Mon Oct 24 2022 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

พระราชบัญญัติมาตรการป้องกันการกระทำความผิดซ้ำในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง พ.ศ. 2565


พระราชบัญญัติมาตรการป้องกันการกระทำความผิดซ้ำในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง พ.ศ. 2565

พระราช บัญญัติ มาตรการป้องกันการกระท้าความผิดซ้า ในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง พ.ศ. 2565 พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ไว้ ณ วันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 25 6 5 เป็นปีที่ 7 ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยมาตรการป้องกันการกระท้าความผิดซ้าในความผิด เกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง พระราชบัญญัตินี มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจ้ากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 26 ประกอบกับมาตรา 28 มาตรา 29 มาตรา 32 และมาตรา 38 ของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระท้าได้โดยอาศัยอ้านาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เหตุผลและความจ้าเป็นในการจ้ากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลตามพระราชบัญญัตินี เพื่อใช้เป็นบทบัญญัติในการป้องกันและเฝ้าระวังการก่ออาชญากรรม สร้างความปลอดภัยให้สังคม แก้ไข ปัญหาและลดอัตราการกระท้าความผิดซ้า ซึ่งการตราพระราชบัญญัตินีสอดคล้องกับเงื่อนไข ที่บัญญัติไว้ในมาตรา 26 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยแล้ว ้ หนา 6 ่ เลม 139 ตอนที่ 66 ก ราชกิจจานุเบกษา 25 ตุลาคม 2565

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ นไว้โดยค้าแนะน้าและยินยอม ของรัฐสภา ดังต่อไปนี มาตรา 1 พระราชบัญญั ตินี เรียกว่า “ พระราชบัญญัติมาตรการป้องกันการกระท้า ความผิดซ้าในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง พ.ศ. 2565 ” มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นก้าหนดเก้าสิบวันนับแต่วันประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา 3 พระราชบัญญัตินี ให้ใช้บังคับ แก่การกระท้าความผิดตามที่บัญญัติไว้ใน มาตรา 276 มาตรา 277 มาตรา 278 มาตรา 279 มาตรา 283 ทวิ มาตรา 284 มาตรา 288 มาตรา 289 มาตรา 290 มาตรา 297 มาตรา 298 และมาตรา 313 แห่งประมวลกฎหมายอาญา ในกรณีศาลมีค้าพิพากษาว่าจ้าเลยมีความผิดตามมาตราหนึ่งมาตราใดตามที่ระบุไว้ในวรรคหนึ่ง แม้ศาลจะพิพากษาให้ลงโทษในความผิดอื่นที่ไม่ได้ระบุไว้ในวรรคหนึ่งก็ตาม ก็ให้น้าพระราชบัญญัตินี ไปใช้บังคับด้วย มาตรา 4 พระราชบัญญัตินี มิให้ใช้บังคับแก่ผู้ซึ่งกระท้าความผิดตาม บทบัญญัติมาตราหนึ่ง มาตราใดตามที่ระบุไว้ในมาตรา 3 ในขณะที่มีอายุต่้ากว่าสิบแปดปี มาตรา 5 ในพระราชบัญญัตินี “ คุมขัง ” หมายความว่า การควบคุมนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษหรือผู้ถูกเฝ้าระวังไว้ ในเขตก้าหนดเพื่อป้องกันการกระท้าความผิดซ้า “ ศาล ” หมายความว่า ศาลยุติ ธรรมที่มีอ้านาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญา “ คณะกรรมการ ” หมายความว่า คณะกรรมการป้องกันการกระท้าความผิดซ้า “ อธิบดี ” หมายความว่า อธิบดีกรมคุมประพฤติ “ รัฐมนตรี ” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี มาตรา 6 บทบัญญัติหรือวิธีพิจารณาใดซึ่งพระราชบัญญั ตินีมิได้บัญญัติไว้โดยเฉพาะ ให้น้าบทบัญญัติหรือวิธีพิจารณาแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาใช้บังคับเท่าที่ไม่ขัด หรือแย้งกับบทบัญญัติตามพระราชบัญญัตินี มาตรา 7 ให้ประธานศาลฎีกา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และอัยการสูงสุด รักษาการตามพระราชบัญญัติ นี ทั งนี ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่และอ้านาจของตน ้ หนา 7 ่ เลม 139 ตอนที่ 66 ก ราชกิจจานุเบกษา 25 ตุลาคม 2565

ให้ประธานศาลฎีกาโดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกามีอ้านาจออกข้อบังคับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมมีอ้านาจออกกฎกระทรวง และอัยการสูงสุดมีอ้านาจออกข้อบังคับ เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติ นี ทั งนี ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่และอ้านาจของตน ข้อบังคับและกฎกระทรวงนัน เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้ หมวด 1 คณะกรรมการป้องกันการกระท้าความผิดซ ้า มาตรา 8 ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “ คณะกรรมการป้องกันการกระท้า ความผิดซ้า ” ประกอบด้วย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานกรรมการ ปลัด กระทรวงยุติธรรม เป็นรองประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงมหาดไทย อธิบดีกรมการปกครอง อธิบดีกรมการแพทย์ อธิบดีกรมราชทัณฑ์ อธิบดีกรมสุขภาพจิต ผู้บัญชาการต้ารวจแห่งชาติ เลขาธิการส้านักงานศาลยุติธรรม อัยการสูงสุด และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั ง จากผู้มีความรู้ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ หรือมีประสบการณ์เป็นที่ประจักษ์ด้านกฎหมาย ด้านอาชญาวิทยา ด้านทัณฑวิทยา ด้านการบริหารงานยุติธรรม ด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิ ทยา ด้านสังคมสงเคราะห์ ด้านจิตวิทยา ด้านจิตเวชศาสตร์ หรือด้านอื่น ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการป้องกัน การกระท้าความผิดซ้าจ้านวนไม่เกินห้าคน เป็นกรรมการ ให้อธิบดีเป็นกรรมการและเลขานุการ และให้อธิบดีแต่งตังข้าราชการในกรมคุมประพฤติ จ้านวนหนึ่งคนเป็นผู้ช่วยเลขำนุการ และให้อธิบดีกรมราชทัณฑ์แต่งตังข้าราชการในกรมราชทัณฑ์ จ้านวนหนึ่งคนเป็นผู้ช่วยเลขานุการ มาตรา 9 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี (1) มีสัญชาติไทย (2) มีอายุไม่ต่้ากว่าสามสิบห้าปี (3) ไม่เป็นผู้ด้ารงต้าแหน่งทางการเมื อง สมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น กรรมการหรือ ผู้ด้ารงต้าแหน่งที่รับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง (4) ไม่เป็นข้าราชการซึ่งมีต้าแหน่งหรือเงินเดือนประจ้า เว้นแต่เป็นผู้ด้ารงต้าแหน่งอาจารย์ ในมหาวิทยาลัยของรัฐ (5) ไม่เป็นบุคค ลล้มละลาย ้ หนา 8 ่ เลม 139 ตอนที่ 66 ก ราชกิจจานุเบกษา 25 ตุลาคม 2565

