Tue Dec 20 2022 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ คำวินิจฉัยที่ 20/2565 เรื่อง ประธานรัฐสภาส่งความเห็นของสมาชิกวุฒิสภาขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 148 วรรคหนึ่ง (1) ประกอบมาตรา 132 ว่า ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... มาตรา 3 มาตรา 4 มาตรา 5 มาตรา 6 มาตรา 7 มาตรา 9 และมาตรา 10 มีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 45 มาตรา 83 มาตรา 86 มาตรา 90 มาตรา 91 และมาตรา 258 ก. ด้านการเมือง (2) หรือไม่ [ระหว่าง ประธานรัฐสภา ผู้ร้อง - ผู้ถูกร้อง]


คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ คำวินิจฉัยที่ 20/2565 เรื่อง ประธานรัฐสภาส่งความเห็นของสมาชิกวุฒิสภาขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 148 วรรคหนึ่ง (1) ประกอบมาตรา 132 ว่า ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 3 มาตรา 4 มาตรา 5 มาตรา 6 มาตรา 7 มาตรา 9 และมาตรา 10 มีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 45 มาตรา 83 มาตรา 86 มาตรา 90 มาตรา 91 และมาตรา 258 ก. ด้านการเมือง (2) หรือไม่ [ระหว่าง ประธานรัฐสภา ผู้ร้อง - ผู้ถูกร้อง]

ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย ศาลรัฐธรรมนูญ คําวินิจฉัยที่ 20/2565 เรื่องพิจารณาที่ 19/2565 วันที่ 23 เดือน พฤศจิกายน พุทธศักราช 2565 ประธานรัฐสภา ผู้รอง - ผู้ถูกรอง เรื่อง ประธานรัฐสภาสงความเห็นของสมาชิกวุฒิสภาขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 148 วรรคหนึ่ง (1) ประกอบมาตรา 132 วา รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 3 มาตรา 4 มาตรา 5 มาตรา 6 มาตรา 7 มาตรา 9 และมาตรา 10 มีขอความขัดหรือแยงต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 45 มาตรา 83 มาตรา 86 มาตรา 90 มาตรา 91 และมาตรา 258 ก. ดานการเมือง (2) หรือไม่ ประธานรัฐสภา (ผู้รอง) สงความเห็นของ พลเอก สมเจตน บุญถนอม สมาชิกวุฒิสภา ในฐานะสมาชิกรัฐสภา และคณะ รวม 77 คน ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 148 วรรคหนึ่ง (1) ประกอบมาตรา 132 ขอเท็จจริงตามคํารองและเอกสารประกอบ สรุปได้ดังนี้ ที่ประชุมรวมกันของรัฐสภาพิจารณาลงมติให้ความเห็นชอบรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … วันที่ 26 กรกฎาคม 2565 ในวาระที่สาม ต่อมาเมื่อวันที่ ระหวาง ้ หนา 27 ่ เลม 139 ตอนที่ 77 ก ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

16 สิงหาคม 2565 ผู้รองสงรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญดังกลาวให้คณะกรรมการ การเลือกตั้งเพื่อให้ความเห็น คณะกรรมการการเลือกตั้งแจงความเห็นมายังผู้รองวาไม่มีขอทักทวง สมาชิกวุฒิสภาในฐานะสมาชิกรัฐสภา รวม 77 คน (ผู้เขาชื่อเสนอความเห็น) เห็นวา รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มีขอความขัดหรือแยง ต่อรัฐธรรมนูญ และตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ โดยมีเหตุผลสรุปได้ดังนี้ 1. รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 3 แกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 มาตรา 15 วรรคหนึ่ง ที่บัญญัติวา ขอบังคับอยางนอยต้องมีรายการ ดังต่อไปนี้… (15) รายได้ของพรรคการเมือง และอัตราคาธรรมเนียมและคาบํารุงพรรคการเมืองซึ่งต้องเรียกเก็บจากสมาชิก จากเดิม “ ไม่นอยกวา ปละหนึ่งรอยบาท ” แกไขเป็น “ ไม่นอยกวาปละยี่สิบบาท ” และรางมาตรา 4 แกไขเพิ่มเติมมาตรา 15 วรรคสี่ ที่บัญญัติวา พรรคการเมืองอาจกําหนดให้เรียกเก็บคาบํารุงพรรคการเมืองจากสมาชิกแบบตลอดชีพ ตามอัตราที่กําหนดในขอบังคับก็ได้ จากเดิม “ แต่ต้องไม่นอยกวาสองพันบาท ” แกไขเป็น “ แต่ต้องไม่นอยกวา สองรอยบาท ” เมื่อพิจารณาเจตนารมณของพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 ที่ประสงคให้สมาชิกพรรคการเมืองมีสวนรวมในการเป็นเจ้าของพรรคการเมืองและมีความรับผิดชอบ ต่อพรรคการเมือง แต่รางมาตราดังกลาวแกไขให้ลดอัตราคาธรรมเนียมและคาบํารุงพรรคการเมืองรายป และคาบํารุงพรรคการเมืองแบบตลอดชีพ อาจทําให้มีการจางคนเป็นสมาชิกพรรคการเมืองโดยออกเงินคาธรรมเนียม และคาบํารุงพรรคการเมืองให้ สงผลต่อกระบวนการสรรหาผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งแบบแบงเขตเลือกตั้ง และแบบบัญชีรายชื่อถูกครอบงําหรือถูกชี้นําได้งาย รางมาตรา 3 และรางมาตรา 4 จึงขัดต่อเจตนารมณ ของรัฐธรรมนูญ 2. รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 5 แกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 มาตรา 24 จากเดิมที่บัญญัติวา “ สมาชิกต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องหามตามที่กําหนดในขอบังคับ ซึ่งอยางนอยต้องมีอายุไม่ต่ํากวาสิบแปดปและมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องหามตามมาตรา 9 (1) (3) และ (5) ” แกไขในสวนลักษณะต้องหาม (3) เป็นไม่เคยต้องคําพิพากษาอันถึงที่สุดให้จําคุกวา กระทําความผิดต่อตําแหนงหน้าที่ราชการ หรือต่อตําแหนงหน้าที่ในการยุติธรรม หรือกระทําความผิด ้ หนา 28 ่ เลม 139 ตอนที่ 77 ก ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

ตามกฎหมายวาด้วยความผิดของพนักงานในองคการหรือหนวยงานของรัฐ หรือความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ที่กระทํา โดยทุจริตตามประมวลกฎหมายอาญา เวนแต่เป็นการรอการลงโทษ ทําให้ผู้ที่เคยต้องคําพิพากษา อันถึงที่สุดให้จําคุกเพราะกระทําความผิดดังกลาว แต่ศาลรอการลงโทษสามารถสมัครเป็นสมาชิกพรรคการเมือง ซึ่งเดิมจะต้องหามมิให้ใชสิทธิสมัครเป็นสมาชิกพรรคการเมือง เพราะเป็นผู้มีมลทินมัวหมองไม่เหมาะสม ที่จะเป็นสมาชิกพรรคการเมือง เนื่องจากพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 ประสงคสรางกลไกให้พรรคการเมืองเป็นสถาบันการเมืองของประชาชนที่มีอุดมการณรวมกันอยางแทจริง โดยไม่ประสงคให้บุคคลกระทําความผิดในฐานดังกลาวทํากิจกรรมทางการเมือง รางมาตรา 5 จึงขัดต่อเจตนารมณ ของรัฐธรรมนูญ 3. รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 6 แกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 มาตรา 35 วรรคหนึ่ง จากเดิมที่บัญญัติวา “ เขตเลือกตั้งในจังหวัดใดที่มิได้เป็นที่ตั้งสํานักงานใหญหรือสาขาพรรคการเมือง ถาพรรคการเมืองนั้นมีสมาชิกซึ่งมีภูมิลําเนาอยู่ในเขตเลือกตั้งในจังหวัดนั้นเกินหนึ่งรอยคน ให้พรรคการเมืองนั้นแต่งตั้งสมาชิกซึ่งมีภูมิลําเนาอยู่ในเขตเลือกตั้งในจังหวัดนั้นซึ่งมาจากการเลือก ของสมาชิกดังกลาวเป็นตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัดเพื่อดําเนินกิจกรรมของพรรคการเมือง ในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบนั้นและให้นําความในมาตรา 34 มาใชบังคับแกตัวแทนพรรคการเมืองประจํา จังหวัดด้วยโดยอนุโลม ” แกไขเป็น ในจังหวัดที่มิได้เป็นที่ตั้งสาขาพรรคการเมือง ถาพรรคการเมืองนั้น มีสมาชิกซึ่งมีภูมิลําเนาอยู่ในจังหวัดนั้นเกินหนึ่งรอยคน พ รรคการเมืองนั้นอาจแต่งตั้งสมาชิก ซึ่งมีภูมิลําเนาอยู่ในจังหวัดนั้นซึ่งมาจากการเลือกของสมาชิกดังกลาว ให้เป็นตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัดได้ ตามจํานวนที่เห็นสมควรเพื่อดําเนินกิจกรรมของพรรคการเมืองในจังหวัดนั้นและให้นําความในมาตรา 34 มาใชบังคับแกตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัดด้วยโดยอนุโลม โดยตัดเงื่อนไขสําคัญเกี่ยวกับ การมีสมาชิกพรรคการเมืองอยู่ในเขตเลือกตั้งออก แกไขเพียงให้มีสมาชิกพรรคการเมืองอยู่ในจังหวัดนั้น จํานวนเกินหนึ่งรอยคนเทานั้นและไม่จําเป็นต้องมีภูมิลําเนาอยู่ในเขตเลือกตั้ง นอกจากนี้ การให้มีสมาชิกในระดับจังหวัดโดยไม่จําเป็นต้องมีสมาชิกในระดับเขตเลือกตั้งไม่สงเสริม ให้เกิดการกระจายตัวเพื่อให้ประชาชนมีสวนรวมทางการเมืองกับพรรคการเมืองอยางกวางขวางทุกเขตเลือกตั้ง รางมาตรา 6 จึงขัดแยงต่อเจตนารมณของรัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรร มนูญ วาด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 ้ หนา 29 ่ เลม 139 ตอนที่ 77 ก ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

