Tue Dec 20 2022 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

ข้อบังคับของอัยการสูงสุด ว่าด้วยการใช้มาตรการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำความผิด มาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ มาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษ และการคุมขังฉุกเฉิน พ.ศ. 2565


ข้อบังคับของอัยการสูงสุด ว่าด้วยการใช้มาตรการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำความผิด มาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ มาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษ และการคุมขังฉุกเฉิน พ.ศ. 2565

ข้อบังคับของอัยการสูงสุด ว่าด้วยการใช้มาตรการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำความผิด มาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ มาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษ และการคุมขังฉุกเฉิน พ.ศ. 2565 โดยที่กฎหมายว่าด้วยมาตรการป้องกันการกระทาความผิดซาในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือ ที่ใช้ความรุนแรง ได้กาหนดให้อัยการสูงสุดมีอานาจออกข้อบังคับเพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามกฎหมาย ดังกล่าว และวางหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการพิจารณาดาเนินการเกี่ยวกับการใช้มาตรการ แก้ไขฟื้นฟูผู้กระทาความผิด มาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ มาตรการคุมขังภายหลัง พ้นโทษ และการคุมขังฉุกเฉิน จึงเป็นการสมควรออกข้อบังคับฉบับนี อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 7 มาตรา 24 มาตรำ 29 มาตรา 30 และมาตรา 38 แห่งพระราชบัญญัติมาตรการป้องกันการกระทาความผิดซาในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง พ.ศ. 2565 อันเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 26 ประกอบกับมาตรา 28 มาตรา 29 มาตรา 32 และมาตรา 38 ของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทาได้โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย อัยการสูงสุด จึงออกข้อบังคับไว้ ดังต่อไปนี ข้อ 1 ข้อบังคับนีเรียกว่า “ ข้อบังคับของอัยการสูงสุดว่าด้วยการใช้มาตรการแก้ไขฟื้นฟู ผู้กระทาค วามผิด มาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ มาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษ และการคุมขังฉุกเฉิน พ.ศ. 2565 ” ข้อ 2 ข้อบังคับนี ให้ใช้บังคับตังแต่วันที่พระราชบัญญัติมาตรการป้องกันการกระทำความผิดซา ในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง พ.