(6) ไม่เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (7) ไม่เคยต้องค้าพิพากษาถึงที่สุดให้จ้าคุก ไม่ว่าจะได้รับโทษจ้าคุกจริงหรือไม่ เว้นแต่เป็นโทษ ส้าหรับความผิดที่ได้กระท้าโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (8) ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ เพราะกระท้าผิดวินัย มาตรา 10 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการด้ารงต้าแหน่งคราวละสามปีและอาจได้รับ แต่งตังอีกได้ แต่จะด้ารงต้าแหน่งติดต่อกันเกินสองวาระไม่ได้ มาตรา 11 นอกจากการพ้นจากต้าแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากต้าแหน่งเมื่อ (1) ตาย (2) ลาออก (3) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 9 (4) รัฐมนตรีให้ออกจากต้าแหน่ง เพราะบกพร่องหรือไม่สุจริตต่อหน้าที่ มีความประพฤติเสื่อมเสีย หรือหย่อนความสามารถ มาตรา 12 คณะกรรมการมีหน้าที่และอ้านาจ ดังต่อไปนี (1) ก้าหนดนโยบายและแผนการป้องกันการกระท้าความผิดซ้าของผู้กระท้าความผิดตามที่ ระบุไว้ในมาตรา 3 รวมทังพิจารณาให้ความเห็นเกี่ยวกับการป้องกันการกระท้าความผิดซ้าตามที่ คณะรัฐมนตรีขอให้พิจารณา (2) ให้ค้าแนะน้าหรือค้าปรึกษาแก่รัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวงตามพร ะราชบัญญัตินี รวมทั งให้ค้าแนะน้าแก่คณะกรรมการพิจารณาก้าหนดมาตรการป้องกันการกระท้าความผิดซ้า กรมคุมประพฤติ และกรมราชทัณฑ์ในการออกระเบียบหรือปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี (3) ให้ค้าปรึกษา ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะแก่ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐและ องค์กรต่าง ๆ เกี่ยวกับการบริหารและการด้าเนินงานป้องกันการกระท้าความผิดซ้า (4) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่พระราชบัญญัตินีหรือกฎหมายอื่นก้าหนดให้เป็นหน้าที่และอ้านาจ ของคณะกรรมการหรือตามที่รัฐมนตรีมอบหมาย มาตรา 13 ให้น้าบทบัญญัติว่าด้วยคณะกรรมการที่มีอ้านาจด้าเนินการพิจารณาทาง ปกครอ งตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมาใช้บังคับแก่การแต่งตั งกรรมการ ้ หนา 9 ่ เลม 139 ตอนที่ 66 ก ราชกิจจานุเบกษา 25 ตุลาคม 2565

ผู้ทรงคุณวุฒิ การพ้นจากต้าแหน่งของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ และการประชุมของคณะกรรมการ โดยอนุโลม มาตรา 14 คณะกรรมการอาจแต่งตังคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการอย่างหนึ่ง อย่างใดตามที่คณะกรรมการมอบหมายก็ได้ และให้น้ามาตรา 13 มาใช้บังคับแก่การประชุม ของคณะอนุกรรมการด้วยโดยอนุโลม มาตรา 15 ให้ประธานกรรมการ กรรมการ และอนุกรรมการได้รับเบียประชุมและ ประโยชน์ตอบแทนอื่นตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีก้าหนด หมวด 2 คณะกรรมการพิจารณาก้า หนดมาตรการป้องกันการกระท้าความผิดซ้า มาตรา 16 ให้รัฐมนตรีมีอ้านาจแต่งตังคณะกรรมการคณะหนึ่งหรือหลายคณะ เรียกว่า “ คณะกรรมการพิจารณาก้าหนดมาตรการป้องกันการกระท้าความผิดซ้า ” ประกอบด้วย รองปลัดกระทรวงยุติธรรมซึ่งปลัดกระทรวงยุติธรรมมอบหมาย เป็นประธานกรรมกา ร ผู้แทนกระทรวงมหาดไทย ผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข ผู้แทนกรมคุมประพฤติ ผู้แทนกรมราชทัณฑ์ และผู้แทนส้านักงานต้ารวจแห่งชาติ เป็นกรรมการ โดยให้อธิบดีแต่งตังข้าราชการในกรมคุมประพฤติ เป็นเลขานุการและผู้ช่วยเลขานุการจ้านวนไม่เกินสองคน มาตรา 17 คณะกรรมการพิจารณาก้าหนดมาตรการป้องกันการกระท้าความผิดซ้ามีหน้าที่ และอ้านาจ ดังต่อไปนี (1) พิจารณาก้าหนดมาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษตามมาตรา 23 และมาตรา 27 (2) พิจารณาก้าหนดมาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษตามมาตรา 29 และมาตรา 34 (3) ปฏิบัติการอื่ นใดตามที่พระราชบัญญัตินีหรือกฎหมายอื่นก้าหนดให้เป็นหน้าที่และอ้านาจ ของคณะกรรมการพิจารณาก้าหนดมาตรการป้องกันการกระท้าความผิดซ้าหรือตามที่คณะกรรมการ หรือรัฐมนตรีมอบหมาย มาตรา 18 ให้น้าบทบัญญัติว่าด้วยคณะกรรมการที่มีอ้านาจด้าเนินการพิจารณา ทางปกครองตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมาใช้บังคับแก่การประชุม ของคณะกรรมการพิจารณาก้าหนดมาตรการป้องกันการกระท้าความผิดซ้าโดยอนุโลม ้ หนา 10 ่ เลม 139 ตอนที่ 66 ก ราชกิจจานุเบกษา 25 ตุลาคม 2565