  1. รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 7 แกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 มาตรา 47 จากเดิมวรรคหนึ่ง ที่บัญญัติวา “ พรรคการเมืองซึ่งประสงคจะสงผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบแบงเขตเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งใด ต้องมีสาขาพรรคการเมืองหรือตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัด ที่มีเขตพื้นที่รับผิดชอบในเขตเลือกตั้งนั้น ” และวรรคสอง ที่บัญญัติวา “ การสงผู้สมัครรับเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งใด ให้พรรคการเมืองสงผู้สมัครรับเลือกตั้ง จากผู้ซึ่งได้รับเลือกจากสาขาพรรคการเมืองหรือตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัดที่มีเขตพื้นที่รับผิดชอบ ในเขตเลือกตั้งนั้นเป็นผู้สมัครรับเลือกตั้ง ” แกไขเป็น พรรคการเมืองซึ่งประสงคจะสงผู้สมัครรับเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งในจังหวัดใด ต้องมีสาขาพรรคการเมือง หรือตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัดในจังหวัดนั้น ในกรณีพรรคการเมืองใดมีสาขาพรรคการเมือง มากกวาหนึ่งสาขาหรือตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัดมากกวาหนึ่งตัวแทนในจังหวัดใด ให้พรรคการเมืองนั้นกําหนดวาจะให้สาขาพรรคการเมืองสาขาใดหรือตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัดใด ในจังหวัดนั้นเป็นสาขาพรรคการเมืองหรือตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัดเพื่อดําเนินการตามมาตรา 50 มีผลให้พรรคการเมืองไม่ต้องมีเขตพื้นที่รับผิดชอบในเขตเลือกตั้ง ทั้งยังตัดหลักเกณฑการสงผู้สมัครรับเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้งที่กําหนดให้ต้องสงผู้ซึ่งได้รับเลือกจากสาขาพรรคการเมือง หรือตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัดที่มีเขตพื้นที่รับผิดชอบในเขตเลือกตั้งนั้นออก รางมาตรา 7 จึงขัดแยงเจตนารมณของรัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 ที่ประสงคให้สมาชิกพรรคการเมืองต้องมีสวนรวมอยางกวางขวางในการสงผู้สมัครรับเลือกตั้ง 5. รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 9 แกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 มาตรา 50 (2) จากเดิมบัญญัติวา “ เมื่อพนกําหนดเวลารับสมัครตาม (1) ให้คณะกรรมการสรรหาตรวจสอบคุณสมบัติ ของผู้สมัครในแต่ละเขตเลือกตั้ง แล้วสงรายชื่อผู้สมัครให้สาขาพรรคการเมืองหรือตัวแทนพรรคการเมือง ประจําจังหวัดที่มีพื้นที่รับผิดชอบในเขตเลือกตั้งนั้น ” แกไขโดยตัดขอความ “ ที่มีพื้นที่รับผิดชอบ ในเขตเลือกตั้งนั้น ” ออก และแกไขมาตรา 50 (3) จากเดิมที่บัญญัติวา “ เมื่อสาขาพรรคการเมือง หรือตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัดได้รับรายชื่อผู้สมัครจากคณะกรรมการสรรหาแล้ว ให้หัวหน้า ้ หนา 30 ่ เลม 139 ตอนที่ 77 ก ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

สาขาพรรคการเมืองหรือตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัด จัดการประชุมสมาชิกเพื่อลงคะแนน เลือกผู้สมัครตามรายชื่อที่คณะกรรมการสรรหาสงมา ” แกไขเป็น จัดการประชุมสมาชิกเพื่อรับฟงความคิดเห็น และให้สมาชิกให้ความเห็นชอบหรือไม่ให้ความเห็นชอบตามรายชื่อที่คณะกรรมการสรรหาสงมา ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่คณะกรรมการกําหนด นอกจากนี้ ยังแกไขวิธีการดําเนินการในมาตรา 50 (4) จากเดิมที่บัญญัติวา “ การประชุมสาขาพรรคการเมืองต้องมีสมาชิกมาประชุมไม่นอยกวาหนึ่งรอยคน หรือการประชุมตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัดต้องมีสมาชิกมาประชุมไม่นอยกวาหาสิบคน โดยในการลงคะแนนให้สมาชิกมีสิทธิลงคะแนนเลือกได้หนึ่งคน และเมื่อลงคะแนนเลือกเสร็จสิ้นแล้ว ให้นับคะแนนและประกาศผลการนับคะแนนของสาขาพรรคการเมืองหรือตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัด ในเขตเลือกตั้งนั้น แล้วรายงานรายชื่อผู้สมัครซึ่งได้รับคะแนนลําดับสูงสุดสองลําดับแรกให้คณะกรรมการสรรหาโดยเร็ว ในกรณีที่มีผู้มีคะแนนเทากันมากกวาจํานวนดังกลาว ให้เป็นอํานาจของคณะกรรมการสรรหา ในการจัดเรียงลําดับ ” แกไขเป็น ให้สาขาพรรคการเมืองหรือตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัด สงรายชื่อผู้สมัครในแต่ละเขตเลือกตั้งทั้งที่ได้รับความเห็นชอบและไม่ได้รับความเห็นชอบ พรอมความคิดเห็นตาม (3) ให้คณะกรรมการสรรหาเพื่อพิจารณาเสนอความคิดเห็น และแกไขวิธีการ ดําเนินการในมาตรา 50 (5) จากเดิมที่บัญญัติวา “ ให้คณะกรรมการสรรหาสงรายชื่อผู้สมัคร ซึ่งได้รับคะแนนของแต่ละเขตเลือกตั้งให้คณะกรรมการบริหารพรรคการเมืองพิจารณาให้ความเห็นชอบ โดยพิจารณาจากผู้มีคะแนนสูงสุดของแต่ละเขตเลือกตั้ง… ” แกไขเป็น ให้คณะกรรมการสร รหา สงรายชื่อผู้สมัครของแต่ละเขตเลือกตั้งพรอมความคิดเห็นตาม (3) และ (4) ให้คณะกรรมการบริหาร พรรคการเมืองเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคลที่จะเสนอให้เป็นผู้สมัครรับเลือกตั้ง การแกไขราง มาตรา 9 ดังกลาว เป็นการแกไขการสรรหาผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้ง โดยให้สาขาพรรคการเมืองหรือตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัดจัดการประชุมสมาชิกเพื่อรับฟงความคิดเห็น และให้สมาชิกให้ความเห็นชอบหรือไม่ให้ความเห็นชอบตามรายชื่อที่คณะกรรมการสรรหาสงมา โดยที่ประชุมสาขาพรรคการเมืองหรือตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัดไม่มีสิทธิลงคะแนนเลือกผู้สมัคร และไม่ต้องจัดทํารายงานรายชื่อผู้สมัครที่ได้รับคะแนนสูงสุดสองลําดับแรกให้คณะกรรมการบริหารพรรคการเมือง เป็นผู้พิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคลที่จะเสนอให้เป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สวนรางมาตรา 10 แกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 ้ หนา 31 ่ เลม 139 ตอนที่ 77 ก ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

มาตรา 51 จากเดิมที่บัญญัติเกี่ยวกับการกําหนดหลักเกณฑการสรรหาผู้สมัครรับเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อไวในทํานองเดียวกันกับการสรรหาผู้สมัครรับเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้งตามมาตรา 50 แกไขเป็น ให้หัวหน้าสาขาพรรคการเมือง หรือตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัด จัดการประชุมสมาชิกเพื่อรับฟงความคิดเห็นและให้สมาชิก ให้ความเห็นชอบหรือไม่ให้ความเห็นชอบตามรายชื่อที่คณะกรรมการสรรหาสงมา โดยที่ ประชุม สาขาพรรคการเมืองหรือตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัดไม่มีสิทธิลงคะแนนเลือกผู้สมัคร และไม่ต้องจัดทํารายงานเรียงลําดับคะแนน โดยให้คณะกรรมการบริหารพรรคการเมืองเป็นผู้พิจารณา ให้ความเห็นชอบบุคคลที่เหมาะสมเป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ และให้คณะกรรมการบริหารพรรคการเมืองเป็นผู้จัดลําดับตามที่เห็นเหมาะสมโดยตัดอํานาจการมีสวนรวม ของสมาชิกพรรคการเมืองในสวนนี้ทั้งหมด รางมาตรา 9 และรางมาตรา 10 จึงขัดต่อเจตนารมณ ของรัฐธรรมนูญ ที่ประสงคเปดโอกาสให้สมาชิกพรรคการเมืองมีสวนรวมและรับผิดชอบในการสงผู้สมัครรับเลือกตั้ง การจัดทําบัญชีรายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งอยางชัดเจนและเป็นรูปธรรมตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 45 มาตรา 90 และมาตรา 258 ก. ดานการเมือง (2) นอกจากนี้ การแกไขเพิ่มเติมรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 3 มาตรา 4 มาตรา 5 มาตรา 6 มาตรา 7 มาตรา 9 และมาตรา 10 เป็นการแกไขเกินขอบเขตของรัฐธรรมนูญ มาตรา 83 มาตรา 86 และมาตรา 91 บิดเบือนเจตนารมณ ของพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 ที่เป็นกลไกในการปฏิรูป พรรคการเมือง ดังนั้น รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 3 มาตรา 4 มาตรา 5 มาตรา 6 มาตรา 7 มาตรา 9 และมาตรา 10 จึงขัดหรือแยงต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 4 5 มาตรา 83 มาตรา 86 มาตรา 90 มาตรา 91 และมาตรา 258 ก. ดานการเมือง (2) และตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ ผู้รองตรวจสอบลายมือชื่อของสมาชิกรัฐสภาผู้เสนอความเห็นแล้วเห็นวา มีสมาชิกรัฐสภารวมกัน เขาชื่อเสนอความเห็นจํานวนไม่นอยกวาหนึ่งในสิบของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยู่ของทั้งสองสภา ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 148 วรรคหนึ่ง (1) ประกอบมาตรา 132 จึงสงความเห็นเพื่อขอให้ ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย ้ หนา 32 ่ เลม 139 ตอนที่ 77 ก ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