ศ. 2565 มีผลใช้บังคับเป็นต้นไป ข้อ 3 ในข้อบังคับนี “ คดีมาตรการป้องกันการกระทาความผิดซา ” หมายความว่า การดาเนินการตามกฎหมาย ว่าด้วยมาตรการป้องกันการกระทำความผิดซาในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง “ มาตรการแก้ไขฟื้นฟู ” หมายความว่า มาตรการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำความผิด “ มาตรการเฝ้าระวัง ” หมายความว่า มาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ “ มาตรการคุมขัง ” หมายความว่า มาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษ “ รายงาน ” หมายความว่า รายงานของคณะกรรมการพิจารณากาหนดมาตรการป้องกัน การกระทำความผิดซา “ คณะกรรมการ ” หมายความว่า คณะกรรมการพิจารณากำหนดมาตรการป้องกันการกระทา ความผิดซา ้ หนา 20 ่ เลม 139 ตอนที่ 77 ก ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

“ หัวหน้าพนักงานอัยการ ” หมายความว่า อัยการพิเศษฝ่ายที่รับผิดชอบในการดาเนินคดี ประจำศาลชั นต้นหรืออัยการจังหวัดที่รับผิดชอบในการดาเนินคดี “ อธิบดีอัยการ ” หมายความว่า อธิบดีอัย การหรืออธิบดีอัยการภาคที่รับผิดชอบใน การดาเนินคดี ข้อ 4 อัยการสูงสุดมีอำนาจตีความและวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามข้อบังคับนี ข้อ 5 อัยการสูงสุดเป็นผู้รักษาการตามข้อบังคับนี และมีอานาจออกระเบียบ ประกาศ คำสั่ง หลักเกณฑ์และวิธีการเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามข้อบังคับนี บรรดาระเบียบ หลักปฏิบัติราชการและคาสั่งอื่นใดซึ่งขัดหรือแย้งกับข้อบังคับนี ให้ใช้ข้อบังคับนี แทน ข้อ 6 อานาจในการสั่งคดีเกี่ยวกับการใช้มาตรการแก้ไขฟื้นฟู การใช้มาตรการเฝ้าระวัง การใช้มาตรการ คุมขัง การคุมขังฉุกเฉินหรือคำสั่งอื่นใดที่เกี่ยวเนื่องกับการดำเนินการดังกล่าว ให้เป็นอำนาจของหัวหน้าพนักงานอัยการเป็นผู้พิจารณาสั่งทั งคดี คดีที่อยู่ในอานาจพิจารณาสั่งคดีของอัยการสูงสุดหรืออธิบดีอัยการ อานาจในการสั่งเกี่ยวกับ การใช้มาตรการแก้ไขฟื้นฟู ใ ห้เป็นอำนาจของอัยการสูงสุดหรืออธิบดีอัยการ แล้วแต่กรณี ข้อ 7 การใดที่มิได้กาหนดไว้ในข้อบังคับนี ให้นาระเบียบสานักงานอัยการสูงสุดว่าด้วย การดาเนินคดีอาญาของพนักงานอัยการ ระเบียบสานักงานอัยการสูงสุดว่าด้วยการดาเนินคดีอาญา ชันศาลสูงของพนักงานอัยการ หลักปฏิบัติราชการ และคาสั่งอื่นใดที่เกี่ยวข้อง มาใช้บังคับโดยอนุโลม เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับข้อบังคับนี ข้อ 8 เพื่อให้การดำเนินการตามข้อบังคับนี เป็นไปด้วยความสะดวก รวดเร็ว อาจดาเนินการผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ทั งนี ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่สำนั กงานอัยการสูงสุดกำหนด ข้อ 9 สานวน สารบบ แบบพิมพ์ การรายงานและการดาเนินการอื่นที่เกี่ยวข้องกับ คดีมาตรการป้องกันการกระทำความผิดซา ให้เป็นไปตามที่สำนักงานอัยการสูงสุดกาหนด หมวด 1 การพิจารณาใช้มาตรการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำความผิด ข้อ 10 คดีที่พนักงานอัยการสั่งฟ้องผู้ต้องหาในความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตราหนึ่งมาตราใดดังต่อไปนี มาตรา 276 มาตรา 277 มาตรา 278 มาตรา 279 มาตรา 283 ทวิ มาตรา 284 มาตรา 288 มาตรา 289 มาตรา 290 มาตรา 297 มาตรา 298 และมาตรา 313 ไม่ว่าจะ มีความผิดฐานอื่นด้วยหรือไม่ ให้พนักงานอัยการพิจารณาด้วยว่าคดีดังกล่าว สมควรขอให้ศาลมีคำสั่งใช้มาตรการแก้ไขฟื้นฟูหรือไม่ หากเห็นสมควรอาจขอรวมกันไปพร้อมกับคาฟ้อง หรือยื่นคำร้องก่อนศาลมีคาพิพากษาก็ได้ โดยให้ระบุเหตุผลไว้ในความเห็นและคำสั่ง ้ หนา 21 ่ เลม 139 ตอนที่ 77 ก ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

เพื่อให้ได้ข้อเท็จ จริงครบถ้วนและเพียงพอในการพิจารณามีความเห็นและคำสั่งเกี่ยวกับ การขอให้ศาลมีคำสั่งใช้มาตรการแก้ไขฟื้นฟู พนักงานอัยการอาจมีความเห็นและคาสั่งภายหลังจากที่ได้มี คำสั่งฟ้องคดีไปแล้วก็ได้ การพิจารณาเหตุสมควรตามวรรคหนึ่ง ให้คานึงถึงพฤติการณ์แห่งความรุนแรงของคดี สาเหตุ แห่งการกระทาความผิด ประวัติการกระทาความผิด ภาวะแห่งจิต นิสัย ลักษณะส่วนตัวอื่นของ ผู้ต้องหา ความปลอดภัยของผู้เสียหายหรือสังคม โอกาสในการกระทาความผิดซา การแก้ไขฟื้นฟู ผู้ต้องหา การกระทำอื่นภายหลังการ กระทาความผิด และเหตุผลประการอื่นที่สมควรใช้มาตรการแก้ไข ฟื้นฟูแก่ผู้ต้องหา ข้อ 11 กรณีข้อเท็จจริงในสานวนเกี่ยวกับตัวผู้ต้องหาไม่เพียงพอในการมีความเห็นเกี่ยวกับ การใช้มาตรการแก้ไขฟื้นฟู พนักงานอัยการอาจขอให้พนักงานสอบสวน กรมราชทัณฑ์ หรือ กรมคุมประพฤติ ทาการสอบข้อเท็จจริงหรือตรวจสอบเพื่อทราบความเป็นมาแห่งชีวิตและความประพฤติ อันเป็นอาจิณของผู้ต้องหาหรือข้อเท็จจริงอื่นใดเพิ่มเติมก็ได้ เพื่อประโยชน์ในการใช้มาตรการแก้ไขฟื้นฟู ข้อ 12 เมื่อพนักงานอัยการมีคาสั่งไม่ใช้มาตรการแก้ไขฟื้นฟูแก่ผู้กระทาความผิดรายใด หากภายหลังปรากฏข้อเท็จจริงว่ามีเหตุสมควรขอให้ศาลมีคาสั่งใช้มาตรการแก้ไขฟื้นฟู ให้หัวหน้า พนักงานอัยการมีคำสั่งให้ใช้มาตรการแก้ไขฟื้นฟูแก่ผู้กระทำความผิดนั นได้ ข้อ 13 ให้พนักงานอัยการระบุข้อเท็จจริงในคาร้องถึงเหตุสมควรที่ขอให้ศาลมีคาสั่งให้ใช้ มาตรการแก้ไข ฟื้นฟูในระหว่างรับโทษจาคุกเพื่อป้องกันมิให้กระทาความผิดซา และอ้างมาตรการ ตามกฎหมายซึ่งบัญญัติให้ศาลใช้มาตรการแก้ไขฟื้นฟูได้ ข้อ 14 ในการไต่สวนคาร้อง ให้พนักงานอัยการยื่นบัญชีระบุพยานและนาพยานเข้าไต่สวน ให้ได้ความตามคาร้อง บทบัญญัติในวรรคหนึ่ง ให้นาไปใช้ ในการไต่สวนคาร้องคดีมาตรการป้องกันการกระทาความผิดซา ในกรณีอื่นตามข้อบังคับนีโดยอนุโลม เมื่อศาลเรียกสานวนการสอบสวนจากพนักงานอัยการเพื่อประกอบการพิจารณาในการมีคำสั่ง ให้พนักงานอัยการส่งสานวนการสอบสวนไปยังศาล โดยระบุให้ศาลส่งสานวนการสอบสวนคืนเมื่อเสร็จ การพิจารณา ข้อ 15 เมื่อพนักงานอัยการได้รับรายงานผลการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทาความผิดและความเห็น จากกรมราชทัณฑ์ หากพนักงานอัยการเห็นสมควรอาจยื่นคาร้องขอให้ศาลมีคาสั่งเปลี่ยนแปลง แก้ไข หรือยกเลิกมาตรการแก้ไขฟื้นฟูได้ โด ยเสนอให้หัวหน้าพนักงานอัยการมีคาสั่งตามคาร้องดังกล่าว ทั งนี ให้นำความในข้อ 10 ข้อ 13 และข้อ 14 มาใช้บังคับโดยอนุโลม พนักงานอัยการอาจขอให้กรมราชทัณฑ์ดำเนินการชี แจงข้อเท็จจริงเพิ่มเติมหรือเรียกให้ ผู้เกี่ยวข้องมาให้ซักถามเพื่อประกอบการพิจารณา ้ หนา 22 ่ เลม 139 ตอนที่ 77 ก ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

หมวด 2 การพิจารณาใช้มาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ ข้อ 16 เมื่อพนักงานอัยการได้รับรายงานและความเห็นจากคณะกรรมการ ในกรณี คณะกรรมการมีความเห็นสมควรใช้มาตรการเฝ้าระวัง ถ้าพนักงานอัยการเห็นชอบด้วยให้ออกคาสั่งใช้ มาตรการเฝ้าระวังและยื่นคาร้องต่อศาลก่ อนปล่อยตัวนักโทษเด็ดขาด ถ้าพนักงานอัยการไม่เห็นชอบด้วย ก็ให้สั่งไม่ใช้มาตรการเฝ้าระวัง ทั งนี พนักงานอัยการอาจขอให้คณะกรรมการ กรมราชทัณฑ์ หรือกรมคุมประพฤติ ดาเนินการชีแจงข้อเท็จจริงเพิ่มเติมหรือเรียกให้ผู้เกี่ยวข้องมาให้ซักถามเพื่อประกอบการพิจารณา ข้อ 17 กรณีที่หัวหน้าพนักงานอัยการมีคาสั่งไม่ใช้มาตรการเฝ้าระวังแย้งกับความเห็นของ คณะกรรมการ ให้ส่งรายงานและความเห็นดังกล่าวไปยังอธิบดีอัยการเพื่อชีขาดโดยเร็วก่อนปล่อยตัว นักโทษเด็ดขาด กรณีอธิบดีอัยการเห็นชอบด้วยกับคำสั่งไม่ใช้มาตรการเฝ้าระวัง ให้ยุติเรื่ องดังกล่าวและแจ้งให้ คณะกรรมการทราบ กรณีอธิบดีอัยการไม่เห็นชอบด้วยกับคาสั่งไม่ใช้มาตรการเฝ้าระวังของหัวหน้าพนักงานอัยการ ให้พนักงานอัยการยื่นคำร้องต่อศาลเพื่อขอใช้มาตรการเฝ้าระวัง ข้อ 18 พนักงานอัยการจะสั่งให้ใช้มาตรการเฝ้าระวัง ต่อเมื่อมีเหตุอันสมควรว่ำนักโทษ เด็ดขาดจะกระทำความผิดที่ระบุไว้ในข้อ 10 อีกภายหลังพ้นโทษ เหตุอันสมควรตามวรรคหนึ่ง ให้คานึงถึงพฤติการณ์แห่งความรุนแรงของคดี สาเหตุแห่ง การกระทำความผิด ประวัติการกระทำความผิด ภาวะแห่งจิต นิสัย ลักษณะส่วนตัวอื่นของนักโทษเด็ดขาด การกระทาอื่นภา ยหลังการกระทาความผิด ความปลอดภัยของผู้เสียหายหรือสังคม โอกาสในการกระทา ความผิดซา การแก้ไขฟื้นฟูนักโทษเด็ดขาด ความได้สัดส่วนของการใช้มาตรการที่ต้องกระทบสิทธิเสรีภาพ ของนักโทษเด็ดขาด และเหตุผลประการอื่นที่สมควรใช้มาตรการเฝ้าระวังแก่นักโทษเด็ดขาด ข้อ 19 คำร้องขอใช้มาตรการเฝ้าระวัง ให้ยื่นก่อนปล่อยตัวนักโทษเด็ดขาด คำร้องให้ทำเป็นหนังสือ โดยให้พนักงานอัยการบรรยายให้ปรากฏซึ่งข้อเท็จจริงและพฤติการณ์ ของนักโทษเด็ดขาดที่เป็นเหตุควรเชื่ออย่างยิ่งว่านักโทษเด็ดขาดมีโอกาสจะกระทาความผิดซา และ ความเห็นของคณะกรรมกา ร รวมทังคาขอที่มีข้อเสนอและเงื่อนไขตลอดจนระยะเวลาที่จะขอให้ศาล กำหนดมาตรการเฝ้าระวังด้วย ข้อ 20 เมื่อคณะกรรมการเสนอรายงานและความเห็นต่อพนักงานอัยการ เนื่องจาก พฤติการณ์เกี่ยวกับการใช้มาตรการเฝ้าระวังของผู้ถูกเฝ้าระวังเปลี่ยนแปลงไป หากพนักงานอัยการ เห็นสมค วร อาจยื่นคำร้องขอให้ศาลมีคำสั่งแก้ไขเพิ่มเติม ลดหรือขยายระยะเวลา หรือยกเลิกมาตรการ ้ หนา 23 ่ เลม 139 ตอนที่ 77 ก ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

เฝ้าระวังบางมาตรการหรือทุกมาตรการโดยเร็ว ทังนี ให้นาความในข้อ 18 และข้อ 19 มาใช้บังคับ โดยอนุโลม ข้อ 21 เมื่อพนักงานอัยการได้รับรายงานตามข้อ 20 แล้ว ให้พิจารณาและดาเนินการ ดังนี (1) หากเห็นว่าไม่มีเหตุอันสมควรร้องขอให้ศาลมีคำสั่งเปลี่ยนแปลงแก้ไข หรือยกเลิก มาตรการเฝ้าระวัง ให้มีคำสั่งเก็บรายงานรวมไว้ในสำนวน (2) หากเห็นว่ามีเหตุอันสมควรร้องขอให้ศาลมีคาสั่งเปลี่ยนแปลงแก้ไข หรือยกเลิกมาตรการ เฝ้าระวัง ให้ระบุเหตุผลพร้อมข้อเท็จจริงเพื่อเสนอหัวหน้าพนักงานอัยการมีคำสั่งตามคาร้องขอดังกล่าว ทั งนี พนักงานอัยการอาจขอให้คณะกรรมการ กรมราชทัณฑ์ หรือกรมคุมประพฤติ ดาเนินการชีแจงข้อเท็จจริงเพิ่มเติมหรือเรียกให้ผู้เกี่ยวข้องมาให้ซักถามเพื่อประกอบการพิจารณา หมวด 3 การพิจารณาใช้มาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษ ข้อ 22 เมื่อพนักงานอัยการได้รับรายงานและความเห็นจากคณะกรรมการ ในกรณี คณะกรรมการมีความเห็นสมควรใช้มาตรการคุมขัง หรือมาตรการคุมขังร่วมกับมาตรการเฝ้าระวัง ต่อเนื่องจากมาตรการคุมขัง ถ้าพนักงานอัยการเห็นชอบด้ว ยให้ออกคาสั่งใช้มาตรการคุมขัง หรือ มาตรการคุมขังร่วมกับมาตรการเฝ้าระวังต่อเนื่องจากมาตรการคุมขัง แล้วแต่กรณี และยื่นคาร้อง ต่อศาลก่อนปล่อยตัวนักโทษเด็ดขาด ถ้าพนักงานอัยการไม่เห็นชอบด้วย ก็ให้สั่งไม่ใช้มาตรการคุมขัง หรือมาตรการคุมขังร่วมกับมาตรการเฝ้าระวังต่อเนื่องจากมาตรการคุมขัง แล้วแต่กรณี ทังนี ให้นา ความในข้อ 17 มาใช้บังคับโดยอนุโลม หากพนักงานอัยการเห็นว่าควรใช้มาตรการเฝ้าระวังเท่านัน หรือมาตรการคุมขังร่วมกับ มาตรการเฝ้าระวังต่อเนื่องจากมาตรการคุมขังด้วย ให้นำความในหมวด 2 มาใช้บังคับโดยอนุโลม ทั งนี พนักงานอัยการอาจขอให้คณะกรรมการ กรมราชทัณฑ์ หรือกรมคุมประพฤติ ดาเนินการชีแจงข้อเท็จจริงเพิ่มเติมหรือเรียกให้ผู้เกี่ยวข้องมาให้ซักถามเพื่อประกอบการพิจารณา ข้อ 23 พนักงานอัยการจะสั่งให้ใช้มาตรการคุมขัง ต่ อเมื่อมีเหตุอันสมควรว่านักโทษเด็ดขาด จะกระทาความผิดที่ระบุไว้ในข้อ 10 อีกภายหลังพ้นโทษ และไม่มีมาตรการอื่นใดที่อาจป้องกันมิให้ ผู้นั นไปกระทำความผิดได้ เหตุอันสมควรตามวรรคหนึ่ง ให้คานึงถึงพฤติการณ์แห่งความรุนแรงของคดี สาเหตุแห่ง การกระทำความผิด ประวั ติการกระทำความผิด