หมวด 3 มาตรการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระท้าความผิด มาตรา 19 ในคดีที่มีการฟ้องขอให้ลงโทษจ้าเลยในความผิดตามที่ระบุไว้ในมาตรำ 3 ให้พนักงานอัยการมีอ้านาจยื่นค้าร้องขอให้ศาลมีค้าสั่งให้ใช้มาตรการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระท้าความผิด ในระหว่างรับโทษจ้าคุกเพื่อป้องกันมิให้กระท้าความผิดซ้า โดยจะขอรวมกันไปในการฟ้องคดีดังกล่าว หรือก่อนศาลมีค้าพิพากษาก็ได้ มาตรการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระท้าความผิดตามวรรคหนึ่ ง ได้แก่ (1) มาตรการทางการแพทย์ (2) มาตรการอื่นใดตามที่รัฐมนตรีก้าหนดในกฎกระทรวงโดยข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ การมีค้าสั่งตามวรรคหนึ่ง ให้ศาลค้านึงถึงพฤติการณ์แห่งความรุนแรงของคดี สาเหตุแห่ง การกระท้าความผิด ประวัติการกระท้าความผิด ภาวะแห่งจิต นิสัย และลั กษณะส่วนตัวอื่นของผู้กระท้า ความผิด ความปลอดภัยของผู้เสียหายและสังคม โอกาสในการกระท้าความผิดซ้า และการแก้ไขฟื้นฟู ผู้กระท้าความผิด ในการไต่สวนศาลอาจเรียกส้านวนการสอบสวนจากพนักงานอัยการเพื่อประกอบการพิจารณา รับฟังค้าคัดค้านของผู้กระท้าความผิด หรือมีค้าสั่งให้พนักงานคุมประพฤติด้าเนินการสืบเสาะและพินิจ ตามกฎหมายว่าด้วยการคุมประพฤติก็ได้ ให้ศาลระบุเหตุผลในการออกค้าสั่งพร้อมทังค้าสั่งให้ใช้มาตรการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระท้าความผิดไว้ ในค้าพิพากษาและให้ระบุค้าสั่งไว้ในหมายจ้าคุกด้วย หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขใ นการออกค้าสั่งของศาล ให้เป็นไปตามข้อบังคับของประธาน ศาลฎีกาโดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกา มาตรา 20 ให้กรมราชทัณฑ์เป็นผู้รับผิดชอบในการด้าเนินการตามค้าสั่งของศาล และ จัดท้ารายงานผลของการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระท้าความผิดพร้อมทั งความเห็นเสนอต่อพนักงานอัยการ อย่ำงน้อยปีละหนึ่งครัง หากพนักงานอัยการเห็นสมควรอาจร้องขอให้ศาลมีค้าสั่งเปลี่ยนแปลงแก้ไขหรือ ยกเลิกมาตรการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระท้าความผิดได้ มาตรา 21 มาตรการทางการแพทย์ที่ศาลมีค้าสั่งตามมาตรา 19 (1) ให้ด้าเนินการ โดยผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมอย่างน้อยสองคนซึ่งมีควำมเห็นพ้องต้องกัน ทั งนี ต้องเป็นแพทย์ ้ หนา 11 ่ เลม 139 ตอนที่ 66 ก ราชกิจจานุเบกษา 25 ตุลาคม 2565

ผู้เชี่ยวชาญในสาขาจิตเวชศาสตร์และสาขาอายุรศาสตร์อย่างน้อยสาขาละหนึ่งคน หากผู้ประกอบวิชาชีพ เวชกรรมเห็นว่าจ้าเป็นต้องมีการใช้ยาหรือด้วยวิธีการรูปแบบอื่น ให้กระท้าได้เฉพาะเมื่อผู้กระท้า ความผิดยินยอม เว้นแต่จะมีกฎหมายบั ญญัติไว้เป็นอย่างอื่น ให้กรมราชทัณฑ์น้าผลของการใช้มาตรการทางการแพทย์ตามวรรคหนึ่ง มาใช้เป็นเงื่อนไข ประกอบการพิจารณาลดโทษ พักการลงโทษ หรือให้ประโยชน์อื่นใดอันเป็นผลให้ผู้กระท้าความผิดได้รับ การปล่อยตัวก่อนก้าหนดในค้าพิพากษาตามกฎหมายว่าด้วยราชทัณฑ์ด้วย หลักเกณ ฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการใช้มาตรการทางการแพทย์ ให้เป็นไปตามที่รัฐมนตรี ก้าหนดในกฎกระทรวงโดยข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ หมวด 4 มาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ มาตรา 22 เมื่อมีเหตุอันควรเชื่อได้ว่านักโทษเด็ดขาดซึ่งศาลมีค้าพิพากษาว่าเป็นผู้กระท้า ความผิดในความผิดตามที่ระบุไว้ในมาตรา 3 จะกระท้าความผิดซ้าภายหลังพ้นโทษ ศาลอาจมีค้าสั่ง ก้าหนดมาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษตามที่พนักงานอัยการร้องขอโดยก้าหนด มาตรการเดียวหรื อหลายมาตรการตามควรแก่กรณีก็ได้ มาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ ได้แก่ (1) ห้ามเข้าใกล้ผู้เสียหายจากการกระท้าความผิด (2) ห้ามท้ากิจกรรมที่เสี่ยงต่อการกระท้าความผิด (3) ห้ามเข้าเขตก้าหนด (4) ห้ามออกนอกประเทศเว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากศาล (5) ห้ามก่อให้เ กิดอันตรายต่อละแวกชุมชนที่ตนพักอาศัย (6) ให้พักอาศัยในสถานที่ที่ก้าหนด (7) ให้พักอาศัยในสถานบ้าบัดที่ก้าหนดหรือให้ไปอยู่ภายใต้การดูแลในสถานบ้าบัดภายใต้ การด้าเนินการของหน่วยงานต่าง ๆ ซึ่งได้รับการรับรองโดยกระทรวงสาธารณสุขตามที่ศาลเห็นสมควร (8) ให้ปฏิบัติตามค้าสั่งของเจ้าพนักงานหรือผู้ดูแลสถานที่พักอาศัยหรือสถานบ้าบัด (9) ให้มารายงานตัวต่อพนักงานคุมประพฤติหรือได้รับการเยี่ยมจากพนักงานคุมประพฤติหรือ อาสาสมัครคุมประพฤติหรือเจ้าหน้าที่อื่นตามระยะเวลาที่ก้าหนด ้ หนา 12 ่ เลม 139 ตอนที่ 66 ก ราชกิจจานุเบกษา 25 ตุลาคม 2565