ประเด็นที่ศาลรัฐธรรมนูญต้องพิจารณาเบื้องตนมีวา ศาลรัฐธรรมนูญมีอํานาจรับคํารองนี้ไววินิจฉัย ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 148 วรรคหนึ่ง (1) ประกอบมาตรา 132 หรือไม่ เห็นวา ขอเท็จจริง ตามคํารองและเอกสารประกอบคํารองเป็นกรณีที่สมาชิกรัฐสภา จํานวน 77 คน เป็นจํานวน ไม่นอยกวาหนึ่งในสิบของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยู่ของทั้งสองสภาเขาชื่อรองต่อผู้รอง ขอให้สงความเห็นไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยวา รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 3 มาตรา 4 มาตรา 5 มาตรา 6 มาตรา 7 มาตรา 9 และมาตรา 10 มีขอความขัดหรือแยงต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 45 มาตรา 83 มาตรา 86 มาตรา 90 มาตรา 91 และมาตรา 258 ก. ดานการเมือง (2) หรือไม่ และตราขึ้นโดยไม่ถูกต้อง ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ หรือไม่ และผู้รองยื่นคํารองต่อศาลรัฐธรรมนูญแล้ว กรณีเป็นไปตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 148 วรรคหนึ่ง (1) ประกอบมาตรา 132 และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยวิธีพิจารณา ของศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2561 มาตรา 7 (1) ศาลรัฐธรรมนูญจึงมีคําสั่งรับคํารองไวพิจารณาวินิจฉัย และให้ผู้เกี่ยวของ ได้แก ประธานกรรมการการเลือกตั้ง ประธานคณะกรรมาธิการวิสามั ญพิจารณา รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร และเลขาธิการวุฒิสภา จัดทําความเห็นเป็นหนังสือ และสงเอกสารต่อศาลรัฐธรรมนูญ สรุปสาระสําคัญดังนี้ 1. ประธานกรรมการการเลือกตั้ง ให้ความเห็นวา คณะกรรมการการเลือกตั้งพิจารณา รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … ที่รัฐสภาให้ความเห็นชอบ ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 132 (1) แล้ว มีมติเสียงขางมาก (5 : 2) เห็นวารางพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 3 มาตรา 4 มาตรา 5 มาตรา 6 มาตรา 7 มาตรา 9 และมาตรา 10 ไม่มีขอความใดขัดหรือแยงต่อรัฐธรรมนูญ หรือทําให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ให้ถูกต้องตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญได้ และเป็นการแกไขกฎหมาย เกี่ยวกับพรรคการเมืองเพื่อให้สะดวกต่อการปฏิบัติงานของพรรคการเมืองเทานั้น สวนกรรมการการเลือกตั้ง เสียงขางนอย เห็นวา รางมาตรา 9 และรางมาตรา 10 ขัดหรือแยงต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 45 มาตรา 90 และมาตรา 258 ก. ดานการเมือง (2) เนื่องจากสมาชิกพรรคการเมืองไม่มีสวนรวม และมีความรับผิดชอบอยางแทจริงในการคัดเลือกผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 258 ก. (2) และมาตรา 90 วรรคสาม ้ หนา 33 ่ เลม 139 ตอนที่ 77 ก ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

  1. ประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณารางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … ให้ความเห็นวา คณะกรรมาธิการวิสามัญ มีความเห็นรวมกันวาการพิจารณารางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … ยึดโยงกับการแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ มาตรา 83 มาตรา 86 และมาตรา 91 โดยให้ความสําคัญแกการใชสิทธิของประชาชนที่มีอุดมการณทางการเมืองเดียวกันสามารถรวมกัน เพื่อจัดตั้งพรรคการเมืองได้งาย สมาชิกพรรคการเมืองมีสวนรวมและมีความรับผิดชอบอยางแทจริง ในการดําเนินกิจกรรมทางการเมือง และสงเสริมให้พรรคการเมืองมีกลไกการขับเคลื่อนการมีสวนรวม ของสมาชิกพรรคการเมืองในการดําเนินกิจกรรมของพรรคการเมือง การสนับสนุนจากประชาชน ในจํานวนที่เหมาะสมที่ดํารงความเป็นพรรคการเมือง และวางระบบการสรรหาบุคคลมาทําหน้าที่ ในพรรคการเมืองเพื่อให้พรรคการเมืองเป็นของประชาชนอยางแทจริง ซึ่งยังคงเจตนารมณของรัฐธรรมนูญ มาตรา 45 และมาตรา 258 ก. ดานการเมือง (2) และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 ตามรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญทั้ง 7 มาตราดังกลาว ดังนี้ 1) การที่รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 3 และรางมาตรา 4 แกไขเพิ่มเติมโดยปรับลดอัตราคาธรรมเนียมและคาบํารุงพรรคการเมือง แบบรายปและแบบตลอดชีพ เพื่อไม่ให้สรางภาระต่อประชาชนที่เป็นสมาชิกพรรคการเมืองมากเกินไป สามารถชําระคาธรรมเนียมด้วยตนเอง สอดคลองกับการให้ความสําคัญกับการมีสวนรวมของสมาชิกพรรคการเมือง โดยปราศจากการแทรกแซงของกลุ่มทุนของพรรคการเมือง เพื่อให้พรรคการเมืองขนาดเล็กสามารถรณรงค หาสมาชิกพรรคการเมืองไม่ยากจนเกินไปและสามารถกอตั้งพรรคการเมืองขึ้นใหม หากมีนายทุนพรรคการเมือง หรือกรรมการบริหารพรรคการเมืองเป็นผู้จายแทนสมาชิกเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนหรือจูงใจให้สมัครเป็น สมาชิกพรรคการเมืองจะเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 มาตรา 30 และมาตรา 109 2) รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 5 แกไขเพิ่มเติมเกี่ยวกับคุณสมบัติและลักษณะต้องหามของสมาชิกพรรคการเมือง เพื่อสรางหลักประกันแกพรรคการเมืองที่บุคคลที่มีศักยภาพ มีคุณธรรม มีความประพฤติดีจะเขามาเป็น สมาชิกพรรคการเมือง ขจัดกลุ่มคนไม่ดีออกจากระบบการเมือง โดยคณะกรรมาธิการแบงระดับความเขมขน ้ หนา 34 ่ เลม 139 ตอนที่ 77 ก ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

ของคุณสมบัติและลักษณะต้องหามการดํารงตําแหนงในพรรคการเมืองออกเป็น 3 ระดับ คือ ผู้จัดตั้ง พรรคการเมือง กรรมการบริหารพรรคการเมือง และสมาชิกพรรคการเมือง ซึ่งยังคงหลักการ ในเรื่อง การกําหนดคุณสมบัติและลักษณะต้องหามของสมาชิกพรรคการเมืองแบบเดียวกับที่บัญญัติ ไวในมาตรา 24 แต่ปรับปรุงบทบัญญัติเกี่ยวกับคุณสมบัติและลักษณะต้องหามของผู้ที่จะสมัครเป็น สมาชิกพรรคการเมือง โดยไม่เป็นการจํากัดสิทธิในการเขาเป็นสมาชิกพรรคการเมืองมากเกินไป เนื่องจากมาตรา 24 กําหนดคุณสมบัติและลักษณะต้องหามของสมาชิกพรรคการเมืองเทียบเทา กับกรรมการบริหารพรรคการเมืองแตกตางกันเพียงอายุ เป็นการกําหนดที่สูงเกิน เมื่อเปรียบเทียบ กับหน้าที่และอํานาจของกรรมการบริหารพรรคการเมืองที่มีบทบาทในพรรคการเมืองแตกตางกัน เป็นอยางมาก จึงกําหนดคุณสมบัติและลักษณะต้องหามของสมาชิกพรรคการเมืองให้แตกตาง จากกรรมการบริหารพรรคการเมือง โดยแยกการกระทําความผิดตามที่กําหนดในรัฐธรรมนูญ มาตรา 98 (10) ออกเป็นสองกลุ่มตามระดับความรายแรงของการกระทําความผิด คือ กลุ่มที่หนึ่ง เป็นผู้เคยต้องคําพิพากษาอันถึงที่สุดวากระทําความผิดต่อตําแหนงหน้าที่ราชการหรือต่อตําแหนงหน้าที่ ในการยุติธรรม หรือกระทําความผิดตามกฎหมายวาด้วยความผิดของพนักงานในองคการหรือหนวยงานของรัฐ หรือความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ที่กระทําโดยทุจริตตามประมวลกฎหมายอาญา โดยบุคคลที่กระทําความผิดดังกลาว ยังสามารถสมัครเป็นสมาชิกพรรคการเมืองได้ หากต้องคําพิพากษาอันถึงที่สุดให้จําคุก แต่ศาลรอการลงโทษ และกลุ่มที่สอง เป็นผู้เคยต้องคําพิพากษาอันถึงที่สุดวากระทําความผิดตามกฎหมายวาด้วยการกูยืมเงิน ที่เป็นการฉอโกงประชาชน กฎหมายวาด้วยยาเสพติดในความผิดฐานเป็นผู้ผลิต นําเขา สงออก หรือผู้คา กฎหมายวาด้วยการพนันในความผิดฐานเป็นเจ้ามือหรือเจ้าสํานัก กฎหมายวาด้วยการปองกัน และปราบปรามการคามนุษย หรือกฎหมายวาด้วยการปองกันและปราบปรามการฟอกเงินในความผิดฐานฟอกเงิน โดยบุคคลที่กระทําความผิดดังกลาวไม่สามารถสมัครเป็นสมาชิกพรรคการเมืองได้ตลอดชีวิต เนื่องจาก เป็นความผิดที่รายแรง จึงไม่ควรเปดโอกาสให้บุคคลที่กระทําความผิดดังกลาวเขามาเป็นสมาชิกพรรคการเมือง 3) รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 6 แกไขเพิ่มเติมเกี่ยวกับการแต่งตั้งตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัด เพื่อให้เป็นตัวแทน ของประชาชนในการสรรหาผู้สมัครรับเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งตามหลักการมีสวนรวมของประชาชนอยางแทจริง และเป็นการขยายสิทธิการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนมากขึ้น ้ หนา 35 ่ เลม 139 ตอนที่ 77 ก ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

  1. รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 7 เกี่ยวกับเงื่อนไขของพรรคการเมืองที่สงผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้ง มีเจตนารมณ สงเสริมให้พรรคการเมืองมีกลไกขับเคลื่อนการมีสวนรวมของสมาชิกพรรคการเมืองในการสรรหา ผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในเขตเลือกตั้งในจังหวัด หากจังหวัดใดพรรคการเมือง มีสาขาพรรคการเมืองเพียงแห่งเดียว หรือมีตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัดนั้นเพียงหนึ่งตัวแทน พรรคการเมืองสามารถดําเนินการสรรหาผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้ง ทุกเขตเลือกตั้งในจังหวัดนั้น และยังเป็นการขยายสิทธิให้แกสมาชิกพรรคการเมืองพิจารณาสรรหา ผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในเขตจังหวัดนั้นทุกเขตเลือกตั้ง มิได้จํากัดเฉพาะเขตเลือกตั้ง ที่สมาชิกมีภูมิลําเนาอยู่ในเขตเลือกตั้งเทานั้น 5) รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 9 แกไขเพิ่มเติมเกี่ยวกับกระบวนการสรรหาผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบแบงเขตเลือกตั้ง และรางมาตรา 10 แกไขเพิ่มเติมเกี่ยวกับกระบวนการสรรหาผู้สมัครรับเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ยังคงให้ความสําคัญกับการมีสวนรวมของสมาชิกพรรคการเมือง ในการเสนอความเห็นและให้ความเห็นชอบรายชื่อบุคคลที่จะลงสมัครรับเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้ง และแบบบัญชีรายชื่อ สวนกรณีที่เปลี่ยนวิธีการจากการที่สมาชิกพรรคการเมืองจาก “ ลงมติ ” แกไขเป็น “ ให้ความเห็นชอบ ” เพื่อลดขั้นตอนการดําเนินการของพรรคการเมืองในการสรรหาผู้สมัครรับเลือกตั้ง เนื่องจากการลงมติจะต้องจัดให้มีการประชุมสมาชิก ซึ่งมีขั้นตอนในการดําเนินการหลายขั้นตอน รวมทั้งต้องใชงบประมาณในการดําเนินการอันสงผลกระทบต่อพรรคการเมือง 3. เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรสงเอกสารเกี่ยวกับการพิจารณารางพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … ของรัฐสภา สรุปสาระสําคัญ การพิจารณาได้วา รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 3 และรางมาตรา 4 เป็นการแกไขเพิ่มเติมเพื่อชวยแกไขปญหากรณีสมาชิกพรรคการเมือง ไม่ชําระคาบํารุงพรรคการเมืองเป็นเวลาสองปติดต่อกัน ทําให้สมาชิกภาพของสมาชิกพรรคการเมืองสิ้นสุดลง อัตราดังกลาวถือเป็นอัตราที่เหมาะสม ไม่เป็นภาระแกประชาชน และทําให้สมาชิกพรรคการเมือง มีสวนรวมและมีความรับผิดชอบต่อพรรคการเมือง เป็นการเสริมสรางให้พรรคการเมืองมีความเขมแข็ง ้ หนา 36 ่ เลม 139 ตอนที่ 77 ก ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

