Sat Oct 15 2022 00:00:00 GMT+0000 (Coordinated Universal Time)

พระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2565


พระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2565

พระราช บัญญัติ ตารวจแห่งชาติ พ.ศ. 2565 พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ไว้ ณ วันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 25 6 5 เป็นปีที่ 7 ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยตำรวจแห่งชาติ พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 26 ประกอบกับมาตรา 27 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทาได้ โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เหตุผลและความจาเป็นในการจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลตา มพระราชบัญญัตินี้ เพื่อให้ การบริหารงานบุคคลของข้าราชการตารวจเป็นไปตามระบบคุณธรรม มีมาตรการป้องกันมิให้ผู้ใด ใช้อานาจหรือกระทำการโดยมิชอบ และให้ข้าราชการตารวจประพฤติปฏิบัติตนเหมาะสมแก่เกียรติศักดิ์ ของตารวจ และอยู่ในจริยธรรมและจรรยาบรรณของตารวจ และเพื่ อให้เป็นไปตามแนวทางปฏิรูปประเทศ ตามมาตรา 258 ง. ด้านกระบวนการยุติธรรม (4) ซึ่งการตราพระราชบัญญัตินี้สอดคล้องกับเงื่อนไข ที่บัญญัติไว้ในมาตรา 26 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยแล้ว ้ หนา 1 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและยินย อม ของรัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “ พระราชบัญญัติตารวจแห่งชาติ พ.ศ. 2565 ” มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป มาตรา 3 ให้ยกเลิก (1) พระราชบัญญัติตารวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 (2) พระ ราชบัญญัติตารวจแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 (3) พระราชบัญญัติตารวจแห่งชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2558 (4) พระราชบัญญัติตารวจแห่งชาติ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 (5) ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 88/2557 เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเติม กฎหมายว่าด้วยตำรวจแห่งชาติ ลงวันที่ 10 กรกฎาคม พุทธศักราช 2557 (6) ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 111/2557 เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเติม กฎหมายว่าด้วยตำรวจแห่งชาติ ลงวันที่ 21 กรกฎาคม พุทธศักราช 2557 (7) ประกาศคณะรักษาความสง บแห่งชาติ ฉบับที่ 114/2557 เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเติม กฎหมายว่าด้วยตำรวจแห่งชาติ ลงวันที่ 21 กรกฎาคม พุทธศักราช 2557 (8) คาสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 44/2558 เรื่อง การแก้ไขปัญหา การบริหารงานบุคคลของข้าราชการตารวจ ลงวันที่ 4 ธันวาค ม พุทธศักราช 2558 (9) คาสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 7/2559 เรื่อง การกาหนดตาแหน่ง ของข้าราชการตารวจซึ่งมีอำนาจหน้าที่ในการสอบสวน ลงวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2559 (10) คาสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 21/2559 เรื่อง กา รปฏิบัติราชการ ของสำนักงานตารวจแห่งชาติ ลงวันที่ 26 เมษายน พุทธศักราช 2559 (11) คาสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 7/2560 เรื่อง การปรับปรุงระบบ การพิจารณาแต่งตั้งของข้าราชการตารวจ ลงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2560 มาตรา 4 ในพระราช บัญญัตินี้ ้ หนา 2 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

“ ข้าราชการตารวจ ” หมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับการบรรจุและแต่งตั้งตามพระราชบัญญัตินี้ โดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณหมวดเงินเดือนในสานักงานตารวจแห่งชาติ และให้หมายความ รวมถึงข้าราชการในสานักงานตารวจแห่งชาติซึ่งสานักงานตารวจแห่งชาติแต่งตั้งหรือสั่งให้ปฏิบัติหน้าที่ ราชการตารวจโดยได้รับเงินเดือนจากส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐด้วย “ ประธานกรรมการ ” หมายความว่า ประธานกรรมการนโยบายตำรวจแห่งชาติ “ กรรมการ ” หมายความว่า กรรมการนโยบายตำรวจแห่งชาติ “ กองทุน ” หมายความว่า กองทุนเพื่อการสืบสวน สอบสวน การป้องกันและปราบปราม การกระทำความผิดทางอาญา “ กองบัญชาการ ” หมายความรวมถึงส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่า กองบัญชาการด้วย “ กองบังคับกา ร ” หมายความรวมถึงส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่า กองบังคับการด้วย มาตรา 5 ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และมีอานาจออกกฎกระทรวง เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับไ ด้ ลักษณะ 1 บททั่วไป มาตรา 6 สำนักงานตารวจแห่งชาติเป็นส่วนราชการมีฐานะเป็นนิติบุคคลอยู่ในบังคับบัญชา ของนายกรัฐมนตรี และมีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้ (1) รักษาความปลอดภัยสำหรับองค์พระมหากษัตริย์ พระราชินี พระรัชทายาท ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ พระบรมวงศานุวงศ์ ผู้แทนพระองค์ และพระราชอาคันตุกะ (2) ดูแล ควบคุม และกำกับการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจซึ่งปฏิบัติการ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและกฎหมายอื่น (3) ป้องกันและปราบปรามการกระทำความผิดทางอาญา (4) รักษาความสงบเรียบร้อย ความปลอดภัยขอ งประชาชน และความมั่นคงของราชอาณาจักร ้ หนา 3 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

(5) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นหน้าที่และอำนาจของข้าราชการตารวจหรือ สำนักงานตารวจแห่งชาติ (6) ช่วยเหลือการพัฒนาประเทศตามที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย (7) ปฏิบัติการอื่นใดเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้การปฏิบัติการตาม หน้าที่และอำนาจ ตาม (1) (2) (3) (4) หรือ (5) เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ หน้าที่และอำนาจตามวรรคหนึ่ง ไม่เป็นการตัดหน้าที่และอำนาจขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นในการรักษาความสงบเรียบร้อยและการจัดการจราจรภายในเขตพื้นที่ขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ในกรณีที่มีกฎหมายกาหนดความผิดทางอาญาขึ้นสาหรับการกระทาใดเป็นการเฉพาะ และ ตกอยู่ภายใต้หน้าที่และอำนาจของข้าราชการตารวจหรือสานักงานตารวจแห่งชาติตาม (3) (4) หรือ (5) จะตราพระราชกฤษฎีกาโอนหน้าที่และอานาจตาม (3) (4) หรือ (5) เฉพาะในส่วนที่ เกี่ยวกับค วามผิดทางอาญาดังกล่าวทั้งหมดหรือบางส่วน ให้เป็นหน้าที่และอานาจของหน่วยงานหรือ พนักงานเจ้าหน้าที่อื่นใดก็ได้ ในกรณีเช่นนั้น ให้ข้าราชการตารวจและสำนักงานตารวจแห่งชาติ พ้นจากหน้าที่และอำนาจดังกล่าวทั้งหมดหรือบางส่วน เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น และ ให้ถือว่าพนักงานเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานตามที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวเป็นพนักงาน ฝ่ายปกครองหรือตารวจ พนักงานสอบสวน หรือพนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจชั้นผู้ใหญ่ตามประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ ตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว มาตรา 7 ให้สานักงานตารวจแห่งชาติจัดระบบการบริหาร การปฏิบัติงานด้านการป้องกัน และปราบปรามการกระทำความผิดทางอาญา การรักษาความสงบเรียบร้อย และการรักษาความปลอดภัย ของประชาชนให้เหมาะสมกับความจาเป็นของแต่ละท้องถิ่นและชุมชน โดยต้องให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น องค์กรภาคเอกชน และชุมชนมีส่วนร่วม ทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับนโยบาย งบประมาณ และอาสาสมัคร ตลอดจนการติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงานตารวจ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ต.ช. กำหนด ในกรณีที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจั ดสรรเงินอุดหนุนให้แก่สถานีตำรวจใด ให้ใช้ เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตารวจและกิจการในสถานีตารวจนั้น โดยไม่ต้องนำส่งคลัง เป็นรายได้แผ่นดิน ้ หนา 4 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

การมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรภาคเอกชน หรือชุมชน ตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามข้อต กลงระหว่างสานักงานตารวจแห่งชาติกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรภาคเอกชน หรือชุมชนนั้น มาตรา 8 ข้าราชการตารวจ มี 2 ประเภท ได้แก่ (1) ข้าราชการตารวจที่มียศ ได้แก่ ผู้ดารงตาแหน่งตามมาตรา 62 (2) ข้าราชการตารวจที่ไม่มียศ ได้แก่ ผู้ดารงตาแหน่งในกลุ่มสายงานตามมาตรา 61 (2) และ (5) ตามที่ ก.ตร. กาหนด การกำหนดประเภทตำแหน่ง วิธีการกำหนดตำแหน่ง คุณสมบัติและลักษณะต้องห้าม คุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่ง การบรรจุ การแต่งตั้ง การบังคับบัญชา วินั ยและการรักษาวินัย การดาเนินการทางวินัย อัตราเงินเดือน เงินประจาตาแหน่ง และเงินเพิ่มสาหรับตาแหน่ง ตลอดจน การอื่นตามที่จาเป็นสาหรับข้าราชการตารวจที่ไม่มียศตาม (2) ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา และ ในส่วนที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ที่เกี่ยวกับการพิสูจน์ หลักฐานหรือลักษณะงานอื่นในทานองเดียวกัน พระราชกฤษฎีกาต้องกาหนดให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานมีอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ มาตรา 9 วัน เวลาทำงาน วันหยุดราชการตามประเพณี วันหยุดราชการประจาปี และ การลาหยุดราชการของข้าราชการตารวจ ให้เป็นไปตามที่คณะรัฐมนตรีกาหน ดสาหรับข้าราชการ พลเรือน แต่ในกรณีจาเป็นเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ ก.ต.ช. จะกาหนดให้ข้าราชการตารวจ ต้องปฏิบัติหน้าที่ตามวัน เวลา ที่แตกต่างจากที่คณะรัฐมนตรีกาหนดก็ได้ ลักษณะ 2 การจัดระเบียบราชการในสานักงานตารวจแห่งชาติ มาตรา 10 การจัดระเบียบ ราชการในสานักงานตารวจแห่งชาติต้องเป็นไปเพื่อผลสัมฤทธิ์ ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่า และการอานวยความสะดวกและความยุติธรรม ต่อประชาชน โดยให้เป็นหน้าที่ของสานักงานตารวจแห่งชาติและผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติที่จะต้อง ดาเนินการให้ข้าราชการตารวจปฏิ บัติราชการอย่างมีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม และมีคุณภาพชีวิตที่ดี มาตรา 11 สำนักงานตารวจแห่งชาติแบ่งส่วนราชการ ดังต่อไปนี้ (1) สำนักงานผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ ้ หนา 5 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

(2) กองบัญชาการหรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่ากองบัญชาการ ภายใต้บังคับวร รคสามและมาตรา 12 การแบ่งส่วนราชการตาม (1) เป็นกองบัญชาการหรือ การจัดตั้งกองบัญชาการตาม (2) ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา และการแบ่งส่วนราชการเป็นกองบังคับการ หรือส่วนราชการหรือหน่วยงานอย่างอื่น หรือในระดับต่ำลงไป ให้ออกเป็นกฎกระทรวง และ ให้กำหนดหน้าที่และอำนาจให้ชัดเจนไว้ในพระราชกฤษฎีกาหรือกฎกระทรวงนั้น แล้วแต่กรณี ในกรณีที่มีการแบ่งส่วนราชการกองบัญชาการเป็นกองบังคับการหรือส่วนราชการหรือ หน่วยงานอย่างอื่นตามวรรคสอง การกาหนดอัตรากาลังของส่วนราชการที่ทาหน้าที่เป็นฝ่ายอำนวยการ ในกองบัญชาการนั้ นให้กระทาเพียงเท่าที่จาเป็นเพื่ออานวยความสะดวก สนับสนุน และช่วยเหลือ การปฏิบัติงานของส่วนราชการและข้าราชการตารวจที่ทำหน้าที่เป็นหน่วยปฏิบัติ มาตรา 12 เพื่อประโยชน์ในการบริการประชาชนในการอานวยความยุติธรรม การปฏิบัติงาน ด้านการป้องกันและปราบปรามการกระทาความผิดทางอาญา การรักษาความสงบเรียบร้อย และ การรักษาความปลอดภัยของประชาชน การแบ่งส่วนราชการในสานักงานตารวจแห่งชาติตามมาตรา 11 อย่างน้อยต้องมีส่วนราชการ ดังต่อไปนี้ (1) กองบัญชาการตารวจนครบาล และตารวจภูธรภาคซึ่งเป็น ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น ที่มีฐานะเทียบเท่ากองบัญชาการ โดยต้องกาหนดเขตพื้นที่ให้ชัดเจน มีหน้าที่อำนวยการ ประสานงาน และสั่งการเกี่ยวกับการสนธิกาลัง หรือสั่งให้ข้าราชการตารวจที่อยู่ในสังกัดมาปฏิบัติหน้าที่เฉพาะกิจ ภายใต้การกากับของผู้บัญชาการหรือผู้ ที่ได้รับมอบหมายจากผู้บัญชาการเป็นการเฉพาะชั่วคราว ซึ่งต้อง ไม่เกินหกเดือน เมื่อเสร็จภารกิจแล้วให้ส่งกลับต้นสังกัด (2) กองบังคับการตารวจนครบาล และตารวจภูธรจังหวัดซึ่งเป็นส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น ที่มีฐานะเทียบเท่ากองบังคับการ (3) สถานีตารวจ ให้เป็นหน้าที่และอำนาจของผู้บัญชาการในการดูแล ส่งเสริม สนับสนุน รวมทั้ง การประสานงานระหว่างหน่วยงานที่อยู่ในกำกับเพื่อให้การปฏิบัติงานของกองบังคับการหรือตารวจภูธร จังหวัดและสถานีตารวจเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาบุคลากร กากับดูแลการบริหารงานบุคคล และ ดาเนินการให้สถานีตารวจ กองบังคับการตารวจนครบาล และตารวจภูธรจังหวัดมีงบประมาณและ อุปกรณ์ในการปฏิบัติหน้าที่ที่เพียงพอตามที่กำหนดในพระราชบัญญัตินี้ และที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา ตามมาตรา 11 วรรคสอง ้ หนา 6 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและปราบปรามการกระทาความผิดทางอาญา และการรักษา ความสงบเรียบร้อยในท้องถิ่นหรือชุมชนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น กองบัญชาการตารวจนครบาลหรือ ตำรวจภูธรจังหวัดจะจัดให้มีแผนหรือมาตรการการรักษาความสงบเรียบร้อยและความปลอดภัย ของประชาชนภายในพื้นที่ให้สอดคล้องกับความต้องการของแต่ละท้องถิ่นหรือชุมชนก็ได้ ในกรณีเช่นนั้น เมื่อ ก.ต.ช. และคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแผนหรือมาตรการดังกล่าวแล้ว ให้สานักงบประมาณ และสำนักงานตารวจแห่งชาติพิจารณาจัดสรรงบประมาณให้เป็นไปตามแผนหรือมาตรการดังกล่าว ในกรณีที่สำนักงานตารวจแห่งชาติมีอัตรากำลังไม่เพียงพอ ให้จัดอัตรากาลั งให้แก่สถานีตารวจ กองบังคับการตารวจนครบาล และตารวจภูธรจังหวัดตามลำดับให้ครบถ้วนตามกรอบอัตรากาลังก่อน ในการจัดทาแผนหรือมาตรการตามวรรคสาม ให้หารือร่วมกับผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอำเภอ หัวหน้าสถานีตำรวจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และชุมชน ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง มาตรา 13 ให้แบ่งสถานีตารวจออกเป็นระดับ ดังต่อไปนี้ (1) สถานีตารวจระดับใหญ่ที่มีหัวหน้าสถานีตารวจดำรงตาแหน่งผู้กำกับการ (2) สถานีตารวจระดับกลางที่มีหัวหน้าสถานีตารวจดารงตาแหน่งผู้กำกับการหรือสารวัตรใหญ่ (3) สถานีตารวจระดับเล็กที่มีหัวหน้าสถานีตารวจดำรงตาแหน่งสารวัตร การกาหนดให้สถานีตารวจใดเป็นสถานีตารวจระดับใด ให้เป็นไปตามที่ ก.ต.ช. กาหนด โดยคานึงถึงปริมาณภาระงาน ความหนาแน่นของประชาชนในเขตรับผิดชอบ จานวนอัตรากำลัง และ สถานที่ตั้งของสถานีตารวจประกอบกัน ลักษณะ 3 คณะกรรมการนโยบายตำรวจแห่งชาติ มาตรา 14 ให้มีคณะกรรมการนโยบายตารวจแห่งชาติคณะหนึ่ง เรียกโดยย่อว่า “ ก.ต.ช. ” ประกอบด้วย (1) นายกรัฐมนตรี เป็นประธานกรรมการ (2) รองนายกรัฐมนตรีคนหนึ่งซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมาย เป็นรองประธานกรรมการ ้ หนา 7 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

(3) ปลัดกระทรวงกลาโหม ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงยุติธรรม อัยการสูงสุด เลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรม และผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ เป็นกรรมการ (4) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งกรรมการตาม (1) (2) (3) และ (5) สรรหาและคัดเลือก จา กผู้มีความเชี่ยวชาญหรือประสบการณ์ในด้านยุทธศาสตร์ ด้านกฎหมาย ด้านพัฒนาองค์กร ด้านสื่อสารมวลชนหรือด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ด้านละหนึ่งคน และผู้แทน ภาคประชาชนจำนวนหนึ่งคน (5) ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ เป็นกรรมการและเลขานุการ ให้ผู้บัญชาการหน่ วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบงานแผนยุทธศาสตร์ และข้าราชการตารวจ ซึ่งผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติแต่งตั้งจำนวนไม่เกินหนึ่งคน เป็นผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการตาม (1) (2) (3) และ (5) ต้องมาประชุมด้วยตนเอง จะมอบหมายให้บุคคลอื่นใด มาประชุมแทนมิได้ หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาและคัดเลือกกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตาม (4) ให้เป็นไป ตามระเบียบที่ ก.ต.ช. กำหนด มาตรา 15 ให้ ก.ต.ช. มีหน้าที่และอานาจกาหนดนโยบายและยุทธศาสตร์การบริหาร ราชการตารวจ และกำกับดูแลสานักงานตารวจแห่งชาติให้ปฏิบัติตามกฎหมาย ยุทธศาสตร์ชา ติ นโยบาย มติคณะรัฐมนตรี และระเบียบแบบแผน รวมทั้งให้มีหน้าที่และอำนาจดังต่อไปนี้ด้วย (1) ออกระเบียบ ข้อบังคับ ข้อกาหนด ประกาศ หรือมีมติเกี่ยวกับการบริหารราชการตารวจ วิธีปฏิบัติราชการของข้าราชการตารวจ การพัฒนาระบบงานตารวจ และการติดตามประเมินผล การปฏิบัติราชการของสำนักงานตารวจแห่งชาติเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ (2) เสนอแนะให้มีการตราพระราชกฤษฎีกาตามมาตรา 6 วรรคสาม (3) กาหนดกระบวนการและขั้นตอนในการกระจายอานาจระหว่างสานักงานตารวจแห่งชาติ กับกองบัญชาการหรือตารวจภูธรภาค กองบังคับการหรือตารว จภูธรจังหวัด และองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น (4) ตรวจสอบการปฏิบัติตามนโยบายการบริหารราชการตารวจให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ และกฎหมายอื่น ในการนี้ ให้มีคณะกรรมการตรวจสอบและติดตามการบริหารงานตารวจของกรุงเทพมหานคร ้ หนา 8 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

จังหวัด และสถานีตารวจต่าง ๆ เพื่อตรวจสอ บ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานของข้าราชการตารวจ ในเขตพื้นที่ดังกล่าว แล้วรายงาน ก.ต.ช. เพื่อพิจารณาดาเนินการตามควรแก่กรณีต่อไป องค์ประกอบ การดารงตาแหน่ง การพ้นจากตาแหน่ง หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหา และอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบและติดตามการบริหารงานตารวจ ให้เป็นไปตามระเบียบ ที่ ก.ต.ช. กำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา (5) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติงานตามที่ ก.ต.ช. มอบหมาย (6) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมายหรือตามที่มีกฎหมาย กำหนดไว้ให้ เป็นอำนาจหน้าที่ของ ก.ต.ช. มาตรา 16 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ (1) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด (2) มีอายุไม่ต่ากว่าสี่สิบปี (3) ไม่เป็นผู้ดำรงตาแหน่งทางการเมืองหรือดารงตาแหน่งใด ๆ ในพรรคการเมือง (4) ไม่เ ป็นคนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ คนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน ไม่สมประกอบ (5) ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย (6) ไม่เป็นผู้เคยได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรับ ความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (7) ไม่เป็นผู้เคยถู กลงโทษไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ (8) ไม่เป็นผู้เคยถูกลงโทษไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากงานเพราะทุจริตต่อหน้าที่ หรือถือว่ากระทำการทุจริตและประพฤติมิชอบในการปฏิบัติงาน (9) ไม่เคยต้องคาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินเพราะร่ารวย ผิดปกติหรือมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ (10) ไม่เป็นกรรมการผู้จัดการ หรือผู้จัดการ หรือดำรงตำแหน่งอื่นใดที่มีลักษณะงาน คล้ายคลึงกันนั้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท ้ หนา 9 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