(10) ให้ใช้มาตรการทางการแพทย์ หรือมาพบหรือรั บการตรวจรักษาจากแพทย์หรือบุคคลอื่นใด ตามที่ศาลหรือพนักงานคุมประพฤติก้าหนด (11) ให้เข้ารับการบ้าบัดฟื้นฟูแก้ไขหรือเข้าร่วมกิจกรรมตามที่ศาลหรือพนักงานคุมประพฤติ ก้าหนด (12) ให้แจ้งพนักงานคุมประพฤติทราบถึงการเปลี่ยนสถานที่ท้างานหรือการเปลี่ยนงาน (13) ให้ใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัวในการเฝ้าระวัง ศาลอาจก้าหนดระยะเวลาการเฝ้าระวังในแต่ละมาตรการตามที่เห็นสมควรแต่ไม่เกินสิบปีนับแต่ วันพ้นโทษ การมีค้าสั่งตามวรรคหนึ่ง ให้ศาลค้านึงถึงพฤติการณ์แห่งความรุนแรงของคดี สาเหตุแห่ง การกระท้าความผิด ประวัติการกระท้าค วามผิด ภาวะแห่งจิต นิสัย และลักษณะส่วนตัวอื่นของผู้กระท้า ความผิด ความปลอดภัยของผู้เสียหายและสังคม โอกาสในการกระท้าความผิดซ้า การแก้ไขฟื้นฟู ผู้กระท้าความผิด และความได้สัดส่วนของการใช้มาตรการที่ต้องกระทบสิทธิเสรีภาพของผู้ต้องถูกบังคับด้วย หลักเกณฑ์ วิ ธีการ และเงื่อนไขในการมีค้าสั่งของศาลตามมาตรานี ให้เป็นไปตามที่ก้าหนด ในข้อบังคับของประธานศาลฎีกาโดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกา มาตรา 23 ก่อนปล่อยตัวนักโทษเด็ดขาดซึ่งศาลมีค้าพิพากษาว่าเป็นผู้กระท้าความผิด ในความผิดตามที่ระบุไว้ในมาตรา 3 ให้กรมราชทั ณฑ์จัดท้ารายงานจ้าแนกลักษณะของนักโทษเด็ดขาด ตามกฎหมายว่าด้วยราชทัณฑ์เป็นรายบุคคล พร้อมทังความเห็นว่านักโทษเด็ดขาดผู้ใดสมควรให้ใช้ มาตรการเฝ้าระวังตามมาตรา 22 เสนอต่อคณะกรรมการพิจารณาก้าหนดมาตรการป้องกันการกระท้า ความผิดซ้าเพื่อพิจารณาว่าสมควรก้าหนดให้ใช้มาตรกา รเฝ้าระวังตามมาตรา 22 แก่นักโทษเด็ดขาดผู้นั น รวมทังก้าหนดวิธีการและระยะเวลาที่เหมาะสมในการใช้มาตรการดังกล่าวเพื่อป้องกันการกระท้า ความผิดซ้า เมื่อคณะกรรมการพิจารณาก้าหนดมาตรการป้องกันการกระท้าความผิดซ้าพิจารณาว่าสมควร ก้าหนดให้ใช้มาตรการเฝ้าระวังตามมาตรา 22 กับนักโทษเด็ดขาดผู้ใดแล้ว ให้เสนอรายงานและ ความเห็นต่อพนักงานอัยการภายในเวลาอันสมควรก่อนปล่อยตัวนักโทษเด็ดขาดเพื่อพิจารณายื่นค้าร้อง ต่อศาลให้ก้าหนดมาตรการเฝ้าระวัง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการพิจารณาและจัดท้ารายงานตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไป ตามที่ก้า หนดในกฎกระทรวง ้ หนา 13 ่ เลม 139 ตอนที่ 66 ก ราชกิจจานุเบกษา 25 ตุลาคม 2565

