตามระบบการเลือกตั้งใหมนี้จึงต้องเปลี่ยนแปลงไปเป็นการนําคะแนน ที่แต่ละพรรคการเมืองได้รับเลือกตั้งจากบัตรที่ใชในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ มารวมกันทั้งประเทศ แล้วคํานวณเพื่อแบงจํานวนผู้ที่จะได้รับเลือกของแต่ละพรรคการเมืองเป็นสัดสวน ที่สัมพันธกันโดยตรงกับจํานวนคะแนนรวมขางตนต่อไป ดังนั้น จํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อของแต่ละพรรคการเมืองยอมไม่ยึดโยงอยู่กับจํานวนคะแนนรวมทั้งประเทศของพรรคการเมืองนั้น ที่ได้รับจากการเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้งดังเชนที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ้ หนา 24 ่ เลม 139 ตอนที่ 80 ก ราชกิจจานุเบกษา 29 ธันวาคม 2565

พุทธศักราช 2560 มาตรา 83 และมาตรา 91 แมจะเกิดกรณีต้องมีการเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้งใหม ในบางเขตหรือบางหนวยเลือกตั้งกอนประกาศผลการเลือกตั้ง หรือการเลือกตั้งยังไม่แล้วเสร็จ หรือยังไม่มีการประกาศผลการเลือกตั้งครบทุกเขตเลือกตั้งไม่วาด้วยเหตุใดตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 93 หรือกรณีที่ต้องมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งใดขึ้นใหม ภายในหนึ่งปหลังจากวันเลือกตั้งอันเป็นการเลือกตั้งทั่วไปเพราะเหตุที่การเลือกตั้งในเขตนั้นมิได้เป็นไปโดยสุจริต และเที่ยงธรรมตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 94 อันจะทําให้คะแนนรวมทั้งประเทศของพรรคการเมืองนั้น ที่ได้รับจากการเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้งเปลี่ยนแปลงไปก็ตาม ก็ไม่มีผลกระทบต่อการคํานวณสัดสวน ผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามบัญชีรายชื่อของแต่ละพรรคการเมืองที่จะได้รับเลือกตั้ง จึงไม่จําเป็นต้องกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีการคํานวณสัดสวนผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ตามบัญชีรายชื่อของแต่ละพรรคการเมืองที่จะได้รับเลือกตั้งเพราะเหตุตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 93 และมาตรา 94 ไวในรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … อีก การที่รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎ ร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 25 และมาตรา 26 ให้ยกเลิกความตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561 มาตรา 130 และมาตรา 131 จึงสอดคลองกับเจตนารมณและบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2564 มาตรา 83 และมาตรา 91 ซึ่งเป็นบทบัญญัติที่ตราขึ้นใหม เปลี่ยนแปลงระบบการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้งกับแบบบัญชีรายชื่อ โดยให้ใชบัตรเลือกตั้งแบบละหนึ่งใบ สวนมาตรา 93 และมาตรา 94 ซึ่งใชกับระบบการเลือกตั้ง ที่ใชบัตรเลือกตั้งใบเดียวแต่ยังไม่มีการแกไขเพิ่มเติมบทบัญญัติดังกลาว ดังนั้น รางพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 25 และมาตรา 26 จึงถือไม่ได้วามีขอความขัดหรือแยงต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 93 และมาตรา 94 อาศัยเหตุผลดังกลาวขางตน จึงวินิจฉัยวา รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วย การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … ตราขึ้นโดยถูกต้องตามบทบัญญัติ แห่งรัฐธรรมนูญ มาตรา 132 และรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการเลือกตั้ง ้ หนา 25 ่ เลม 139 ตอนที่ 80 ก ราชกิจจานุเบกษา 29 ธันวาคม 2565

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 25 และมาตรา 26 ไม่มีขอความขัดหรือแยง ต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 93 และมาตรา 94 นายวรวิทย กังศศิเทียม ประธานศาลรัฐธรรมนูญ นายทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ นายนครินทร เมฆไตรรัตน์ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ นายปญญา อุดชาชน นายอุดม สิทธิวิรัชธรรม ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ นายวิรุฬห แสงเทียน นายจิรนิติ หะวานนท ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ นายนภดล เทพพิทักษ์ นายบรรจงศักดิ์ วงศปราชญ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ้ หนา 26 ่ เลม 139 ตอนที่ 80 ก ราชกิจจานุเบกษา 29 ธันวาคม 2565