มาตรา 17 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดารงตาแหน่งคราวละสี่ปีและอาจได้รับ เลือกใหม่ได้ แต่จะดารงตาแหน่งเกินสองวาระติดต่อกันไม่ได้ ให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตาแหน่งตามวาระปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่ากรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับเลือกใหม่เข้ารับหน้าที่ มาตรา 18 นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระตามมาตรา 17 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ พ้นจากตาแหน่งเมื่อ (1) ตาย (2) มีอายุครบเจ็ดสิบปี (3) ลาออก (4) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 16 (5) ก.ต.ช. มีมติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของจำนวนกรรมการทั้งหมด ให้พ้นจา กตาแหน่ง เนื่องจากมีความประพฤติเสื่อมเสีย หรือมีการกระทำหรือมีคุณลักษณะไม่เหมาะสม ต่อการปฏิบัติหน้าที่กรรมการ (6) สมัครรับเลือกตั้งหรือรับเลือกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิก สภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น หรือดารงตาแหน่งรองผู้บริหารท้อง ถิ่น มาตรา 19 ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตาแหน่งก่อนครบวาระ ให้ดาเนินการ สรรหาและคัดเลือกบุคคลเป็นกรรมการแทน เว้นแต่วาระการดารงตาแหน่งของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จะเหลือไม่ถึงเก้าสิบวัน ในกรณีนี้จะไม่ดาเนินการให้มีการสรรหาก็ได้ และให้กรรมการผู้ทรงคุ ณวุฒิ ที่ดำรงตาแหน่งแทนอยู่ในตาแหน่งเท่าวาระที่เหลืออยู่ของผู้ซึ่งตนแทน ในระหว่างที่ยังมิได้สรรหาและคัดเลือกกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทนตาแหน่งที่ว่าง ให้ ก.ต.ช. ประกอบด้วยกรรมการเท่าที่เหลืออยู่ การดารงตาแหน่งของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่ดารงตาแหน่งแทน หากมีกา หนดเวลาไม่ถึงสองปี ไม่ให้นับเป็นวาระการดารงตาแหน่งตามมาตรา 17 มาตรา 20 ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจะพ้นจากตาแหน่งตามวาระ ให้ดาเนินการ สรรหาและคัดเลือกกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิใหม่ภายในเก้าสิบวันก่อนวันครบวาระ ้ หนา 10 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

มาตรา 21 การประชุม ก.ต.ช. ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวน กรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม ในกรณีที่ประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้รองประธานกรรมการ ทาหน้าที่ประธานในที่ประชุม ในกรณีที่ประธานกรรมการและรองประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือ ไม่อา จปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้กรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม ให้ประธานกรรมการเป็นผู้เรียกประชุม แต่ในกรณีที่กรรมการไม่น้อยกว่าหนึ่งในสาม ของจานวนกรรมการเท่าที่มีอยู่ร้องขอให้เรียกประชุม ให้ประธานกรรมการเรียกประชุมภายในเจ็ดวัน นับแต่ วันได้รับการร้องขอ ให้ ก.ต.ช. มีอำนาจออกข้อบังคับว่าด้วยการประชุมและการลงมติของ ก.ต.ช. และ ของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการตามมาตรา 15 (4) และ (5) ก.ต.ช. ต้องมีการประชุมอย่างน้อยปีละสี่ครั้ง ลักษณะ 4 คณะกรรมการข้าราชการตารวจ มาตรา 22 ให้มีคณะกรรมการข้าราชการตำรวจคณะหนึ่ง เรียกโดยย่อว่า “ ก.ตร. ” ประกอบด้วย (1) นายกรัฐมนตรี เป็นประธานกรรมการข้าราชการตารวจ (2) ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ เป็นรองประธานกรรมการข้าราชการตารวจ (3) เลขาธิการ ก.พ. เลขาธิการ ก.พ.ร. รองผู้บัญชาการตารวจแห่งชา ติตามลาดับอาวุโส จำนวนห้าคน และจเรตารวจแห่งชาติ เป็นกรรมการข้าราชการตารวจ (4) กรรมการข้าราชการตารวจผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งได้รับเลือกตามมาตรา 26 ดังต่อไปนี้ (ก) ผู้ซึ่งเคยรับราชการเป็นข้าราชการตารวจในตาแหน่งตั้งแต่ผู้บัญชาการหรือเทียบเท่า ขึ้นไปจำนวนสามคน แต่ต้องเป็นผู้ซึ่งพ้นจากความเป็นข้าราชการตารวจไปแล้วเกินหนึ่งปี (ข) ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งไม่เคยเป็นข้าราชการตารวจจำนวนสามคน โดยกรรมการข้าราชการ ตารวจตาม (1) (2) และ (3) หารือร่วมกันเสนอชื่อบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ตามมาตรา 24 จำนวนหกค น แล้วให้ข้าราชการตารวจเลือกให้เหลือสามคน ้ หนา 11 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

ให้ผู้บัญชาการสานักงานคณะกรรมการข้าราชการตารวจเป็นเลขานุการ และรองผู้บัญชาการ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตารวจเป็นผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการข้าราชการตารวจตาม (1) (2) และ (3) ต้องมาประชุมด้วยตนเอง จะมอบหมาย ให้บุ คคลอื่นใดมาประชุมแทนมิได้ มาตรา 23 ให้ ก.ตร. มีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้ (1) กำหนดมาตรฐานการบริหารงานบุคคลของข้าราชการตารวจให้เป็นไปตามระบบคุณธรรม และจัดระบบราชการตารวจ รวมตลอดทั้งนโยบายและมาตรฐานการอบรมและพัฒนาข้าราชการตารวจ ในการนี้ หาก ก.ต.ช. ได้กำหนดระเบียบแบบแผน นโยบาย และยุทธศาสตร์ไว้เป็นการทั่วไป การกาหนดในเรื่องดังกล่าวของ ก.ตร. ต้องสอดคล้องกับระเบียบแบบแผน นโยบาย และยุทธศาสตร์ ของ ก.ต.ช. และให้ ก.ตร. แจ้งการดาเนินการนั้นให้ ก.ต.ช. ทราบด้วย (2) ภายใต้บังคับมาตรา 77 ออกกฎ ก.ตร. ระเบียบ ข้อบังคับ ข้อกาหนด ประกาศ หรือมีมติเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ต้องไม่ กระทบกระเทือนต่ออำนาจในการแต่งตั้งและโยกย้ายของผู้บัญชาการ (3) กำหนดมาตรฐานขั้นต่าเกี่ยวกับ อัตรากาลังพล อุปกรณ์ และเครื่องมือเครื่องใช้ใน การปฏิบัติหน้าที่ของสถานีตารวจ กองบังคับการตารวจนครบาล และตารวจภูธรจังหวัด ซึ่งอย่างน้อย ต้องกาหนดอัตรากำลังพลขั้นต่าของแต่ละสายงานตามมาตรา 61 (3) ให้เพียงพอต่อการปฏิบัติหน้าที่ ในการอานวยความยุติธรรมแล ะให้บริการแก่ประชาชน โดยการกาหนดจานวนพนักงานสอบสวน ในสถานีตารวจ กองบังคับการตารวจนครบาล และตารวจภูธรจังหวัด ให้คานึงถึงปริมาณงาน และ ต้องจัดให้มีพนักงานสืบสวนในการสอบสวนจำนวนที่เพียงพอ และให้มีผู้ช่วยพนักงานสอบสวนในจำนวน ที่เหมาะสมกับปริมาณงาน (4) พิจำรณาให้ความเห็นชอบการคัดเลือกข้าราชการตารวจเพื่อดาเนินการแต่งตั้งผู้บัญชาการ ตารวจแห่งชาติตามที่นายกรัฐมนตรีเสนอ (5) กำกับดูแลการแต่งตั้งและโยกย้ายข้าราชการตารวจของผู้บังคับบัญชาทุกขั้นตอนให้เป็นไป ตามพระราชบัญญัตินี้ และกฎ ก.ตร. โดยเคร่งครัด ้ หนา 12 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