มาตรา 24 เมื่อได้รับรายงานและความเห็นแล้ว หากพนักงานอัยการเห็นสมควรให้ใช้ มาตรการการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ ให้ยื่นค้าร้องต่อศาลที่มีเขตอ้านาจในท้องที่ เรือนจ้าหรือสถานที่คุมขังของนักโทษเด็ดขาดก่อนการปล่อยตัวนักโทษเด็ดขาดเพื่อมีค้าสั่ งก้าหนด มาตรการเฝ้าระวังดังกล่าว ค้าร้องตามวรรคหนึ่งประกอบด้วยค้าขอที่มีข้อเสนอและเงื่อนไข ตลอดจนระยะเวลาที่ศาล จะก้าหนดมาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ เพื่อประกอบการพิจารณาของศาล ในการมีค้าสั่งตามมาตรการหนึ่งมาตรการใดที่ระบุไว้ในมาตรา 22 วรรคสอ ง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการพิจารณายื่นค้าร้องของพนักงานอัยการ ให้เป็นไปตามที่ ก้าหนดโดยข้อบังคับของอัยการสูงสุด มาตรา 25 เมื่อศาลได้รับค้าร้องตามมาตรา 24 ให้ศาลไต่สวนและมีค้าสั่งโดยให้ส่งส้าเนา ค้าร้องให้นักโทษเด็ดขาดเพื่อทราบวันไต่สวนและสิทธิในการใ ห้ถ้อยค้าด้วยและเรียกนักโทษเด็ดขาด มาให้ถ้อยค้า ให้ศาลถามนักโทษเด็ดขาดว่ามีทนายความหรือไม่ ถ้าไม่มีก็ให้ศาลตังทนายความให้ หากครบก้าหนดที่กรมราชทัณฑ์ต้องปล่อยตัวนักโทษเด็ดขาดแล้ว แต่ศาลยังไม่ได้ไต่สวนค้าร้อง หรือมีค้าสั่งตามที่พนักงานอัยการร้องขอ ให้กรมราชทั ณฑ์ปล่อยตัวนักโทษเด็ดขาดไป ทั งนี ในการ ไต่สวนให้ศาลมีอ้านาจเรียกนักโทษเด็ดขาดที่ได้รับการปล่อยตัวมาให้ถ้อยค้าประกอบการไต่สวนด้วย มาตรา 26 ให้พนักงานคุมประพฤติตามกฎหมายว่าด้วยการคุมประพฤติเป็นผู้รับผิดชอบ ในการด้าเนินการตามค้าสั่งของศาล โดยให้น้าบทบัญญัติเกี่ยวกับอ้านาจหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงาน การสืบเสาะและพินิจ และการคุมความประพฤติตามกฎหมายว่าด้วยการคุมประพฤติมาใช้บังคับ โดยอนุโลม หากผู้ถูกเฝ้าระวังไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ หรือเงื่อนไขที่ก้าหนดโดยค้าสั่ งศาล ให้พนักงานคุมประพฤติตรวจสอบถึงเหตุดังกล่าวและแก้ไข เมื่อครบก้าหนดหกเดือนนับแต่วันที่ศาลมีค้าสั่งตามมาตรา 22 และในทุกรอบหกเดือน ให้พนักงานคุมประพฤติจัดท้ารายงานการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษเสนอศาล หากศาล เห็นสมควร ศาลอาจแก้ไขเพิ่มเติม ลดห รือขยายระยะเวลา หรือยกเลิกค้าสั่งมาตรการเฝ้าระวังนักโทษ เด็ดขาดภายหลังพ้นโทษก็ได้ ้ หนา 14 ่ เลม 139 ตอนที่ 66 ก ราชกิจจานุเบกษา 25 ตุลาคม 2565

เพื่อประโยชน์ในการด้าเนินการตามมาตรานี ให้กรมคุมประพฤติจัดท้าฐานข้อมูลในระบบ สารสนเทศศูนย์เฝ้าระวังความปลอดภัยของประชาชน มาตรา 27 ในกรณีที่พฤติการณ์ที่เกี่ยวกับการใช้มาตรการเฝ้ำระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลัง พ้นโทษของผู้ถูกเฝ้าระวังได้เปลี่ยนแปลงไป เมื่อพนักงานอัยการหรือผู้ถูกเฝ้าระวังร้องขอหรือศาลเห็นเอง ศาลอาจสั่งแก้ไขเพิ่มเติม ลดหรือขยายระยะเวลา หรือยกเลิกมาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลัง พ้นโทษบางมาตรการหรือทุกมาตรการก็ได้ และเมื่อมีค้าสั่งอย่างใดแล้ว ให้ศาลแจ้งให้ผู้ถูกเฝ้าระวังและ ผู้เกี่ยวข้องทราบ การยื่นค้าร้องของพนักงานอัยการตามวรรคหนึ่ง ให้ด้าเนินการโดยพนักงานคุมประพฤติจัดท้า รายงานพฤติการณ์ดังกล่าว และความเห็นเสนอต่อคณะกรรมการพิจารณาก้าหนดมาตรการป้องกัน การกระท้าความผิดซ้า เพื่อพิจารณาเสนอความเห็นต่อพนักงานอัยการ หมวด 5 มาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษ มาตรา 28 ศาลอาจมีค้าสั่งให้ใช้มาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษแก่นักโทษเด็ดขาดซึ่งศาล มีค้าพิพากษาว่าเป็นผู้กระท้าความผิดในความผิดตามที่ระบุไว้ในมาตรา 3 ตังแต่วันพ้นโทษหรือภายหลัง พ้นโทษเพื่อป้องกันการกระท้าความผิดซ้าตามที่พนักงานอัยการร้องขอ หากศาลเห็นว่ามีเหตุอันควร เชื่อได้ว่าผู้นันจะไปกระท้าความผิดตามที่ระบุไว้ในมาตรา 3 และไม่มีมาตรการอื่นใดที่อาจป้องกัน มิให้ผู้นันไปกระท้าความผิดได้ มาตรา 29 ในการจั ดท้ารายงานการก้าหนดมาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลัง พ้นโทษตามมาตรา 23 วรรคสอง หากคณะกรรมการพิจารณาก้าหนดมาตรการป้องกันการกระท้า ความผิดซ้าเห็นว่ามีความจ้าเป็นที่จะต้องขอให้ศาลมีค้าสั่งให้ใช้มาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษกับนักโทษ เด็ดขาดรายใดเพื่อไม่ให้ผู้นั นไปกระท้าความผิดตามที่ระบุไว้ในมาตรา 3 ให้คณะกรรมการดังกล่าวเสนอ รายงานพร้อมทังความเห็นต่อพนักงานอัยการเพื่อพิจารณาด้าเนินการต่อไปโดยให้น้ามาตรา 23 และมาตรา 24 มาใช้บังคับโดยอนุโลม ในกรณีที่คณะกรรมการพิจารณาก้าหนดมาตรการป้องกันการกระท้าความผิดซ้าเห็นว่า มีความจ้าเป็นที่จะต้องขอให้ศาลมีค้าสั่งให้ใช้มาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษตามวรรคหนึ่งร่วมกับการก้าหนด มาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษเมื่อครบก้าหนดการคุมขังต่อเนื่องกันไป ้ หนา 15 ่ เลม 139 ตอนที่ 66 ก ราชกิจจานุเบกษา 25 ตุลาคม 2565