อยางแทจริง สวนการแกไขเพิ่มเติมรางมาตรา 5 เนื่องจากคุณสมบัติและลักษณะต้องหามของผู้สมัครรับเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกพรรคการเมืองสามารถกําหนดไวให้แตกตางกันได้ การแกไขเพิ่มเติม รางมาตรา 6 เนื่องจากพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 กําหนดให้พรรคการเมืองจะต้องจัดตั้งสาขาพรรคการเมืองและมีโทษหากไม่ปฏิบัติตาม แต่การดําเนินการประชุมสมาชิกพรรคการเมืองมีคาใชจายที่พรรคการเมืองต้องรับภาระ การเสนอให้มี ตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัด เนื่องจากเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมักมีการเปลี่ยนแปลง เพื่อแกไขปญหาดังกลาว จึงกําหนดให้ใชเขตจังหวัดเป็นกรอบในการกําหนดตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัด ซึ่งต้องมาจากการเลือกของสมาชิกพรรคการเมืองในจังหวัด โดยมีจํานวนตามที่พรรคการเมืองเห็นสมควร เพื่อดําเนินกิจกรรมของพรรคการเมืองในจังหวัด และสะทอนการมีสวนรวมของประชาชนในพื้นที่ ในการสงผู้สมัครรับเลือกตั้ง สําหรับการแกไขเพิ่มเติมรางมาตรา 7 เพื่อแกไขปญหาในทางปฏิบัติ กรณีที่พรรคการเมืองแต่ละพรรคจะต้องมีการตั้งตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัดในทุกเขตเลือกตั้ง ที่ประสงคจะสงผู้สมัครรับเลือกตั้ง การแกไขเพิ่มเติมรางมาตรา 9 เนื่องจากเห็นวาคณะกรรมการสรรหา ผู้สมัครรับเลือกตั้งประกอบด้วยตัวแทนของภาคประชาชนที่เป็นสมาชิกพรรคการเมืองมีจํานวนที่มากกวา คณะกรรมการบริหารพรรคการเมือง และคณะกรรมการสรรหามีที่มาจากการเลือกของสมาชิกพรรคการเมือง ที่รวมประชุมในที่ประชุมใหญพรรคการเมือง สมาชิกพรรคการเมืองจึงมีสวนรวมในการคัดเลือก ผู้สมัครรับเลือกตั้งอยางกวางขวางตามรัฐธรรมนูญแล้ว ปจจุบันพนกําหนดระยะเวลาหาป ในการดําเนินการปฏิรูปประเทศไปแล้ว ไม่ควรนํารัฐธรรมนูญ มาตรา 258 ก. ดานการเมือง มาใชเป็นหลักอางอิงเกี่ยวกับการกําหนดให้สมาชิกพรรคการเมืองมีสวนรวมในการคัดเลือกผู้สมัครรับเลือกตั้ง การคัดเลือกผู้สมัครรับเลือกตั้งควรกําหนดให้พรรคการเมืองจะต้องเป็นผู้ดําเนินการอยางเป็นอิสระ การแกไขเพิ่มเติมรางมาตรา 10 เพื่อให้กระบวนการเสนอรายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อเกิดความหลากหลาย รวมทั้งพรรคการเมืองสามารถเสนอรายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้ง แบบบัญชีรายชื่อครอบคลุมทั้งประเทศ การกําหนดให้กรรมการบริหารพรรคการเมืองสามารถเสนอรายชื่อ ผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ เป็นการให้สิทธิกรรมการบริหารพรรคการเมืองแต่ละคน ในการพิจารณาเสนอรายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้ง มิใชการเสนอโดยมติของที่ประชุมคณะกรรมการบริหาร พรรคการเมือง จึงไม่เกิดปญหาการขัดกันแห่งผลประโยชนในการทําหน้าที่ของกรรมการบริหารพรรคการเมือง ้ หนา 37 ่ เลม 139 ตอนที่ 77 ก ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

พิจารณาเสนอรายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งกับการทําหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารพรรคการเมือง พิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคลที่เหมาะสมเป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ 4. เลขาธิการวุฒิสภาสงเอกสารเกี่ยวกับการพิจารณาพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ สรุปสาระสําคัญการพิจารณาได้วา มาตรา 15 วรรคหนึ่ง (15) กําหนดอัตราคาธรรมเนียมและคาบํารุงพรรคการเมือง มีวัตถุประสงค ให้สมาชิกพรรคการเมืองมีสวนรวมทางการเมืองตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 45 และกําหนดขึ้น ตามมาตรา 258 ก. ดานการเมือง (2) เพื่อให้สมาชิกพรรคการเมืองมีสวนรวมและมีความรับผิดชอบ อยางแทจริงในการดําเนินกิจกรรมทางการเมือง มาตรา 24 เป็นกรณีที่นําคุณสมบัติ และลักษณะต้องหามมิให้ใชสิทธิสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบางประการมาเป็นคุณสมบัติ และลักษณะต้องหามของสมาชิกพรรคการเมือง ซึ่งเป็นกลไกพื้นฐานในการคัดสรรบุคคล และเป็นการพัฒนาการมีสวนรวมของสมาชิกพรรคการเมืองให้ได้สมาชิกที่สามารถมีสวนรวม ซึ่งรวมไปถึงการลงสมัครรับเลือกตั้งด้วย สําหรับมาตรา 35 ที่กําหนดให้มีตัวแทนพรรคการเมือง ประจําจังหวัด ซึ่งในอดีตการจัดตั้งสาขาพรรคการเมืองทําได้ยาก เนื่องจากมีคาใชจายสูง ถาพรรคการเมือง มีสมาชิกพรรคในจังหวัดตาง ๆ เป็นจํานวนมาก ก็สามารถรวมตัวกันในจังหวัดเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นได้ จึงกําหนดให้มีกลไกใหมโดยให้มีตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัด ซึ่งไม่จําเป็นต้องมีสํานักงาน เหมือนกับสาขาพรรคการเมือง แต่ให้ตั้งตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัดเพื่อดูแลสมาชิกพรรคการเมือง ในจังหวัดนั้น และเป็นตัวแทนของสมาชิกพรรคการเมืองในจังหวัดนั้นเขารวมประชุมใหญสามัญประจําป ของพรรคการเมือง และเป็นกรรมการสรรหาผู้สมัครรับเลือกตั้งในนามพรรคการเมืองนั้น สวนกรณีที่กําหนด ให้เขตเลือกตั้งใดมีจํานวนสมาชิกพรรคการเมืองเกินหนึ่งรอยคน ให้มีการเลือกสมาชิกเป็นตัวแทนพรรคการเมือง ประจําจังหวัด เพื่อใชเป็นฐานให้สมาชิกพรรคการเมืองเลือกผู้สมัครรับเลือกตั้งของพรรคการเมือง กลไกดังกลาวทําให้บทบาทและนโยบายของพรรคการเมืองสามารถไปสูประชาชนกวางขวางมากขึ้น สมาชิกพรรคการเมืองสามารถมีสวนรวมในกิจกรรมพรรคการเมืองได้ มาตรา 47 กําหนดเงื่อนไข ของพรรคการเมืองที่จะสงผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้ง ต้องมีสาขาพรรคการเมือง หรือตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัดที่มีเขตรับผิดชอบในการเลือกตั้ง และให้พรรคการเมือง สงผู้สมัครรับเลือกตั้งจากผู้ซึ่งได้รับเลือกจากสาขาพรรคการเมืองหรือตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัดนั้น ้ หนา 38 ่ เลม 139 ตอนที่ 77 ก ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

เพื่อเป็นการปฏิรูปพรรคการเมืองโดยประชาชนมีสวนรวมอยางแทจริง มาตรา 50 กําหนดหลักเกณฑ การสรรหาผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้ง และมาตรา 51 กําหนดหลักเกณฑการสรรหาผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ เพื่อให้เป็นไป ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 258 ก. ดานการเมือง (2) ที่กําหนดให้ต้องมีกระบวนการคัดเลือก ผู้สมัครรับเลือกตั้งที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม และเป็นไปตามที่คณะกรรมาธิการสภาขับเคลื่อน การปฏิรูปประเทศดานการเมืองของสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศเสนอแนวทางการสงผู้สมัคร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้งและแบบบัญชีรายชื่อ โดยการเริ่มตนให้ผู้สมัคร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้รับการคัดเลือกจากสมาชิกผู้มีภูมิลําเนาในเขตเลือกตั้งนั้น ซึ่งเขตใดที่มี สาขาพรรคการเมืองหรือตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัดจะต้องมีการจัดการเลือกตั้งผู้สมัคร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในเขตนั้น กอนสงรายชื่อไปยังคณะกรรมการสรรหาของพรรคการเมือง ดําเนินการแล้วสงต่อไปยังคณะกรรมการบริหารพรรคการเมืองเพื่อให้ความเห็นชอบ ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาคํารอง ความเห็นของผู้เกี่ยวของ และเอกสารประกอบแล้วเห็นวา คดีเป็นปญหาขอกฎหมายและมีพยานหลักฐานเพียงพอที่จะพิจารณาวินิจฉัยได้ จึงยุติการไตสวน ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2561 มาตรา 58 วรรคหนึ่ง และในสวนที่ผู้รองขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยวา รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … ตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนั้น ผู้เขาชื่อเสนอความเห็นมิได้ระบุรายละเอียดขอเท็จจริงพรอมเหตุผลสนับสนุนให้ชัดแจงวารางพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญดังกลาวตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญอยางไร จึงไม่รับวินิจฉัยในสวนนี้ ศาลรัฐธรรมนูญกําหนดประเด็นที่ต้องพิจารณาวินิจฉัยวา รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 3 มาตรา 4 มาตรา 5 มาตรา 6 มาตรา 7 มาตรา 9 และมาตรา 10 มีขอความขัดหรือแยงต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 45 มาตรา 83 มาตรา 86 มาตรา 90 มาตรา 91 และมาตรา 258 ก. ดานการเมือง (2) หรือไม่ พิจารณาแล้วเห็นวา รัฐธรรมนูญ มาตรา 45 เป็นบทบัญญัติในหมวด 3 สิทธิและเสรีภาพ ของปวงชนชาวไทย มาตรา 45 วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “ บุคคลยอมมีเสรีภาพในการรวมกันจัดตั้ง พรรคการเมืองตามวิถีทางการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเป็นประมุข ้ หนา 39 ่ เลม 139 ตอนที่ 77 ก ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

ตามที่กฎหมายบัญญัติ ” วรรคสอง บัญญัติวา “ กฎหมายตามวรรคหนึ่งอยางนอยต้องมีบทบัญญัติ เกี่ยวกับการบริหารพรรคการเมือง ซึ่งต้องกําหนดให้เป็นไปโดยเปดเผยและตรวจสอบได้ เปดโอกาสให้สมาชิก มีสวนรวมอยางกวางขวางในการกําหนดนโยบายและการสงผู้สมัครรับเลือกตั้ง และกําหนดมาตรการ ให้สามารถดําเนินการโดยอิสระไม่ถูกครอบงําหรือชี้นําโดยบุคคลซึ่งมิได้เป็นสมาชิกของพรรคการเมืองนั้น รวมทั้งมาตรการกํากับดูแลมิให้สมาชิกของพรรคการเมืองกระทําการอันเป็นการฝาฝนหรือไม่ปฏิบัติ ตามกฎหมายเกี่ยวกับการเลือกตั้ง ” มาตรา 83 มาตรา 86 มาตรา 90 และมาตรา 91 เป็นบทบัญญัติในหมวด 7 รัฐสภา สวนที่ 2 สภาผู้แทนราษฎร มาตรา 83 วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “ สภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วยสมาชิกจํานวนหารอยคน โดยเป็นสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้ง แบบแบงเขตเลือกตั้งจํานวนสี่รอยคน และสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อจํานวนหนึ่งรอยคน ” วรรคสอง บัญญัติวา “ การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรให้ใชวิธีออกเสียงลงคะแนนโดยตรงและลับ โดยให้ใชบัตรเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบละหนึ่งใบ ” วรรคสาม บัญญัติวา “ ในกรณีที่ ตําแหนงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรวางลงไม่วาด้วยเหตุใด และยังไม่มีการเลือกตั้งหรือประกาศชื่อ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรขึ้นแทนตําแหนงที่วาง ให้สภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เทาที่มีอยู่ ” วรรคสี่ บัญญัติวา “ ในกรณีมีเหตุใด ๆ ที่ทําให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ มีจํานวนไม่ถึงหนึ่งรอยคน ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อประกอบด้วยสมาชิกเทาที่มีอยู่ ” มาตรา 86 บัญญัติวา “ การกําหนดจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่แต่ละจังหวัดจะพึงมี และการแบงเขตเลือกตั้ง ให้ดําเนินการตามวิธีการ ดังต่อไปนี้ (1) ให้ใชจํานวนราษฎรทั้งประเทศ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎรที่ประกาศในปสุดทายกอนปที่มีการเลือกตั้ง เฉลี่ยด้วยจํานวน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสี่รอยคน จํานวนที่ได้รับให้ถือวาเป็นจํานวนราษฎรต่อสมาชิกหนึ่งคน (2) จังหวัดใดมีราษฎรไม่ถึงเกณฑจํานวนราษฎรต่อสมาชิกหนึ่งคนตาม (1) ให้มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในจังหวัดนั้นได้หนึ่งคน โดยให้ถือเขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง (3) จังหวัดใดมีราษฎรเกินจํานวนราษฎร ต่อสมาชิกหนึ่งคน ให้มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในจังหวัดนั้นเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งคนทุกจํานวนราษฎร ที่ถึงเกณฑจํานวนราษฎรต่อสมาชิกหนึ่งคน (4) เมื่อได้จํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของแต่ละจังหวัด ตาม (2) และ (3) แล้ว ถาจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรยังไม่ครบสี่รอยคน จังหวัดใดมีเศษ ที่เหลือจากการคํานวณตาม (3) มากที่สุด ให้จังหวัดนั้นมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งคน และให้เพิ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามวิธีการดังกลาวแกจังหวัดที่มีเศษที่เหลือจากการคํานวณนั้น ้ หนา 40 ่ เลม 139 ตอนที่ 77 ก ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

ในลําดับรองลงมาตามลําดับจนครบจํานวนสี่รอยคน (5) จังหวัดใดมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ได้เกินหนึ่งคน ให้แบงเขตจังหวัดออกเป็นเขตเลือกตั้งเทาจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่พึงมี โดยต้องแบงพื้นที่ของเขตเลือกตั้งแต่ละเขตให้ติดต่อกันและต้องจัดให้มีจํานวนราษฎรในแต่ละเขตใกลเคียงกัน ” มาตรา 90 วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “ พรรคการเมืองใดสงผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้งแล้ว ให้มีสิทธิสงผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อได้ ” วรรคสอง บัญญัติวา “ การสงผู้สมัครรับเลือกตั้ง แบบบัญชีรายชื่อ ให้พรรคการเมืองจัดทําบัญชีรายชื่อพรรคละหนึ่งบัญชี โดยผู้สมัครรับเลือกตั้ง ของแต่ละพรรคการเมืองต้องไม่ซ้ํากัน และไม่ซ้ํากับรายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้ง โดยสงบัญชีรายชื่อดังกลาวให้คณะกรรมการการเลือกตั้งกอนปดการรับสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบแบงเขตเลือกตั้ง ” วรรคสาม บัญญัติวา “ การจัดทําบัญชีรายชื่อตามวรรคสอง ต้องให้สมาชิก ของพรรคการเมืองมีสวนรวมในการพิจารณาด้วย โดยต้องคํานึงถึงผู้สมัครรับเลือกตั้งจากภูมิภาคตาง ๆ และความเทาเทียมกันระหวางชายและหญิง ” มาตรา 91 วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “ การคํานวณสัดสวน ผู้สมัครรับเลือกตั้งตามบัญชีรายชื่อของแต่ละพรรคการเมืองที่จะได้รับเลือกตั้ง ให้นําคะแนนที่แต่ละพรรคการเมือง ได้รับการเลือกตั้งมารวมกันทั้งประเทศแล้วคํานวณเพื่อแบงจํานวนผู้ที่จะได้รับเลือกของแต่ละพรรคการเมือง เป็นสัดสวนที่สัมพันธกันโดยตรงกับจํานวนคะแนนรวมขางตน โดยให้ผู้สมัครรับเลือกตั้งซึ่งมีรายชื่อ ในบัญชีรายชื่อของแต่ละพรรคการเมืองได้รับเลือกตามเกณฑคะแนนที่คํานวณได้เรียงตามลําดับหมายเลข ในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองนั้น ” วรรคสอง บัญญัติวา “ หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไข ในการสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ การออกเสียงลงคะแนน การนับคะแนน การรวมคะแนน การประกาศผลการเลือกตั้ง และการอื่นที่เกี่ยวของ ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ” และมาตรา 258 เป็นบทบัญญัติ ในหมวด 16 การปฏิรูปประเทศ โดยบัญญัติวา “ ให้ดําเนินการปฏิรูปประเทศอยางนอยในดานตาง ๆ ให้เกิดผล ดังต่อไปนี้ ก. ดานการเมือง… (2) ให้การดําเนินกิจกรรมของพรรคการเมืองเป็นไป โดยเปดเผยและตรวจสอบได้ เพื่อให้พรรคการเมืองพัฒนาเป็นสถาบันทางการเมืองของประชาชน ซึ่งมีอุดมการณทางการเมืองรวมกัน มีกระบวนการให้สมาชิกพรรคการเมืองมีสวนรวมและมีความรับผิดชอบ อยางแทจริงในการดําเนินกิจกรรมทางการเมืองและการคัดเลือกผู้มีความรูความสามารถ ซื่อสัตยสุจริต และมีคุณธรรมจริยธรรม เขามาเป็นผู้ดํารงตําแหนงทางการเมืองที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม… ” ้ หนา 41 ่ เลม 139 ตอนที่ 77 ก ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มีเหตุผล ในการตราดังนี้ “ โดยที่บทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2564 กําหนดให้สภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจํานวนหารอยคน โดยมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งมาจากการเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้งจํานวนสี่รอยคน และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งมาจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อจํานวนหนึ่งรอยคน และให้มีบัตรเลือกตั้งสองใบ ที่ให้ประชาชนมีสิทธิในการเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง และผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบงเขต การกําหนดจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ที่แต่ละจังหวัดจะพึงมีและการแบงเขตเลือกตั้ง การคํานวณสัดสวนผู้สมัครรับเลือกตั้งตามบัญชีรายชื่อ ของแต่ละพรรคการเมืองที่จะได้รับเลือกตั้งที่เป็นธรรมต่อพรรคการเมืองและเคารพสิทธิและเสียง ของประชาชน จึงสมควรแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 ในสวนที่เกี่ยวของกับคาธรรมเนียมและคาบํารุงพรรคการเมือง การสงผู้สมัครรับเลือกตั้ง การสรรหาผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้งและแบบบัญชีรายชื่อ จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญนี้ ” กรณีรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 3 ให้ยกเลิกความใน (15) ของวรรคหนึ่งของมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 และให้ใชความต่อไปนี้แทน “(15) รายได้ของพรรคการเมือง และอัตราคาธรรมเนียมและคาบํารุงพรรคกา รเมือง ซึ่งต้องเรียกเก็บจากสมาชิกไม่นอยกวาปละยี่สิบบาท ” และรางมาตรา 4 ให้ยกเลิกความในวรรคสี่ของมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 และให้ใชความต่อไปนี้แทน “ พรรคการเมืองอาจกําหนดให้เรียกเก็บคาบํารุงพรรคการเมืองจากสมาชิกแบบตลอดชีพ ตามอัตราที่กําหนดในขอบังคับก็ได้ แต่ต้องไม่นอยกวาสองรอยบาท ” ผู้เขาชื่อเสนอความเห็นกลาวอางวา รางมาตรา 3 ที่ปรับลดอัตราคาธรรมเนียมและคาบํารุงพรรคการเมือง ซึ่งต้องเรียกเก็บจากสมาชิกพรรคการเมืองจากปละไม่นอยกวาหนึ่งรอยบาท เป็นปละไม่นอยกวายี่สิบบาท และรางมาตรา 4 ที่ปรับลดอัตราคาบํารุงพรรคการเมืองจากสมาชิกพรรคการเมืองแบบตลอดชีพ ้ หนา 42 ่ เลม 139 ตอนที่ 77 ก ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

จากไม่นอยกวาสองพันบาท เป็นไม่นอยกวาสองรอยบาท ทําให้เกิดการจางคนเขาไปเป็นสมาชิกพรรคการเมือง โดยกลุ่มทุนออกเงินให้ สงผลให้กลุ่มทุนอาจเขาครอบงําหรือชี้นําพรรคการเมือง ขัดหรือแยงต่อเจตนารมณ ของรัฐธรรมนูญที่ต้องการให้สมาชิกพรรคการเมืองมีสวนรวมในการเป็นเจ้าของพรรคการเมือง และมีความรับผิดชอบที่ตนเป็นสมาชิกพรรคการเมืองนั้น เห็นวา การเรียกเก็บคาธรรมเนียมและคาบํารุง พรรคการเมืองมีจุดประสงคหลักเพื่อให้สมาชิกพรรคการเมืองมีสวนรวมเป็นเจ้าของพรรคการเมือง และมีความรับผิดชอบต่อพรรคการเมืองที่ตนเป็นสมาชิก และเพื่อมิให้มีกลุ่มบุคคลใดกลุ่มบุคคลหนึ่ง เป็นเจ้าของพรรคการเมืองเทานั้น โดยรัฐธรรมนูญมิได้บัญญัติเรื่อง การเก็บคาธรรมเนียมและคาบํารุง พรรคการเมืองไววาจะต้องเก็บในอัตราเทาใด อัตราคาธรรมเนียมและคาบํารุงพรรคการเมืองจะมีจํานวนเทาใด เป็นอํานาจของรัฐสภากําหนดให้เหมาะสมแกสภาพความเป็นจริงของสังคม หากกําหนดสูงเกินไป อาจเป็นเหตุกีดกันประชาชนไม่ให้เขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมพรรคการเมือง การที่รางมาตรา 3 และรางมาตรา 4 กําหนดอัตราคาธรรมเนียมและคาบํารุงพรรคการเมืองที่เรียกเก็บจากสมาชิกพรรคการเมือง เป็นการกําหนดอัตราขั้นต่ําไวในกฎหมาย โดยการปรับลดอัตราคาบํารุงพรรคการเมือง เพื่อไม่เป็นการสรางภาระ ต่อประชาชนที่เป็นสมาชิกพรรคการเมืองมากเกินสมควร โดยกําหนดอัตราที่สามารถชําระคาธรรมเนียม และคาบํารุงพรรคการเมืองได้ด้วยตนเอง ประชาชนจึงเป็นสมาชิกพรรคการเมืองงายขึ้น และมีสวนรวมทางการเมือง กับพรรคการเมืองได้มากขึ้น ทําให้สมาชิกพรรคการเมืองรูสึกวาตนเป็นเจ้าของหรือเป็นสวนหนึ่งของพรรคการเมือง มีความรับผิดชอบต่อการดําเนินกิจกรรมทางการเมืองของพรรคการเมืองอยางแทจริง มีความเป็นอิสระ ไม่ถูกครอบงําหรือชี้นําโดยบุคคลซึ่งมิได้เป็นสมาชิกของพรรคการเมือง และปราศจากการแทรกแซงจากกลุ่มทุน ของพรรคการเมือง หากมีกรณีการจางเพื่อจูงใจให้เป็นสมาชิกพรรคการเมืองตำมที่ผู้เขาชื่อเสนอ ความเห็นกลาวอางนั้น บทบัญญัติในมาตรา 30 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 บัญญัติขอหามมิให้พรรคการเมืองหรือผู้ใดให้ เสนอให้ หรือสัญญาวาจะให้เงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชนอื่นใด ไม่วาโดยทางตรงหรือโดยทางออมเพื่อจูงใจให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดสมัครเขาเป็นสมาชิก ทั้งนี้ เวนแต่สิทธิหรือประโยชนซึ่งบุคคลจะพึงได้รับในฐานะที่เป็นสมาชิก โดยหากผู้ใดฝาฝนบทบัญญัติดังกลาว มาตรา 109 วรรคหนึ่ง บัญญัติให้ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหาปหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ และให้ศาลสั่งเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งของผู้นั้นมีกําหนดหาป เห็นได้วา บทบัญญัติแห่งกฎหมาย ได้กําหนดให้มีมาตรการกํากับควบคุมมิให้มีการจางเพื่อจูงใจให้เป็นสมาชิกพรรคการเมืองไวแล้ว ้ หนา 43 ่ เลม 139 ตอนที่ 77 ก ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

รางมาตรา 3 และรางมาตรา 4 จึงไม่ขัดต่อเจตนารมณของรัฐธรรมนูญที่ต้องการให้สมาชิกพรรคการเมือง มีสวนรวมในการเป็นเจ้าของพรรคการเมืองและมีความรับผิดชอบที่ตนเป็นสมาชิกพรรคการเมือง อยางแทจริง และไม่มีขอความขัดหรือแยงต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 45 มาตรา 83 มาตรา 86 มาตรา 90 มาตรา 91 และมาตรา 258 ก. ดานการเมือง (2) กรณีรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 5 ให้ยกเลิกความในมาตรา 24 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 และให้ใชความต่อไปนี้แทน “ มาตรา 24 สมาชิกต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องหามตามที่กําหนดในขอบังคับ ซึ่งอยางนอยต้องมีอายุไม่ต่ํากวาสิบแปดป และมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องหาม ดังต่อไปนี้ (1) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ในกรณีเป็นผู้มีสัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติ ต้องได้สัญชาติไทยมาแล้วไม่นอยกวาหาป (2) ไม่เป็นบุคคลต้องหามมิให้ใชสิทธิสมัครรับเลือกตั้งตามมาตรา 98 (1) (2) (4) (5) (6) (7) (8) (9) (11) (14) (16) (17) หรือ (18) ของรัฐธรรมนูญ (3) ไม่เคยต้องคําพิพากษาอันถึงที่สุดให้จําคุกวากระทําความผิดต่อตําแหนงหน้าที่ราชการ หรือต่อตําแหนงหน้าที่ในการยุติธรรม หรือกระทําความผิดตามกฎหมายวาด้วยความผิดของพนักงาน ในองคการหรือหนวยงานของรัฐ หรือความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ที่กระทําโดยทุจริตตามประมวลกฎหมายอาญา เวนแต่เป็นการรอการลงโทษ (4) ไม่เคยต้องคําพิพากษาอันถึงที่สุดให้จําคุกวากระทําความผิดตามกฎหมายวาด้วยการกูยืมเงิน ที่เป็นการฉอโกงประชาชน กฎหมายวาด้วยยาเสพติดในความผิดฐานเป็นผู้ผลิต นําเขา สงออก หรือผู้คา กฎหมายวาด้วยการพนันในความผิดฐานเป็นเจ้ามือหรือเจ้าสํานัก กฎหมายวาด้วยการปองกัน และปราบปรามการคามนุษย หรือกฎหมายวาด้วยการปองกันและปราบปรามการฟอกเงินในความผิด ฐานฟอกเงิน (5) ไม่เป็นสมาชิกของพรรคการเมืองอื่นหรือผู้ยื่นคําขอจดทะเบียนจัดตั้งพรรคการเมืองอื่น ตามมาตรา 11 หรือผู้แจงการเตรียมการจัดตั้งพรรคการเมืองอื่นตามมาตรา 18 ” ้ หนา 44 ่ เลม 139 ตอนที่ 77 ก ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

ผู้เขาชื่อเสนอความเห็นกลาวอางวา รางมาตรา 5 ที่เกี่ยวกับคุณสมบัติและลักษณะต้องหาม ของสมาชิกพรรคการเมือง ทําให้ผู้ที่มีมลทินมัวหมองไม่เหมาะสมเป็นสมาชิกพรรคการเมืองกรณีเคยต้องคําพิพากษา อันถึงที่สุดวากระทําความผิดตามที่บัญญัติไวในมาตรา 24 (3) หากไม่ถึงขั้นถูกจําคุกสามารถเขามาเป็น สมาชิกพรรคการเมืองได้ ขัดต่อเจตนารมณของรัฐธรรมนูญที่ประสงคพัฒนาพรรคการเมืองให้เป็นสถาบัน ทางการเมืองของประชาชนนั้น เห็นวา การแกไขเพิ่มเติมรางมาตรา 5 มีลักษณะเป็นการผอนปรน ลักษณะต้องหามของผู้ที่จะสมัครเขาเป็นสมาชิกพรรคการเมืองให้มีความเครงครัดนอยกวาผู้ที่จะใชสิทธิ สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 98 (10) โดยการกําหนด ลักษณะต้องหามของสมาชิกพรรคการเมืองดังกลาวมีลักษณะเป็นการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล เนื่องจากบุคคลทุกคนมีเสรีภาพในการรวมกันจัดตั้งพรรคการเมืองรวมไปถึงมีสิทธิในการสมัครเขาเป็น สมาชิกพรรคการเมืองตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 45 ที่บัญญัติรับรองสิทธิและเสรีภาพดังกลาว จึงต้องเป็นไปตามหลักความได้สัดสวน พอเหมาะพอควรแกกรณี และไม่กอให้เกิดภาระแกประชาชน เกินสมควรแกเหตุ เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบระหวางเจตนารมณของพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 มาตรา 24 ในการกําหนดลักษณะต้องหามของผู้ที่จะเป็นสมาชิก พรรคการเมืองเพื่อให้ได้สมาชิกพรรคการเมืองที่สุจริต มีคุณธรรมและจริยธรรม กับสิทธิและเสรีภาพ ของบุคคลในการมีสวนรวมในทางการเมืองที่จะต้องสูญเสียไป จะเห็นได้วา การแกไขบทบัญญัติ แห่งกฎหมายดังกลาว โดยกําหนดให้ผู้ที่เคยต้องคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุกวากระทําความผิด ต่อตําแหนงหน้าที่ราชการ หรือต่อตําแหนงหน้าที่ในการยุติธรรม หรือกระทําความผิดตามกฎหมาย วาด้วยความผิดของพนักงานในองคการหรือหนวยงานของรัฐ หรือความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ที่กระทําโดยทุจริต ตามประมวลกฎหมายอาญา หากเป็นกรณีที่รอการลงโทษจะสามารถเขาเป็นสมาชิกพรรคการเมืองได้ เป็นไปตามหลักความได้สัดสวนและพอเหมาะพอควรแกกรณี ประกอบกับสมาชิกพรรคการเมือง ไม่ได้มีอํานาจหน้าที่โดยตรงอันสงผลกระทบต่อประโยชนสาธารณะ แตกตางจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งเป็นผู้ใชอํานาจอธิปไตยแทนปวงชนชาวไทย ยอมต้องได้รับการกลั่นกรองคุณสมบัติและลักษณะต้องหาม ยิ่งกวาการเขาเป็นสมาชิกพรรคการเมือง รางมาตรา 5 จึงไม่มีขอความที่ขัดหรือแยงต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 45 มาตรา 83 มาตรา 86 มาตรา 90 มาตรา 91 และมาตรา 258 ก. ดานการเมือง (2) กรณีรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 6 ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 และให้ใชความต่อไปนี้แทน ้ หนา 45 ่ เลม 139 ตอนที่ 77 ก ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