(6) ประเมิ นผลการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการตารวจเพื่อรักษาความเป็นธรรม และมาตรฐานด้านการบริหารงานบุคคล รวมทั้งการตรวจสอบและติดตามการปฏิบัติให้เป็นไป ตามพระราชบัญญัตินี้ (7) เกลี่ยอัตรากำลังข้าราชการตารวจไปให้สถานีตารวจให้เพียงพอต่อการปฏิบัติหน้าที่ และ กำกับดูแลการจัดสรรงบประมาณให้แก่ส่วนราชการในหน่วยปฏิบัติให้เพียงพอ (8) ออกระเบียบเกี่ยวกับการสอบ การบรรจุ การแต่งตั้ง การเลื่อนขั้นเงินเดือน การดาเนินการทางวินัย การออกจากราชการ และการปฏิบัติการอื่นเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล ตามพระราชบัญญัตินี้ เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี้ (9) รายงานคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาปรับปรุงเงินเดือน เงินประจาตาแหน่ง เงินเพิ่ม ค่าครองชีพ สวัสดิการ หรือประโยชน์เกื้อกูลอื่นสำหรับข้าราชการตารวจให้เหมาะสม (10) กำหนดชั้นยศที่ควรบรรจุแต่งตั้งและอัตราเงินเดือนที่ ควรได้รับสำหรับวุฒิปริญญา หรือประกาศนียบัตรต่าง ๆ (11) กำหนดอัตราค่าธรรมเนียมในการปฏิบัติการเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล ตามพระราชบัญญัตินี้ (12) พิจารณาอนุมัติแก้ไขทะเบียนประวัติเกี่ยวกับวันเดือนปีเกิด และการควบคุมเกษียณอายุ ของข้าราชการตารวจ (13) ในกรณีที่ พิจารณาเห็นว่าการปฏิบัติการเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของสานักงาน ตารวจแห่งชาติไม่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้มีมติสั่งการให้สานักงานตารวจแห่งชาติ ปฏิบัติการให้ถูกต้องเหมาะสม ถ้าสานักงานตารวจแห่งชาติไม่ปฏิบัติการตามมติดังกล่าว ให้รายงาน ต่อนายกรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาและสั่งการต่อไป ในการนี้ ให้นายกรัฐมนตรีมีอานาจสั่งให้ผู้บัญชาการ ตารวจแห่งชาติและผู้มีหน้าที่ต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามมติของ ก.ตร. ดังกล่าว พ้นจากตาแหน่งเพื่อไป ดารงตาแหน่งอื่นได้ (14) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติงานตามที่ ก.ตร. มอบหมาย (15) ปฏิบัติการอื่นตามหน้าที่และอำนาจที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้และกฎหมายอื่น กฎ ก.ตร. เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้ ้ หนา 13 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

มาตรา 24 กรรมการข้าราชการตารวจผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา 22 (4) นอกจากต้องมี คุณสมบัติตามมาตรา 22 (4) (ก) หรือ (ข) แล้วแต่กรณี แล้ว ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะ ต้องห้ามดังต่อไปนี้ด้วย (1) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด (2) มีอายุไม่ต่ากว่าสี่สิบปี (3) ไม่เป็นข้าราชการหรือพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยงานของรัฐ (4) ไม่เป็นผู้ดำรงตาแหน่งทางการเมืองหรือดา รงตาแหน่งใด ๆ ในพรรคการเมือง (5) ไม่เป็นคนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ คนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน ไม่สมประกอบ (6) ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย (7) ไม่เป็นผู้เคยได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรับ ความผิดที่ได้กระทำโดยประมา ทหรือความผิดลหุโทษ (8) ไม่เป็นผู้เคยถูกลงโทษไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ (9) ไม่เคยต้องคาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินเพราะร่ารวย ผิดปกติหรือมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ (10) ไม่เป็นกรรมการผู้จัด การ หรือผู้จัดการ หรือดำรงตำแหน่งอื่นใดที่มีลักษณะงาน คล้ายคลึงกันนั้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท กรรมการข้าราชการตารวจผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา 22 (4) (ข) ต้องมีคุณสมบัติอย่างหนึ่ง อย่างใดดังต่อไปนี้ด้วย (1) เคยรับราชการในตาแหน่งไม่ต่ากว่าอธิบดีหรือเทียบเท่า หรือไม่ต่ากว่าอธิบดีผู้พิพากษา หรือไม่ต่ากว่าอธิบดีอัยการ (2) เคยเป็นอาจารย์ประจาในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในวิชาสาขานิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ อาชญาวิทยา หรือสาขาอื่นที่เป็นประโยชน์ต่อการดา เนินงานของ ก.ตร. และ ดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ แต่ในกรณีที่ดำรงตำแหน่ง รองศาสตราจารย์ต้องดารงตาแหน่งหรือเคยดำรงตาแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปี ้ หนา 14 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

(3) ทำงานหรือเคยทำงานด้านประชาสังคมหรือคุ้มครองสิทธิมนุษยชนมาแล้วไม่น้อยกว่าสิบปี (4) ทางานหรือเคยทางานด้านสื่อสารมวลชนหรือด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาแล้วไม่น้อยกว่าสิบปี มาตรา 25 การเลือกกรรมการข้าราชการตำรวจผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา 22 (4) ให้ข้าราชการตารวจซึ่งดารงตาแหน่งตั้งแต่รองผู้กำกับการหรือเทียบเท่าขึ้นไปเป็นผู้เลือก มา ตรา 26 การเลือกกรรมการข้าราชการตำรวจผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา 22 (4) ให้ดาเนินการดังต่อไปนี้ (1) ให้ ก.ตร. มีมติเพื่อกาหนดวันเลือกกรรมการข้าราชการตารวจผู้ทรงคุณวุฒิและแต่งตั้ง คณะกรรมการ เพื่อดาเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการเลือกกรรมการข้าราชการตารวจผู้ ทรงคุณวุฒิ (2) ให้สานักงานคณะกรรมการข้าราชการตารวจประกาศรับสมัคร รวมทั้งจัดทำบัญชีรายชื่อ ผู้มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 24 ที่สมัครรับเลือกเป็นกรรมการข้าราชการตารวจ ผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา 22 (4) (ก) และทำหนังสือแจ้งประธาน ก.ตร. เพื่อ จัดให้กรรมการ ข้าราชการตารวจตามมาตรา 22 (1) (2) และ (3) ร่วมกันเสนอชื่อบุคคลเพื่อรับเลือกเป็นกรรมการ ข้าราชการตารวจผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา 22 (4) (ข) (3) ก่อนวันเลือกเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่าสิบห้าวัน ให้เลขานุการ ก.ตร. ส่งบัญชีรายชื่อ บุคคลที่สมัครรั บเลือกและบุคคลที่กรรมการข้าราชการตำรวจโดยตำแหน่งคัดเลือกตาม (2) โดยเรียงลาดับตามตัวอักษร ไปยังคณะกรรมการการเลือกตั้ง และให้คณะกรรมการการเลือกตั้ง ดำเนินการจัดให้มีการเลือกและประกาศผลการเลือกตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการ การเลือกตั้งกาหนด ซึ่งอย่ำงน้อยต้องกำหนดให้เป็นการเลือกโดยตรงและลับ โดยในหลักเกณฑ์ดังกล่าว ให้กำหนดเรื่องการคัดค้านเกี่ยวกับการเลือกและการพิจารณาคำคัดค้านด้วย (4) ให้ผู้ที่ได้รับคะแนนสูงสุดเรียงตามลาดับบัญชีรายชื่อตามมาตรา 22 (4) (ก) และ (ข) เป็นผู้ได้รับเลือกเป็นกรรมการข้ำราชการตารวจผู้ทรงคุณวุฒิ และให้ขึ้นบัญชีรายชื่อผู้ที่ได้รับคะแนน ลำดับถัดไปสำหรับ (ก) จำนวนไม่เกินสิบห้าคน และสำหรับ (ข) จำนวนไม่เกินสามคน อยู่ในบัญชีสำรอง ทั้งนี้ บัญชีสำรองให้ใช้บังคับได้ต่อไปจนกว่าจะมีการเลือกกรรมการข้าราชการตารวจผู้ทรงคุณวุ ฒิใหม่ ในกรณีที่ปรากฏว่ามีผู้ได้คะแนนเท่ากันจนเป็นเหตุให้ไม่สามารถเรียงลำดับคะแนนได้ ให้ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติจับสลากโดยเปิดเผยเพื่อเรียงลำดับก่อนหลังจนครบจำนวน ้ หนา 15 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