ให้คณะกรรมการดังกล่าวเสนอรายงานพร้อมทังความเห็นต่อพนักงานอัยการเพื่อพิจารณาด้าเนินการ ต่อไป โดยให้น้ามาตรา 23 และมาตรา 24 มาใช้บังคับโดยอนุโลม หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดท้ารายงานของคณะกรรมการพิจารณาก้าหนด มาตรการป้องกันการกระท้าความผิดซ้าและกา รพิจารณายื่นค้าร้องของพนักงานอัยการตามมาตรานี ให้เป็นไปตามที่ก้าหนดในกฎกระทรวงหรือข้อบังคับของอัยการสูงสุด แล้วแต่กรณี มาตรา 30 ในระหว่างการด้าเนินการตามมาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลัง พ้นโทษตามมาตรา 22 หากมีเหตุที่จะขอให้ศาลมีค้าสั่งก้าหนดมาตรการคุม ขังภายหลังพ้นโทษ ตามมาตรา 28 หรือผู้ถูกเฝ้าระวังฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลัง พ้นโทษ ให้พนักงานคุมประพฤติเสนอความเห็นต่อพนักงานอัยการเพื่อพิจารณายื่นค้าร้องต่อศาล ในท้องที่ที่ผู้ถูกเฝ้าระวังมีที่อยู่หรือท้องที่ที่พบตัวผู้ถูก เฝ้าระวังเพื่อขอให้ศาลมีค้าสั่งให้ใช้มาตรการคุมขัง ภายหลังพ้นโทษแก่ผู้ถูกเฝ้าระวังเพื่อป้องกันการกระท้าความผิดซ้า พนักงานคุมประพฤติอาจเสนอความเห็นต่อพนักงานอัยการเพื่อพิจารณาหรือพนักงานอัยการ เห็นสมควรอาจขอให้ศาลมีค้าสั่งให้ใช้มาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษร่วมกับกำรก้าหนดมาตรการ เฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษเมื่อครบก้าหนดการคุมขังต่อเนื่องกันไปก็ได้ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการท้าความเห็นของพนักงานคุมประพฤติและการพิจารณา ยื่นค้าร้องของพนักงานอัยการตามมาตรานี ให้เป็นไปตามที่ก้าหนดในกฎกระทรวงหรือข้อบังคับ ขอ งอัยการสูงสุด แล้วแต่กรณี มาตรา 31 เมื่อศาลได้รับค้าร้องของพนักงานอัยการตามมาตรา 29 หรือมาตรา 30 ให้ศาลไต่สวนค้าร้องโดยให้น้ามาตรา 25 มาใช้บังคับโดยอนุโลม ในวันไต่สวนถ้าผู้ถูกเฝ้าระวังไม่มาศาลตามหมายเรียกหรือตามนัดโดยไม่มีเหตุอันสมควร จงใจไม่รับหมาย เรียก ได้หลบหนีไปหรือมีเหตุอันควรเชื่อได้ว่าจะหลบหนี ให้ศาลมีอ้านาจออกหมายจับ เพื่อด้าเนินการต่อไป และให้น้ามาตรา 38 วรรคสอง เรื่องการควบคุมตัวผู้ถูกจับมาใช้บังคับโดยอนุโลม มาตรา 32 ในการพิจารณาค้าร้องของพนักงานอัยการตามมาตรา 29 วรรคหนึ่ง ศาลอาจสั่งให้ใช้มาตรการคุมขังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษมีก้าหนดระยะเวลาเพียงเท่าที่จ้าเป็น เพื่อป้องกันมิให้ผู้นั นกระท้าความผิดซ้าซึ่งต้องไม่เกินสามปีนับแต่วันที่ผู้นันพ้นโทษ ในการพิจารณาค้าร้องของพนักงานอัยการตามมาตรา 29 วรรคสอง ศาลอาจสั่งให้ใช้ มาตรการคุ มขังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษมีก้าหนดระยะเวลาเท่าที่จ้าเป็นเพื่อป้องกันมิให้ผู้นัน ้ หนา 16 ่ เลม 139 ตอนที่ 66 ก ราชกิจจานุเบกษา 25 ตุลาคม 2565

ไปกระท้าความผิดซ้าซึ่งต้องไม่เกินสามปีนับแต่วันพ้นโทษ หรือมีค้าสั่งให้ใช้มาตรการเฝ้าระวังนักโทษ เด็ดขาดภายหลังพ้นโทษเมื่อครบก้าหนดการคุมขังต่อเนื่องกันไปตามที่พนักงานอัยการร้องข อก็ได้ โดยให้ น้าหมวด 3 มาตรการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระท้าความผิด มาใช้บังคับโดยอนุโลม แต่เมื่อนับระยะเวลาทังหมด รวมกันแล้ว จะต้องมีระยะเวลาไม่เกินสิบปีนับแต่วันที่ผู้นันพ้นโทษ มาตรา 33 ในการพิจารณาค้าร้องของพนักงานอัยการตามมาตรา 30 วรรคหนึ่ง ศาลอาจสั่งให้ ใช้มาตรการคุมขังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษแก่ผู้ถูกเฝ้าระวังโดยมีก้าหนดระยะเวลา เพียงเท่าที่จ้าเป็นเพื่อป้องกันมิให้ผู้นันกระท้าความผิดซ้า ซึ่งต้องไม่เกินสามปีนับแต่วันที่ผู้ถูกเฝ้าระวัง ถูกควบคุมตัว แต่เมื่อนับระยะเวลาที่ศาลเคยมีค้าสั่งให้ใช้มาตรการป้องกัน การกระท้าความผิดซ้าและ ระยะเวลาในครังนีทังหมดรวมกันแล้ว จะต้องมีระยะเวลาไม่เกินสิบปีนับแต่วันที่ผู้นันพ้นโทษ ในกรณี เช่นว่านี ให้ถือว่าค้าสั่งการใช้มาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษของศาลสิ นสุดลง ในการพิจารณาค้าร้องของพนักงานอัยการตามมาตรา 30 วรรคสอง ศาลอาจสั่งให้ใช้ มาตรการคุมขังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษแก่ผู้ถูกเฝ้าระวังโดยมีก้าหนดระยะเวลาเพียงเท่าที่จ้าเป็น เพื่อป้องกันมิให้ผู้นั นกระท้าความผิดซ้า ซึ่งต้องไม่เกินสามปีนับแต่วันที่ผู้ถูกเฝ้าระวังถูกควบคุมตัว หรือ มีค้าสั่งให้ใช้มาตรการเฝ้าระวั งนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษเมื่อครบก้าหนดการคุมขังดังกล่าว ต่อเนื่องกันไปตามที่พนักงานอัยการร้องขอก็ได้ โดยให้น้าหมวด 3 มาตรการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระท้า ความผิด มาใช้บังคับโดยอนุโลม แต่เมื่อนับระยะเวลาที่ศาลเคยมีค้าสั่งให้ใช้มาตรการป้องกันการกระท้า ความผิดซ้าและระ ยะเวลาในครังนี ทังหมดรวมกันแล้ว จะต้องมีระยะเวลาไม่เกินสิบปีนับแต่วันที่ ผู้นั นพ้นโทษ มาตรา 34 ให้กรมราชทัณฑ์เป็นผู้รับผิดชอบในการด้าเนินการบังคับตามค้าสั่งคุมขัง ภายหลังพ้นโทษและให้น้ากฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการกักกันตามประมวลกฎหมายอาญา มาใช้บังคั บโดยอนุโลม ผู้ใดถูกค้าสั่งให้คุมขังภายหลังพ้นโทษ ให้กรมราชทัณฑ์คุมขังไว้ในสถานที่คุมขังที่มิใช่เรือนจ้า และจะปฏิบัติต่อผู้ถูกคุมขังเสมือนเป็นผู้กระท้าความผิดมิได้ ในกรณีที่พฤติการณ์เปลี่ยนแปลงไป หรือเมื่อครบก้าหนดหกเดือนนับแต่วันที่เริ่มมีการคุมขัง ภายหลัง พ้นโทษและในทุกรอบหกเดือน ให้คณะกรรมการพิจารณาก้าหนดมาตรการป้องกันการกระท้า ความผิดซ้าพิจารณาเสนอความเห็นต่อพนักงานอัยการเพื่อพิจารณายื่นค้าร้องต่อศาลให้มีค้าสั่งแก้ไข ้ หนา 17 ่ เลม 139 ตอนที่ 66 ก ราชกิจจานุเบกษา 25 ตุลาคม 2565