“ มาตรา 35 ในจังหวัดที่มิได้เป็นที่ตั้งสาขาพรรคการเมือง ถาพรรคการเมืองนั้นมีสมาชิก ซึ่งมีภูมิลําเนาอยู่ในจังหวัดนั้นเกินหนึ่งรอยคน พรรคการเมืองนั้นอาจแต่งตั้งสมาชิกซึ่งมีภูมิลําเนา อยู่ในจังหวัดนั้นซึ่งมาจากการเลือกของสมาชิกดังกลาวให้เป็นตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัดได้ ตามจํานวนที่เห็นสมควรเพื่อดําเนินกิจกรรมของพรรคการเมืองในจังหวัดนั้น และให้นําความในมาตรา 34 มาใชบังคับแกตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัดด้วยโดยอนุโลม ” ผู้เขาชื่อเสนอความเห็นกลาวอางวา รางมาตรา 6 ที่กําหนดเงื่อนไขของสมาชิกพรรคการเมือง วาเป็นสมาชิกพรรคการเมืองซึ่งมีภูมิลําเนาอยู่ในจังหวัด แต่ไม่กําหนดให้ต้องอยู่ในเขตเลือกตั้งในจังหวัด ขัดหรือแยงกับเจตนารมณของรัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 นั้น เห็นวา การที่รางมาตรา 6 กําหนดให้ใชเขตจังหวัดกําหนดตัวแทนพรรคการเมือง ประจําจังหวัดแทนการใชเขตพื้นที่รับผิดชอบในเขตเลือกตั้ง ทําให้สมาชิกพรรคการเมืองในแต่ละจังหวัด สามารถประชุมหรือรวมตัวกันเพื่อดําเนินกิจกรรมทางการเมืองได้สะดวกมากยิ่งขึ้น และตัวแทนพรรคการเมือง ประจําจังหวัดสามารถเป็นตัวแทนของประชาชนในการสรรหาผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้ง และแบบบัญชีรายชื่อในเขตเลือกตั้งตามหลักการมีสวนรวมของประชาชนอยางแทจริง ชวยสงเสริมให้สมาชิก พรรคการเมืองมีสวนรวมในการดําเนินกิจกรรมของพรรคการเมืองอยางกวางขวาง ไม่ถูกจํากัดแต่เฉพาะเขตเลือกตั้ง ที่สมาชิกพรรคการเมืองมีภูมิลําเนาในเขตเลือกตั้งเทานั้น จึงไม่ขัดหรือแยงต่อเจตนารมณของรัฐธรรมนูญ และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 ไม่มีขอความขัดหรือแยงต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 45 มาตรา 83 มาตรา 86 มาตรา 90 มาตรา 91 และมาตรา 258 ก. ดานการเมือง (2) กรณีรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 7 ให้ยกเลิกความในมาตรา 47 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 และให้ใชความต่อไปนี้แทน “ มาตรา 47 พรรคการเมืองซึ่งประสงคจะสงผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบแบงเขตเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งในจังหวัดใด ต้องมีสาขาพรรคการเมืองหรือตัวแทนพรรคการเมือง ประจําจังหวัดในจังหวัดนั้น ในกรณีที่พรรคการเมืองใดมีสาขาพรรคการเมืองมากกวาหนึ่งสาขา หรือตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัดมากกวาหนึ่งตัวแทนในจังหวัดใด ให้พรรคการเมืองนั้น กําหนดวาจะให้สาขาพรรคการเมืองสาขาใดหรือตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัดใดในจังหวัดนั้น เป็นสาขาพรรคการเมืองหรือตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัดเพื่อดําเนินการตามมาตรา 50 ” ้ หนา 46 ่ เลม 139 ตอนที่ 77 ก ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

ผู้เขาชื่อเสนอความเห็นกลาวอางวา รางมาตรา 7 ที่กําหนดให้พรรคการเมืองที่ประสงค จะสงผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งในจังหวัดใด ต้องมีสาขาพรรคการเมืองหรือตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัดในจังหวัดนั้น โดยไม่ต้องมีเขตพื้นที่รับผิดชอบ ในเขตเลือกตั้งนั้น และตัดหลักเกณฑการสงผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้ง ที่กําหนดให้ต้องสงผู้ซึ่งได้รับเลือกจากสาขาพรรคการเมืองหรือตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัด ที่มีเขตพื้นที่รับผิดชอบในแต่ละเขตเลือกตั้งนั้นออก ไม่เป็นไปตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญ และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 ที่ประสงคให้สมาชิกพรรคการเมือง ต้องมีสวนรวมอยางกวางขวางในการสงผู้สมัครรับเลือกตั้งนั้น เห็นวา การกําหนดเงื่อนไขตามรางมาตรา 7 ทําให้พรรคการเมืองสามารถดําเนินการสรรหาผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้ง ได้ทุกเขตเลือกตั้งในจังหวัดนั้น ซึ่งเป็นการขยายโอกาสให้แกสมาชิกพรรคการเมืองพิจารณาสรรหา ผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้งในเขตจังหวัดนั้นได้ทุกเขตเลือกตั้ง มิได้จํากัดเฉพาะเขตเลือกตั้งที่สมาชิกมีภูมิลําเนาอยู่ในเขตเลือกตั้งเทานั้น อันมีลักษณะเป็นการผอนปรน เงื่อนไขในการสงผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้งของพรรคการเมือง เป็นการสงเสริมให้ประชาชนมีสวนรวมในการดําเนินกิจกรรมทางการเมืองอยางแทจริง จึงไม่มีขอความ ขัดหรือแยงต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 45 มาตรา 83 มาตรา 86 มาตรา 90 มาตรา 91 และมาตรา 258 ก. ดานการเมือง (2) สวนกรณีรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 9 ให้ยกเลิกความในมาตรา 50 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 และให้ใชความต่อไปนี้แทน “ มาตรา 50 การสรรหาผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้ง ให้ดําเนินการตามวิธีการ ดังต่อไปนี้ (1) ให้คณะกรรมการสรรหากําหนดวัน เวลา และสถานที่ในการสมัครเป็นผู้สมัครรับเลือกตั้ง และประกาศให้สมาชิกทราบเป็นการทั่วไป (2) เมื่อพนกําหนดเวลารับสมัครตาม (1) ให้คณะกรรมการสรรหาตรวจสอบคุณสมบัติ และลักษณะต้องหามของผู้สมัครในแต่ละเขตเลือกตั้ง แล้วสงรายชื่อผู้สมัครให้สาขาพรรคการเมือง หรือตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัด ้ หนา 47 ่ เลม 139 ตอนที่ 77 ก ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

(3) เมื่อสาขาพรรคการเมืองหรือตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัดได้รับรายชื่อผู้สมัคร จากคณะกรรมการสรรหาแล้ว ให้หัวหน้าสาขาพรรคการเมืองหรือตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัด จัดการประชุมสมาชิกเพื่อรับฟงความคิดเห็นและให้สมาชิกให้ความเห็นชอบหรือไม่ให้ความเห็นชอบ ตามรายชื่อที่คณะกรรมการสรรหาสงมา ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่คณะกรรมการกําหนด (4) ให้สาขาพรรคการเมืองหรือตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัดสงรายชื่อผู้สมัคร ในแต่ละเขตเลือกตั้งทั้งที่ได้รับความเห็นชอบและไม่ได้รับความเห็นชอบพรอมความคิดเห็นตาม (3) ให้คณะกรรมการสรรหาเพื่อพิจารณาเสนอความคิดเห็น (5) ให้คณะกรรมการสรรหาสงรายชื่อผู้สมัครของแต่ละเขตเลือกตั้งพรอมความคิดเห็น ตาม (3) และ (4) ให้คณะกรรมการบริหารพรรคการเมืองเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคลที่จะเสนอให้เป็น ผู้สมัครรับเลือกตั้ง ” และรางมาตรา 10 ให้ยกเลิกความในมาตรา 51 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 และให้ใชความต่อไปนี้แทน “ มาตรา 51 การสรรหาผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ให้ดําเนินการตามวิธีการ ดังต่อไปนี้ (1) ให้คณะกรรมการสรรหากําหนดวัน เวลา และสถานที่ในการสมัครและการเสนอรายชื่อบุคคล เป็นผู้สมัครรับเลือกตั้ง และมีหนังสือแจงไปยังคณะกรรมการบริหารพรรคการเมือง หัวหน้าสาขาพรรคการเมือง ตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัด และประกาศให้สมาชิกทราบเป็นการทั่วไป (2) ให้กรรมการบริหารพรรคการเมือง หัวหน้าสาขาพรรคการเมือง หรือตัวแทนพรรคการเมือง ประจําจังหวัด เสนอรายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อให้คณะกรรมการสรรหา (3) เมื่อพนกําหนดเวลารับสมัครและเสนอรายชื่อตาม (1) แล้ว ให้คณะกรรมการสรรหา ตรวจสอบคุณสมบัติและลักษณะต้องหามและจัดทําบัญชีรายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งไม่เกินหนึ่งรอยรายชื่อ โดยต้องคํานึงถึงผู้สมัครรับเลือกตั้งจากภูมิภาคตาง ๆ และความเทาเทียมกันระหวางชายและหญิง แล้วสงบัญชีรายชื่อดังกลาวให้สาขาพรรคการเมืองหรือตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัด (4) เมื่อสาขาพรรคการเมืองหรือตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัดได้รับบัญชีรายชื่อผู้สมัคร รับเลือกตั้งตาม (3) จากคณะกรรมการสรรหาแล้ว ให้หัวหน้าสาขาพรรคการเมืองหรือตัวแทนพรรคการเมือง ้ หนา 48 ่ เลม 139 ตอนที่ 77 ก ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