ห้ามผู้บังคับบัญชาหรือผู้ใดสั่งการ ข่มขู่ หรือชักจูงด้วยประการใด ๆ เพื่อให้เลือกหรือมิให้ เลือกผู้ใดผู้หนึ่งเป็นกรรมการข้าราชการตารวจผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้บังคับบัญชาผู้ใดฝ่าฝืนวรรคสาม ให้ถือว่าเป็นการกระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรงและต้องระวางโทษ ตามวรรคห้าด้วย ผู้ใดฝ่าฝืนวรรคสาม ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกกรรมการข้าราชการตารวจผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรานี้ ให้เป็นไป ตามที่กาหนดในกฎ ก.ตร. มาตรา 27 กรรมการข้าราชการตารวจผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดารงตาแหน่งสี่ปี และ ให้ดารงตาแหน่งได้เพียงวาระเดียว ให้กรรมการข้าราชการตารวจผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจา กตาแหน่งตามวาระปฏิบัติหน้าที่ต่อไป จนกว่ากรรมการข้าราชการตารวจผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับเลือกใหม่เข้ารับหน้าที่ มาตรา 28 นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระตามมาตรา 27 กรรมการข้าราชการ ตารวจผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตาแหน่งเมื่อ (1) ตาย (2) มีอายุครบเจ็ดสิบปี (3) ลาออก (4) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 24 (5) ก.ตร. มีมติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของจำนวนกรรมการทั้งหมด ให้พ้นจากตาแหน่ง เนื่องจากมีความประพฤติเสื่อมเสีย หรือมีการกระทำหรือมีคุณลักษณะไม่เหมาะสม ต่อการปฏิบัติหน้าที่กรรมการ (6) สมัครรั บเลือกตั้งหรือรับเลือกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิก สภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น หรือดารงตาแหน่งรองผู้บริหารท้องถิ่น (7) ได้รับเลือกเป็นกรรมการ ก.ร.ตร. ตามมาตรา 44 มาตรา 29 ในกรณีที่กรรมการข้าราชการตารวจผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา 22 ( 4) (ก) หรือ (ข) พ้นจากตาแหน่งก่อนครบวาระ ให้ผู้ซึ่งมีชื่ออยู่ในบัญชีสำรองในประเภทนั้นตามมาตรา 26 (4) ้ หนา 16 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

เรียงตามลาดับเป็นกรรมการข้าราชการตารวจผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา 22 (4) (ก) หรือ (ข) แทน แล้วแต่กรณี และให้อยู่ในตาแหน่งเท่าวาระที่เหลืออยู่ขอ งผู้ซึ่งตนแทน การดารงตาแหน่งของกรรมการข้าราชการตารวจผู้ทรงคุณวุฒิที่ดารงตาแหน่งแทน หากมี กำหนดเวลาไม่ถึงสองปี ไม่ให้นับเป็นวาระการดารงตาแหน่งตามมาตรา 27 มาตรา 30 ในกรณีที่กรรมการข้าราชการตารวจผู้ทรงคุณวุฒิจะพ้นจากตาแหน่งตามวาระ ให้ดาเนินการจัดให้มีการเลือกกรรมการข้าราชการตารวจผู้ทรงคุณวุฒิใหม่ภายในเก้าสิบวันก่อนวัน ครบวาระ มาตรา 31 การประชุม ก.ตร. ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวน กรรมการข้าราชการตารวจทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม ในกรณีที่ประธานกรรมการข้าราชการตำ รวจไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้รองประธานกรรมการข้าราชการตารวจทำหน้าที่ประธานในที่ประชุม ในกรณีที่ประธานกรรมการข้าราชการ ตารวจและรองประธานกรรมการข้าราชการตารวจไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้กรรมการ ข้าราชการตารวจที่มาประชุมเลือกกรรมการข้าราชการตารวจคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม ให้ประธานกรรมการข้าราชการตารวจเป็นผู้เรียกประชุม แต่ในกรณีที่กรรมการข้าราชการตารวจ ไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจำนวนกรรมการข้าราชการตำรวจเท่าที่มีอยู่ร้องขอให้เรียกประชุม ให้ประ ธานกรรมการข้าราชการตารวจเรียกประชุมภายในเจ็ดวันนับแต่วันได้รับการร้องขอ ให้ ก.ตร. มีอำนาจออกข้อบังคับว่าด้วยการประชุมและการลงมติของ ก.ตร. และ ของคณะอนุกรรมการตามมาตรา 23 (14) มาตรา 32 ในกรณีที่ ก.ตร. มีหน้าที่ตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ ให้ ผู้บัญชาการ ตารวจแห่งชาติเป็นผู้เสนอเรื่องต่อ ก.ตร. แต่ทั้งนี้ ไม่ตัดสิทธิกรรมการข้าราชการตารวจคนหนึ่งคนใด ที่จะเสนอ ลักษณะ 5 คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรมข้าราชการตำรวจ มาตรา 33 ให้มีคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรมข้าราชการตารวจคณะหนึ่ง เรียกโดย ย่อว่า “ ก.พ.ค.ตร. ” ประกอบด้วย กรรมการจำนวนเจ็ดคนซึ่งนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งตามมาตรา 35 ้ หนา 17 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