เพิ่มเติม ลดหรือขยายระยะเวลา หรือยกเลิกค้าสั่งคุมขังภายหลังพ้นโทษหรือเปลี่ยนค้าสั่งคุมขังภายหลั ง พ้นโทษเป็นค้าสั่ง เฝ้าระวังแทนก็ได้ มาตรา 35 เมื่อศาลได้มีค้าสั่งคุมขังผู้ถูกเฝ้าระวัง ถ้าผู้นันยังมิได้รับการคุมขังก็ดีหรือได้รับ การคุมขังแต่ยังไม่ครบถ้วนโดยหลบหนีก็ดี ถ้าพ้นก้าหนดสามปีนับแต่วันที่ศาลมีค้าสั่งหรือนับแต่วันที่ ผู้นั นหลบหนีระหว่างเวลาที่ต้องคุมขัง เป็นอันล่วงเลยการคุมขัง จะคุมขังผู้นันไม่ได้ มาตรา 36 ก่อนครบก้าหนดเวลาคุมขังภายหลังพ้นโทษ หากศาลไม่ได้มีค้าสั่งให้ใช้ มาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษต่อเนื่องจากการคุมขังตามมาตรา 32 วรรคสอง หรือมาตรา 3 3 วรรคสอง พนักงานอัยการอาจยื่นค้าร้องต่อศาลก่อนครบก้าหนดการคุมขังเพื่อให้ศาล มีค้าสั่งให้ใช้มาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษแก่ผู้ถูกคุมขังเมื่อครบก้าหนดการคุมขังได้ แต่ศาลอาจมีค้าสั่งดังกล่าวภายหลังครบก้าหนดการคุมขังก็ได้ และให้น้าหมวด 3 มาตรการแก้ ไขฟื้นฟู ผู้กระท้าความผิด มาใช้บังคับโดยอนุโลม หมวด 6 การคุมขังฉุกเฉิน มาตรา 37 กรณีมีเหตุอันควรเชื่อได้ว่าผู้ถูกเฝ้าระวังจะกระท้าความผิดตามที่ระบุไว้ ในมาตรา 3 และมีเหตุฉุกเฉิน หากไม่มีมาตรการอื่นใดที่อาจป้องกันมิให้ผู้ถูกเฝ้าระวังกระท้าความผิด ดังกล่ำวได้ เมื่อพนักงานอัยการร้องขอ ศาลอาจสั่งคุมขังฉุกเฉินผู้ถูกเฝ้าระวังได้ไม่เกินเจ็ดวันนับแต่วันที่ ศาลมีค้าสั่ง มาตรา 38 ถ้าปรากฏเหตุตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 37 ให้พนักงานคุมประพฤติเสนอ ความเห็นต่อพนักงานอัยการเพื่อพิจารณายื่นค้าร้องต่อศาลในท้องที่ที่ผู้ถูก เฝ้าระวังมีที่อยู่หรือท้องที่ ที่พบตัวผู้ถูกเฝ้าระวังขอให้ศาลมีค้าสั่งคุมขังฉุกเฉิน ก่อนที่ศาลจะมีค้าสั่งตามวรรคหนึ่ง ให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือต้ารวจจับผู้ถูกเฝ้าระวัง ตามมาตรา 78 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา แต่ห้ามควบคุมผู้ถูกจับเกินกว่า สี่สิบแปด ชั่วโมงนับแต่เวลาที่ผู้ถูกจับมาถึงที่ท้าการของพนักงานฝ่ายปกครองหรือต้ารวจ และเมื่อศาล มีค้าสั่งให้คุมขังฉุกเฉินผู้ถูกเฝ้าระวังแล้ว ให้กรมราชทัณฑ์น้าตัวผู้ถูกเฝ้าระวังไปคุมขังฉุกเฉินตามค้าสั่งศาล ้ หนา 18 ่ เลม 139 ตอนที่ 66 ก ราชกิจจานุเบกษา 25 ตุลาคม 2565