ประจําจังหวัด จัดการประชุมสมาชิกเพื่อรับฟงความคิดเห็นและให้สมาชิกให้ความเห็นชอบหรือไม่ให้ความเห็นชอบ ตามรายชื่อที่คณะกรรมการสรรหาสงมา ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่คณะกรรมการกําหนด แล้วสงบัญชีรายชื่อดังกลาวทั้งที่ได้รับความเห็นชอบและไม่ได้รับความเห็นชอบพรอมความคิดเห็น ให้คณะกรรมการสรรหาเพื่อพิจารณาจัดทําบัญชีรายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งพรอมเสนอความคิดเห็น (5) ให้คณะกรรมการสรรหาสงบัญชีรายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งพรอมความคิดเห็นตาม (4) ให้คณะกรรมการบริหารพรรคการเมืองเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคลที่เหมาะสมเป็นผู้สมัครรับเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อแล้วจัดลําดับตามที่เห็นวาเหมาะสมเพื่อให้ได้บัญชีรายชื่อ ผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ เพื่อประโยชนในการสงเสริมการมีสวนรวมของสมาชิก ในกรณีที่สมาชิกผู้ใดมีภูมิลําเนา อยู่ในจังหวัดที่ยังมิได้มีการจัดตั้งสาขาพรรคการเมืองหรือตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัด ให้สามารถใชสิทธิการเป็นสมาชิกในจังหวัดใกลเคียงที่มีสาขาพรรคการเมืองหรือตัวแทนพรรคการเมือง ประจําจังหวัด ตามที่กําหนดในขอบังคับ ” ผู้เขาชื่อเสนอความเห็นกลาวอางวา รางมาตรา 9 ที่กําหนดกระบวนการสรรหาผู้สมัคร รับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้ง และรางมาตรา 10 ที่กําหนดกระบวนการสรรหา ผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ โดยตัดอํานาจการมีสวนรวมของสมาชิก พรรคการเมืองในการสงผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรออก ขัดหรือแยงต่อเจตนารมณ ของรัฐธรรมนูญ มาตรา 45 มาตรา 90 และมาตรา 258 ก. ดานการเมือง (2) นั้น เห็นวา การมีสวนรวมของสมาชิกพรรคการเมืองในการคัดเลือกผู้สมัครรับเลือกตั้งแบงออกเป็นหลายรูปแบบ ทั้งการมีสวนรวมโดยการรับฟงความคิดเห็นหรือการลงคะแนนเลือกผู้สมัครรับเลือกตั้ง โดยมีวัตถุประสงค เพื่อเปดโอกาสให้สมาชิกพรรคการเมืองได้มีสวนรวมทางการเมืองอยางแทจริงและกวางขวางในการคัดเลือกบุคคล ผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร การที่รางมาตรา 9 กําหนดกระบวนการมีสวนรวม ของสมาชิกพรรคการเมืองในการคัดเลือกผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้ง โดยการจัดประชุมเพื่อพิจารณารายชื่อผู้สมัครในแต่ละเขตเลือกตั้งจะต้องเป็นรายชื่อผู้สมัครที่สมาชิก พรรคการเมืองให้ความเห็นชอบด้วยคะแนนเสียงไม่นอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกที่มาประชุม ในขณะเดียวกันการพิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคลที่พรรคการเมืองจะเสนอให้เป็นผู้สมัครรับเลือกตั้ง ้ หนา 49 ่ เลม 139 ตอนที่ 77 ก ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในแต่ละเขตเลือกตั้งจะต้องนําความคิดเห็นของสมาชิกพรรคการเมือง มาประกอบการพิจารณาด้วย ถือได้วากระบวนการคัดเลือกผู้สมัครรับเลือกตั้งดังกลาวเป็นกระบวนการมีสวนรวม ของประชาชนอยางแทจริงในการคัดเลือกผู้สมัครรับเลือกตั้งรูปแบบหนึ่ง เนื่องจากคณะกรรมการสรรหา ผู้สมัครรับเลือกตั้งซึ่งประกอบด้วยตัวแทนของภาคประชาชนที่เป็นสมาชิกพรรคการเมืองจํานวนที่มากกวา คณะกรรมการบริหารพรรคการเมือง โดยคณะกรรมการสรรหาผู้สมัครรับเลือกตั้งมีที่มาจากการเลือก ของสมาชิกพรรคการเมืองที่รวมประชุมในที่ประชุมใหญพรรคการเมือง กรณีดังกลาวถือวาสมาชิกพรรคการเมือง มีสวนรวมในการคัดเลือกผู้สมัครรับเลือกตั้งอยางกวางขวางผานทางคณะกรรมการสรรหาผู้สมัครรับเลือกตั้ง สาขาพรรคการเมือง และตัวแทนพรรคการเมืองประจําจังหวัดแล้ว สําหรับรางมาตรา 10 ที่กําหนด กระบวนการมีสวนรวมของสมาชิกพรรคการเมืองในการคัดเลือกผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ โดยการพิจารณารายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ จะต้องเป็นรายชื่อผู้สมัคร รับเลือกตั้งที่สมาชิกพรรคการเมืองให้ความเห็นชอบ ในขณะเดียวกันการพิจารณาให้ความเห็นชอบ และการจัดลําดับบุคคลที่เหมาะสมเป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งดังกลาว จะต้องนําความคิดเห็นของสมาชิก พรรคการเมืองมาประกอบการพิจารณาด้วย เป็นการดําเนินการให้สมาชิกพรรคการเมืองมีสวนรวม ในการคัดเลือกและสงผู้สมัครรับเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 90 วรรคสาม สวนที่กําหนดให้ คณะกรรมการบริหารพรรคการเมืองซึ่งดําเนินการในรูปองคกรกลุ่มจัดการประชุมเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ บุคคลที่เหมาะสมเป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อแล้วจัดลําดับ ตามที่เห็นวาเหมาะสม เนื่องจากการสรรหาผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สะทอนหลักการการเป็นตัวแทนของพรรคการเมือง จึงต้องการผู้สมัครรับเลือกตั้งที่ครอบคลุมความเชี่ยวชาญ ในทุกดาน และทั่วทุกภาคของประเทศ เพื่อให้บัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองนาเชื่อถือและได้รับความนิยม จากประชาชนที่จะเลือกลงคะแนนเสียงให้แกพรรค จึงต้องกําหนดให้องคกรสูงสุดของพรรคการเมือง คือ คณะกรรมการบริหารพรรคการเมือง ซึ่งมีหน้าที่และอํานาจในการบริหารพรรคการเมืองให้เป็น สถาบันทางการเมืองที่ได้รับการยอมรับจากสมาชิกพรรคการเมืองและประชาชน รวมทั้งหน้าที่ และอํานาจในการพิจารณาสรรหาผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นลําดับสุดทาย โดยคัดเลือกบุคคลที่จะสงลงสมัคร รับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในนามของพรรคการเมืองเพื่อให้กระบวนการสรรหาผู้สมัคร รับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อซึ่งเป็นกระบวนการภายในของพรรคการเมือง ้ หนา 50 ่ เลม 139 ตอนที่ 77 ก ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

มีจุดสิ้นสุดอยางชัดเจน และกอให้เกิดความเป็นธรรมต่อผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ เมื่อพิจารณา ความมุงหมายตามหลักการและเหตุผลในการแกไขปรับปรุงรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ฉบับนี้ กรณีมีเหตุผลความจําเป็นและความเหมาะสมแกกรณีในการแกไขกระบวนการดังกลาว โดยยังคงให้ความสําคัญกับการมีสวนรวมของสมาชิกพรรคการเมืองในการเสนอความคิดเห็นและให้ความเห็นชอบ รายชื่อบุคคลที่จะลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้งและแบบบัญชีรายชื่อ รางมาตรา 9 และรางมาตรา 10 จึงไม่มีขอความขัดหรือแยงต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 45 มาตรา 83 มาตรา 86 มาตรา 90 มาตรา 91 และมาตรา 258 ก. ดานการเมือง (2) สวนที่ผู้เขาชื่อเสนอความเห็นกลาวอางวา การแกไขเพิ่มเติมรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 3 มาตรา 4 มาตรา 5 มาตรา 6 มาตรา 7 มาตรา 9 และมาตรา 10 เป็นการแกไขเกินขอบเขตของรัฐธรรมนูญ มาตรา 83 มาตรา 86 และมาตรา 91 บิดเบือนเจตนารมณของพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 นั้น เห็นวา รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่1) พุทธศักราช 2564 มาตรา 83 มาตรา 86 และมาตรา 91 มีเจตนารมณเพื่อกําหนดจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ให้สอดคลองต่อจํานวนประชากรในแต่ละเขตเลือกตั้ง ซึ่งการกําหนดให้มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร มีจํานวนสี่รอยคน ทําให้การดูแลปญหาของประชาชนใกลชิดและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และการคํานวณคะแนนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อจําเป็นต้องมีหลักเกณฑที่ชัดเจน และเป็นธรรมต่อพรรคการเมืองและต้องเคารพหลักการหนึ่งสิทธิหนึ่งเสียงของประชาชน โดยบัญญัติ แกไขเพิ่มเติมองคประกอบของสภาผู้แทนราษฎรและที่มาของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หลักเกณฑ การคํานวณจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่แต่ละจังหวัดจะพึงมีและการแบงเขตเลือกตั้ง หลักเกณฑ และวิธีการคํานวณหาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของแต่ละพรรคการเมือง และแกไขบทบัญญัติ ของกฎหมายที่เป็นอุปสรรคในการดําเนินกิจการของพรรคการเมือง ให้พรรคการเมืองสามารถปฏิบัติได้จริง ตามหลักเกณฑและวิธีการตามรัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้ได้อยางถูกต้อง กรณีสอดคลองกับหลักการในการสงเสริมให้พรรคการเมืองเกิดขึ้นและดํารงอยู่ได้ รางพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญที่มีการแกไขเพิ่มเติมดังกลาวจึงเป็นไปอยางสมเหตุสมผลเพื่อคุมครองเสรีภาพ ในการรวมกันจัดตั้งพรรคการเมือง ได้สัดสวนและมีความสมดุล ไม่เพิ่มภาระหรือจํากัดสิทธิหรือเสรีภาพ ้ หนา 51 ่ เลม 139 ตอนที่ 77 ก ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

ของพรรคการเมืองเกินสมควรแกเหตุ สอดคลองกับทิศทางการพัฒนาพรรคการเมือง การแกไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 จึงไม่เกินขอบเขตของรัฐธรรมนูญ มาตรา 83 มาตรา 86 และมาตรา 91 อาศัยเหตุผลดังกลาวขางตน จึงวินิจฉัยวา รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. … มาตรา 3 มาตรา 4 มาตรา 5 มาตรา 6 มาตรา 7 มาตรา 9 และมาตรา 10 ไม่มีขอความขัดหรือแยงต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 45 มาตรา 83 มาตรา 86 มาตรา 90 มาตรา 91 และมาตรา 258 ก. ดานการเมือง (2) นายวรวิทย กังศศิเทียม ประธานศาลรัฐธรรมนูญ นายทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ นายนครินทร เมฆไตรรัตน์ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ นายปญญา อุดชาชน นายอุดม สิทธิวิรัชธรรม ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ นายวิรุฬห แสงเทียน นายจิรนิติ หะวานนท ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ นายนภดล เทพพิทักษ์ นายบรรจงศักดิ์ วงศปราชญ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ้ หนา 52 ่ เลม 139 ตอนที่ 77 ก ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565