กรรมการ ก.พ.ค.ตร. ต้องทำงานเต็มเวลา มาตรา 34 ผู้จะได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ ก.พ.ค.ตร. ต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ (1) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด (2) มีอายุไม่ต่ากว่าสี่สิบห้าปีและไม่เกินเจ็ดสิบปีในวันที่ 1 มกราคมของปีที่มีการคัดเลือก (3) มีคุณสมบัติอื่นอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (ก) เคยรับราชการในตาแหน่งไม่ต่ากว่าอธิบดีหรือเทียบเท่า (ข) เคยรับราชการเป็นข้าราชการตารวจในตาแหน่งตั้งแต่ผู้บัญชาการหรือเทียบเท่าขึ้นไป (ค) เคยรับราชการในตาแหน่งไม่ต่ากว่าผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์หรือเทียบเท่า หรือ ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองชั้นต้น (ง) เคยรับราชการในตาแหน่งไม่ต่ากว่าอัยการพิเศษฝ่ายหรือเทียบเท่า (จ ) เคยเป็นผู้สอนวิชาในสาขานิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ หรือวิชา ที่เกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดินในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ และดารงตาแหน่งหรือเคยดารงตาแหน่ง ไม่ต่ากว่ารองศาสตราจารย์ แต่ในกรณีที่ดารงตาแหน่งรองศาสตราจารย์ ต้องดารงตาแหน่งหรือ เคย ดา รงตาแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปี มาตรา 35 ให้มีคณะกรรมการคัดเลือกกรรมการ ก.พ.ค.ตร. ประกอบด้วย ประธาน ศาลปกครองสูงสุดเป็นประธาน รองประธานศาลฎีกาที่ได้รับมอบหมายจากประธานศาลฎีกาหนึ่งคน กรรมการข้าราชการตารวจผู้ทรงคุณวุฒิหนึ่งคนซึ่งได้รับเลือกโดย ก.ตร. และให้เลขาธิการ ก.พ. เป็นกรรมการและเลขานุการ ให้คณะกรรมการคัดเลือกมีหน้าที่คัดเลือกบุคคลผู้มีคุณสมบัติตามมาตรา 34 จานวนเจ็ดคน โดยต้องคัดเลือกผู้มีคุณสมบัติตามมาตรา 34 (3) (ข) อย่างน้อยหนึ่งคน และตามมาตรา 34 (3) (ค) หรือ (ง) อย่างน้อยหนึ่งคน โดยให้คัดเลือกบุคคลสำรองไว้ด้วยไม่น้อยกว่าสามคน ทั้งนี้ เว้นแต่จะไม่มี บุคคลในประเภทนั้น ๆ ให้คัดเลือก เมื่อพ้นกาหนดเวลาตามมาตรา 37 วรรคหนึ่งหรือวรรคสอง แล้วแต่กรณี แล้ว ให้ผู้ได้รับ คัดเลือกตามวรรคสองประชุมและเลือกกันเองเป็นประธา นกรรมการ ก.พ.ค.ตร. คนหนึ่ง และกรรมการ และเลขานุการคนหนึ่ง แล้วเสนอให้นายกรัฐมนตรีเพื่อแต่งตั้ง ให้ผู้บัญชาการสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตารวจเป็นผู้ช่วยเลขานุการของ ก.พ.ค.ตร. ้ หนา 18 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกกรรมการ ก.พ.ค.ตร. ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการคัด เลือก กำหนด มาตรา 36 กรรมการ ก.พ.ค.ตร. ต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 24 วรรคหนึ่ง (4) (5) (6) (7) (8) (9) และ (10) และต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามดังต่อไปนี้ด้วย (1) ไม่เป็นข้าราชการหรือพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยงานของรัฐหรือบุคคลใด (2) ไม่เป็นก รรมการในรัฐวิสาหกิจ (3) ไม่เป็นกรรมการในองค์กรกลางบริหารงานบุคคลในหน่วยงานของรัฐ (4) ไม่ประกอบอาชีพหรือวิชาชีพอย่างอื่น หรือดารงตาแหน่งหรือประกอบการใด ๆ หรือ เป็นกรรมการในหน่วยงานของรัฐหรือเอกชน ทั้งนี้ อันมีลักษณะเป็นการขัดต่อการปฏิบัติหน้าที่ มาตรา 37 ผู้ได้รับคัดเลือกเป็นกรรมการ ก.พ.ค.ตร. ผู้ใดมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 24 วรรคหนึ่ง (10) หรือมาตรา 36 (1) (2) (3) หรือ (4) ผู้นั้นต้องลาออกจากการเป็นบุคคล ซึ่งมีลักษณะต้องห้ามหรือแสดงหลักฐานให้เป็นที่เชื่อได้ว่าตนได้เลิกการประกอบอาชีพ หรือวิ ชาชีพหรือ การประกอบการอันมีลักษณะต้องห้ามดังกล่าวต่อผู้ช่วยเลขานุการ ก.พ.ค.ตร. ภายในสิบห้าวัน นับแต่วันที่ได้รับคัดเลือก ในกรณีที่ผู้ได้รับคัดเลือกเป็นกรรมการ ก.พ.ค.ตร. มิได้ลาออกหรือเลิกการประกอบอาชีพหรือ วิชาชีพหรือการประกอบการดังกล่าวภายในเวลาที่กาห นดตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่าผู้นั้นมิเคยได้รับ คัดเลือกเป็นกรรมการ ก.พ.ค.ตร. และให้ถือว่าผู้ที่ได้รับเลือกเป็นรายชื่อสารองเป็นผู้ได้รับเลือกแทน และให้นาความในวรรคหนึ่งมาใช้บังคับแก่ผู้ได้รับเลือกแทนดังกล่าวด้วยโดยอนุโลม แต่ระยะเวลาสิบห้าวัน ให้นับแต่วันที่ได้รับเลือกแทน มาตรา 38 กรรมการ ก.พ.ค.ตร. มีวาระการดารงตาแหน่งหกปีนับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้ง และให้ดารงตาแหน่งได้เพียงวาระเดียว ให้กรรมการ ก.พ.ค.ตร. ซึ่งพ้นจากตาแหน่งตามวาระ อยู่ในตาแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไป จนกว่ากรรมการ ก.พ.ค.ตร . ซึ่งได้รับแต่งตั้งใหม่เข้ารับหน้าที่ มาตรา 39 นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ กรรมการ ก.พ.ค.ตร. พ้นจาก ตาแหน่งเมื่อ (1) ตาย ้ หนา 19 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

(2) ลาออก (3) มีอายุครบเจ็ดสิบห้าปี (4) ขาดคุณสมบัติตามมาตรา 34 หรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 36 (5) ต้องคาพิพากษาถึงที่สุด ให้จำคุก แม้จะมีการรอการลงโทษ เว้นแต่เป็นการรอการลงโทษ ในความผิดอันได้กระทำโดยประมาท ความผิดลหุโทษ หรือความผิดฐานหมิ่นประมาท (6) ไม่สามารถปฏิบัติงานได้เต็มเวลาอย่างสม่ำเสมอตามระเบียบของ ก.พ.ค.ตร. เมื่อมีกรณีตามวรรคหนึ่ง ให้กรรมการ ก.พ.ค.ตร. เท่าที่เหลืออยู่ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้ และ ให้ถือว่า ก.พ.ค.ตร. ประกอบด้วยกรรมการ ก.พ.ค.ตร. เท่าที่เหลืออยู่ เว้นแต่มีกรรมการ ก.พ.ค.ตร. เหลืออยู่ไม่ถึงสี่คน เมื่อมีกรณีตามวรรคหนึ่งหรือกรณีที่กรรมการ ก.พ.ค.ตร. พ้นจากตำแหน่งตามวาระ ให้คณะกรรมการ คัดเลือกดำเนินการคัดเลือกกรรมการ ก.พ.ค.ตร. แทนกรรมการ ก.พ.ค.ตร. ซึ่ง พ้นจากตาแหน่งโดยเร็ว มาตรา 40 ก.พ.ค.ตร. มีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้ (1) เสนอแนะต่อ ก.ตร. เพื่อให้ ก.ตร. ดำเนินการจัดให้มีหรือปรับปรุงนโยบาย การบริหารงานบุคคลในส่วนที่เกี่ยวกั บการพิทักษ์ระบบคุณธรรม (2) พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ตามมาตรา 141 (2) (3) พิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์ตามมาตรา 148 (4) พิจารณาเรื่องการคุ้มครองระบบคุณธรรมตามมาตรา 150 (5) ออกกฎ ก.พ.ค.ตร. ระเบียบ หลักเกณฑ์ และวิธีการเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎ ก.พ.ค.ตร. เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับได้ (6) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นกำหนดให้เป็นหน้าที่และอานาจ ของ ก.พ.ค.ตร. ในการปฏิบัติหน้าที่ตาม (2) และ (3) ก.พ.ค.ตร. ต้องพิจารณาและวินิจฉัยด้วยตนเอง จะมอบหมายให้บุคคลหรือคณะบุคคลใดเป็นผู้พิจารณาหรือวินิจฉัยแทนมิได้ สาหรับการปฏิบัติหน้าที่อื่น ตามวรรคหนึ่ง ก.พ.ค.ตร. อาจแต่งตั้งคณะบุคคลหรือมอบหมายให้บุคคลใดเพื่อศึกษาหรือพิจารณา เสนอแนะต่อ ก.พ.ค.ตร. เพื่อพิจารณาและมีมติต่อไปได้ ้ หนา 20 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