ต่อไป กรณีเช่นว่านี ไม่ท้าให้ค้าสั่งตามมาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ด ขาดภายหลังพ้นโทษสินผลไป และ ให้ด้าเนินการตามมาตรการเฝ้าระวังดังกล่าวต่อไปภายหลังพ้นจากการคุมขังฉุกเฉิน หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการท้าความเห็นของพนักงานคุมประพฤติและการพิจารณา ยื่นค้าร้องของพนักงานอัยการตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่ก้าหนดในกฎกระทรวงหรือข้อบังคับของ อัยการสูงสุด แล้วแต่กรณี มาตรา 39 ให้ศาลพิจารณาค้าร้องของพนักงานอัยการโดยเร็ว ถ้าเป็นที่พอใจว่ากรณีมีเหตุ ตามที่บัญญัติในมาตรา 37 ให้ศาลมีค้าสั่งคุมขังฉุกเฉินผู้ถูกเฝ้าระวังได้ ผู้ถูกเฝ้าระวังอาจยื่นค้าร้องขอ ฝ่ายเดียวเพื่อให้ศาลยกเลิกค้าสั่งนันเสีย ถ้าศาลมีค้าสั่งยกเลิก ค้าสั่งคุมขังฉุกเฉิน ค้าสั่งเช่นว่านีให้เป็นที่สุด หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการมีค้าสั่งของศาลตามมาตรานี ให้เป็นไปตามที่ก้าหนด ในข้อบังคับของประธานศาลฎีกาโดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ศา ลฎีกา มาตรา 40 ให้กรมราชทัณฑ์เป็นผู้รับผิดชอบในการด้าเนินการบังคับตามค้าสั่งคุมขังฉุกเฉิน และให้น้ากฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการกักกันตามประมวลกฎหมายอาญามาใช้บังคับโดยอนุโลม มาตรา 41 เมื่อศาลมีค้าสั่งคุมขังฉุกเฉินแล้ว ให้พนักงานคุมประพฤติด้าเนินการให้มี การเสนอความเห็นไปยังพนักงานอัยการเพื่อพิจารณาเสนอต่อศาลให้มีค้าสั่งแก้ไขเพิ่มเติมมาตรการเฝ้าระวัง นักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษที่ศาลมีค้าสั่งตามหมวด 4 หรือเพื่อเสนอต่อศาลให้มีค้าสั่งให้ใช้ มาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษตามหมวด 5 เพื่อป้องกันผู้ถูกคุมขังฉุกเฉิ นกระท้าความผิดซ้า หมวด 7 การอุทธรณ์ มาตรา 42 ค้าสั่งศาลตามหมวด 3 มาตรการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระท้าความผิด หมวด 4 มาตรการเฝ้าระวังนักโทษเด็ดขาดภายหลังพ้นโทษ และหมวด 5 มาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษ ในกรณีที่ศาลมีค้าสั่งยกค้าร้องของพนักงานอัยการ ให้เป็นที่สุด ส่วนค้าสั่งตามที่พนักงานอัยการร้องขอ ให้อุทธรณ์ได้ภายในก้าหนดหนึ่งเดือนนับแต่วันที่ศาลมีค้าสั่ง การยื่นอุทธรณ์ไม่เป็นการทุเลาการบังคับตามค้าสั่งของศาลชั นต้น ค้าสั่งศาลชั นอุทธรณ์ ให้เป็นที่สุด ้ หนา 19 ่ เลม 139 ตอนที่ 66 ก ราชกิจจานุเบกษา 25 ตุลาคม 2565

บทเฉพาะกาล มาตรา 43 ให้น้าพระราชบัญญัตินี ไปใช้บังคับแก่บรรดาคดีที่โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษ ผู้กระท้าความผิดในความผิดตามที่ระบุไว้ในมาตรา 3 ที่ค้างพิจารณาอยู่ในศาล และกรณีที่จะมี การปล่อยตัวนักโทษเด็ดขาดซึ่งเป็นผู้กระท้าความผิดตามที่ระบุไว้ในมาตรา 3 อยู่ในวันก่อนวันที่ พระราชบัญญั ตินี ใช้บังคับ ผู้รับสนองพระ บรม ราชโองการ พลเอก ประ ยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ้ หนา 20 ่ เลม 139 ตอนที่ 66 ก ราชกิจจานุเบกษา 25 ตุลาคม 2565

หมายเหตุ : - เหตุผลในการประกาศใช้พระราช บัญญัติ ฉบับนี คือ เนื่องจากผู้กระท้าความผิดอาญา บางประเภทที่เกี่ยวข้องกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง เช่น การข่มขืนกระท้าช้าเรา การกระท้าความผิด ทางเพศกับเด็ก การฆาตกรรม การท้าร้ายจนเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย การท้าร้ายร่างกายผู้อื่น จนเป็นเหตุให้รับอันตรายสาหัส รวมทังการน้าตัวบุคคลไปเรียกค่าไถ่ เมื่อถูกจ้าคุกจนพ้นโทษและได้รับ การปล่อยตัวสู่สังคมแล้ว ถึงแม้ ว่าจะมีการติดตามจา กเจ้าพนักงานฝ่ายปกครองหรือต้ารวจบ้างแต่ไม่มี สภาพ บังคับเป็นกฎหมายและไม่มีประสิทธิผลในการป้องกันการกระท้าความผิดซ ้า ผู้กระท้าความผิดเหล่านี ส่วนหนึ่ง ยังมีแนวโน้มที่จะกระท้าความผิดในรูปแบบเดียวกันหรือรูปแบบใกล้เคียงกันซ ้าอีก สมควรมีกฎหมายเฉพาะ ที่ก้าหนดมาตรการ ป้องกันการกระท้าความผิดซ ้าในความผิดดังกล่าว โดยการก้าหนดให้มีมาตรการแก้ไขฟื้นฟู ผู้กระท้าความผิด มาตรการเฝ้าระวังภายหลังพ้นโทษ และมาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษ เพื่อป้องกันสังคม และผู้เสียหายจากการกระท้าความผิดที่อาจเกิดขึนอีก และเพื่อส่งเสริมการแก้ไขฟื้นฟูผู้ กระท้าความผิด โดยค้านึงถึงสิทธิและเสรีภาพของผู้ต้องค้าสั่งดังกล่าวอย่างเหมาะสม จึงจ้าเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี ้ หนา 21 ่ เลม 139 ตอนที่ 66 ก ราชกิจจานุเบกษา 25 ตุลาคม 2565