ภาวะแห่งจิต นิสัย ลักษณะส่วนตัวอื่นของนักโทษเด็ดขาด การกระทาอื่นภายหลังการกระทาผิด ความปลอดภัยของผู้เสียหายหรือสังคม โอกาสในการกระทา ความผิดซา การแก้ไขฟื้นฟูนักโทษเด็ดขาด ความได้สัดส่วนของการใช้มาตรการที่ต้องกระทบสิทธิ เสรีภาพของนักโทษเด็ดขาด และเหตุผลประการอื่นที่สมควรใช้มาตรการคุมขังแก่นักโทษเด็ดขาด ้ หนา 24 ่ เลม 139 ตอนที่ 77 ก ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

ข้อ 24 คำร้องขอใช้มาตรการคุมขัง ให้ยื่นก่อนปล่อยตัวนักโทษเด็ดขาด คำร้องให้ทำเป็นหนังสือ โดยให้พนักงานอัยการบรรยายให้ปรากฏซึ่งข้อเท็จจริงและพฤติการณ์ ของนักโทษเด็ดขาดที่เป็ นเหตุควรเชื่ออย่างยิ่งว่านักโทษเด็ดขาดมีโอกาสจะกระทำความผิดซา และความเห็นของคณะกรรมการ ตลอดจนเหตุผลและความจาเป็นที่ต้องขอใช้มาตรการคุมขังดังกล่าว เพื่อป้องกันมิให้นักโทษเด็ดขาดกระทำความผิดซา และระยะเวลาที่จะขอให้ศาลมีคำสั่งด้วย ข้อ 25 เมื่อพนักงานอัย การได้รับรายงานและความเห็นจากพนักงานคุมประพฤติว่ามีเหตุ ที่จะขอให้ศาลมีคาสั่งกาหนดมาตรการคุมขังหรือมาตรการคุมขังร่วมกับมาตรการเฝ้าระวังต่อเนื่องจาก มาตรการคุมขังแก่ผู้ถูกเฝ้าระวัง เพราะเชื่อได้ว่าผู้ถูกเฝ้าระวังจะกระทำความผิดที่ระบุไว้ในข้อ 10 และ ไม่มีมา ตรการอื่นใดที่อาจป้องกันมิให้ผู้นันไปกระทาความผิดได้ หรือผู้ถูกเฝ้าระวังฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติ ตามมาตรการเฝ้าระวัง หากพนักงานอัยการเห็นสมควรอาจยื่นคาร้องต่อศาลในท้องที่ที่ผู้ถูกเฝ้าระวัง มีที่อยู่หรือท้องที่ที่พบตัวผู้ถูกเฝ้าระวัง เพื่อขอให้ศาลมีคาสั่งใช้ มาตรการคุมขัง หรือมาตรการคุมขัง ร่วมกับมาตรการเฝ้าระวังต่อเนื่องจากมาตรการคุมขังแก่ผู้ถูกเฝ้าระวัง ให้นำความในข้อ 2 2 ข้อ 2 3 และข้อ 24 มาใช้บังคับกับกรณีตามวรรคหนึ่งโดยอนุโลม ข้อ 26 เมื่อคณะกรรมการเสนอรายงานและความเห็นต่อพนักงานอัยการ เนื่องจาก พฤติการณ์เกี่ยวกับการใช้มาตรการคุมขังหรือมาตรการคุมขังร่วมกับมาตรการเฝ้าระวังต่อเนื่องจาก มาตรการคุมขังเปลี่ยนแปลงไป หรือครบระยะเวลาตามที่กฎหมายกาหนด หากพนักงานอัยการ เห็นสมควรอาจยื่นคำร้องขอให้ศาลมีคำสั่งแก้ไขเพิ่มเติม ลดหรือขยายระยะเวลา หรือยก เลิกคาสั่งคุมขัง ภายหลังพ้นโทษหรือเปลี่ยนคาสั่งคุมขังภายหลังพ้นโทษเป็นคำสั่งเฝ้าระวังแทน ให้นาความในข้อ 21 ข้อ 22 ข้อ 23 และข้อ 24 มาใช้บังคับกับกรณีตามวรรคหนึ่ง โดยอนุโลม ข้อ 27 กรณีตามข้อ 22 หากศาลไม่ได้มีคำสั่งให้ใช้มาตรการคุมขังร่วมกับมาตรการ เฝ้าระวังต่อเนื่องจากมาตรการคุมขังตามที่พนักงานอัยการร้องขอ เมื่อพนักงานอัยการได้รับรายงานและ ความเห็นจากคณะกรรมการเพิ่มเติมก่อนครบกาหนดระยะเวลาคุมขังว่ามีเหตุสมควรขอให้ศาลใช้ มาตรการเฝ้าระวัง หากเห็นสมควรพนักงานอัยการอาจยื่นคาร้องต่อศาลก่อนครบกาหนดระยะเ วลา ตามมาตรการคุมขัง เพื่อให้ศาลมีคำสั่งใช้มาตรการเฝ้าระวังแก่ผู้ถูกคุมขัง ก่อนครบกำหนดระยะเวลาคุมขัง ให้นำความในข้อ 16 ข้อ 18 และข้อ 19 มาใช้บังคับกับกรณีตามวรรคหนึ่งโดยอนุโลม หมวด 4 การพิจารณายื่นคาร้องขอให้คุมขังฉุกเฉิน ข้อ 28 เมื่อพนักงานอัยการได้รับรายงานและความเห็นจากพนักงานคุมประพฤติว่ามีเหตุ อันควรเชื่อได้ว่าผู้ถูกเฝ้าระวังจะกระทาความผิดที่ระบุไว้ในข้อ 10 และมีเหตุฉุกเฉิน ซึ่งไม่มีมาตรการอื่นใด ้ หนา 25 ่ เลม 139 ตอนที่ 77 ก ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565

ที่อาจป้องกันมิให้ผู้ถูกเฝ้าระวังกระทำความผิดดังกล่าวได้ หากพนักงานอัยการเห็นสมควรให้ดาเนินการ ยื่นคำร้องต่อศาลในท้องที่ที่ผู้ถูกเฝ้าระวังมีที่อยู่หรือท้องที่ที่พบตัวผู้ถูกเฝ้าระวังเพื่อให้มีคาสั่งคุมขังฉุกเฉิน ให้นาความในข้อ 22 วรรคหนึ่ง และข้อ 23 วรรคสอง มาใช้บังคับกับกรณีตามวรรคหนึ่ง โดยอนุโลม ทังนี พนั กงานอัยการอาจขอให้พนักงานคุมประพฤติทาการชีแจงข้อเท็จจริงเพิ่มเติมหรือ เรียกให้ผู้เกี่ยวข้องมาให้ซักถามเพื่อประกอบการพิจารณา ข้อ 29 คำร้องขอให้คุมขังฉุกเฉิน ให้ทำเป็นหนังสือ โดยให้พนักงานอัยการบรรยาย ให้ปรากฏซึ่งข้อเท็จจริงและพฤติการณ์ของผู้ถูกเฝ้าระวัง ที่เป็นเหตุควรเชื่ออย่างยิ่งว่าผู้ถูกเฝ้าระวังมีโอกาส จะกระทำความผิดซา และความเห็นของพนักงานคุมประพฤติ ตลอดจนเหตุผลและความจำเป็นฉุกเฉิน และเร่งด่วนที่ต้องใช้มาตรการดังกล่าวเพื่อป้องกันมิให้ผู้ถูกเฝ้าระวังกระทาความผิดซา และระยะเวลา ที่จะขอให้ศาลมีคำสั่งซึ่งต้องไม่เกินเจ็ดวันด้วย ข้อ 30 ภายหลังจากศาลมีคำสั่งคุมขังฉุกเฉินและพนักงานอัยการได้รับรายงานและความเห็น จากพนักงานคุมประพฤติแล้ว พนักงานอัยการอาจขอให้ศาลมีคาสั่งแก้ไขเพิ่มเติมมาตรการเฝ้าระวัง หรือขอให้ศาลมีคาสั่งให้ใช้มาตรการคุมขั งได้ ทังนี ให้นาความในหมวด 2 และหมวด 3 มาใช้บังคับ โดยอนุโลม หมวด 5 การดำเนินการภายหลังศาลมีคำพิพากษาหรือคาสั่ง ข้อ 31 กรณีศาลมีคำสั่งยกคำร้องการใช้มาตรการแก้ไขฟื้นฟู มาตรการเฝ้าระวัง มาตรการ คุมขัง คำสั่งคุมขังฉุกเฉิน คำสั่งศาลเป็นที่สุด กรณีศาลมีคาสั่งให้ใช้มาตรการแก้ไขฟื้นฟูก็ดี มาตรการเฝ้าระวังก็ดี มาตรการคุมขังก็ดี หากมีการอุทธรณ์คำสั่งดังกล่าว ให้อัยการศาลสูงเป็นผู้รับผิดชอบในการพิจารณาชั นอุทธรณ์ กรณีไม่มีการอุทธรณ์คาสั่งมาตรการเฝ้าระวัง มาตรการคุมขังดังกล่าว ไม่ต้องส่งเรื่องไปยัง อัยการศาลสูง กรณีศาลมีคำสั่งคุมขังฉุกเฉิน หากผู้ถูกเฝ้าระวังยื่นคำร้องขอให้ยกเลิกคำสั่งดังกล่าว ให้พนักงานอัยการประจำศาลชั นต้นเป็นผู้รับผิดชอบดาเนินการ ประกาศ ณ วันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 25 6 5 นารี ตัณฑเสถียร อัยการสูงสุด ้ หนา 26 ่ เลม 139 ตอนที่ 77 ก ราชกิจจานุเบกษา 21 ธันวาคม 2565