คำวินิจฉัยของ ก.พ.ค.ตร. ตาม (3) ถ้าเป็นการวินิจฉัยว่ากฎ ก.ตร. ขัดหรือแย้งกับ พระราชบัญญัตินี้ ให้คาวินิจฉัยนั้นเป็นที่สุด มาตรา 41 ให้กรรมการ ก.พ.ค.ตร. ได้รับเงินประจาตาแหน่งและประโยชน์ตอบแทน อย่างอื่นตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา และให้มีสิทธิได้รับค่าใช้จ่ายในการเดินทางตา มพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการเช่นเดียวกับผู้ดำรงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง ในการประชุมปรึกษาหารือเพื่อวินิจฉัยหรือเพื่อดาเนินการอย่างใดในหน้าที่ ให้ประธานและ กรรมการ ก.พ.ค.ตร. เลขานุการ และผู้ช่วยเลขานุการได้รับเบี้ยประชุมตามที่ ก.ตร. กำหนด โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง มาตรา 42 การประชุมของ ก.พ.ค.ตร. ให้เป็นไปตามระเบียบที่ ก.พ.ค.ตร. กาหนด ลักษณะ 6 คณะกรรมการพิจารณาเรื่องร้องเรียนตารวจ มาตรา 43 ให้มีคณะกรรมการพิจารณาเรื่องร้องเรียนตารวจคณะหนึ่ง เรียกโดยย่อว่า “ ก.ร.ต ร. ” มีหน้าที่และอานาจพิจารณาเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับความเดือดร้อนหรือไม่ได้รับความเป็นธรรม ของประชาชนจากการกระทำหรือไม่กระทำการของข้าราชการตารวจอันมิชอบ หรือการประพฤติปฏิบัติ ไม่เหมาะสมและเสื่อมเสียแก่เกียรติศักดิ์ของตารวจ กระทาผิดวินัย หรือละเมิดประมว ลจริยธรรมและ จรรยาบรรณของตารวจ ประกอบด้วย ประธาน ก.ร.ตร. และกรรมการ ก.ร.ตร. ซึ่งนายกรัฐมนตรี แต่งตั้งจากบุคคล ดังต่อไปนี้ (1) ผู้ซึ่งผู้ตรวจการแผ่นดินและกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติประชุมร่วมกันคัดเลือก จำนวนหนึ่งคน (2) ผู้ซึ่งเคยรับราชการในตาแหน่งตั้งแต่ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์หรือเทียบเท่าขึ้นไป และได้รับ คัดเลือกจากคณะกรรมการข้าราชการตุลาการ จำนวนหนึ่งคน (3) ผู้ซึ่งเคยรับราชการในตาแหน่งตั้งแต่อัยการพิเศษฝ่ายหรือเทียบเท่าขึ้นไป และได้รับ คัดเลือกจากคณะกรรมการอัยการ จำนวน หนึ่งคน (4) ผู้ซึ่งเคยรับราชการเป็นข้าราชการตารวจในตาแหน่งตั้งแต่ผู้บัญชาการหรือเทียบเท่าขึ้นไป จำนวนสามคน ซึ่ง ก.ตร. คัดเลือกจากบุคคลและตามวิธีการที่กำหนดในมาตรา 44 ้ หนา 21 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

(5) ทนายความซึ่งประกอบอาชีพทนายความมาแล้วไม่น้อยกว่ายี่สิบปี ซึ่งสภาทนายความ คัดเลือ กจำนวนหนึ่งคน (6) ผู้แทนระดับจังหวัดของสภาองค์กรชุมชนตาบลจานวนสองคน ซึ่งที่ประชุมในระดับชาติ ของสภาองค์กรชุมชนตาบลคัดเลือก โดยอย่างน้อยต้องเป็นสตรีจำนวนหนึ่งคน ให้จเรตารวจแห่งชาติเป็นกรรมการและเลขานุการ ก.ร.ตร. และให้ ก.ร.ตร. มีอำนาจแต่งตั้ง ข้าราชกา รตารวจที่ดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าผู้บังคับการหรือเทียบเท่าในสานักงานจเรตารวจ จานวน ไม่เกินสองคนเป็นผู้ช่วยเลขานุการ ก.ร.ตร. เมื่อได้กรรมการ ก.ร.ตร. ไม่น้อยกว่าเจ็ดคนแล้ว ให้กรรมการประชุมคัดเลือกกรรมการ ตาม (1) (2) (3) หรือ (4) คนหนึ่งเป็นประธาน ก .ร.ตร. ในการประชุมดังกล่าว ต้องมีกรรมการ มาประชุมไม่น้อยกว่าเจ็ดคน ในระหว่างที่มีกรรมการ ก.ร.ตร. ยังไม่ครบจานวนดังกล่าว ให้ถือว่า ก.ร.ตร. ประกอบด้วยจำนวนเท่าที่มีอยู่ไปพลางก่อน ให้สำนักงานตารวจแห่งชาติประกาศรายชื่อ ก.ร.ตร. ในราชกิจจานุเบกษา กรร มการตาม (1) (2) (3) และ (4) ต้องปฏิบัติหน้าที่เต็มเวลา มาตรา 44 ในการคัดเลือกกรรมการ ก.ร.ตร. ตามมาตรา 43 (4) ให้ดำเนินการ ดังต่อไปนี้ (1) ให้ ก.ตร. คัดเลือกจากผู้ได้รับเลือกให้เป็น ก.ตร. ตามมาตรา 22 (4) (ก) โดยให้ ถามความสมัครใจของผู้ได้ รับคะแนนสูงสุดเรียงตามลาดับคะแนนที่ได้รับเลือกตามมาตรา 26 (4) จนกว่าจะได้ครบจำนวน (2) ในกรณีที่มีผู้สมัครใจไม่ครบจำนวนที่จะต้องคัดเลือก ให้คัดเลือกจากผู้สมัครใจ จากบัญชีสำรองตามมาตรา 26 เรียงตามลำดับคะแนนที่ได้รับเลือกจนกว่าจะได้ครบจำนวน (3) เมื่อ กรรมการข้าราชการตารวจผู้ทรงคุณวุฒิผู้ใดได้รับเลือกให้เป็นกรรมการ ก.ร.ตร. แล้ว ให้พ้นจากตาแหน่ง ก.ตร. และให้แต่งตั้งผู้ได้รับคะแนนถัดไปจากบัญชีสำรองตามมาตรา 26 (4) เป็น ก.ตร. แทน (4) ในกรณีที่ ก.ตร. คัดเลือกบุคคลจากบัญชีสารองตาม (3) ให้ผู้นั้ นพ้นจากบัญชีสารอง ตามมาตรา 26 ้ หนา 22 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

มาตรา 45 กรรมการ ก.ร.ตร. ต้องมีอายุไม่ต่ำกว่าสี่สิบปีและไม่เกินเจ็ดสิบปี ในวันได้รับเลือก มีสุขภาพแข็งแรง มีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ และต้องมีคุณสมบัติและ ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 24 วรรคหนึ่ง (4) (5) (6 ) (7) (8) (9) และ (10) มาตรา 46 กรรมการ ก.ร.ตร. มีวาระการดารงตาแหน่งสี่ปี และให้ดารงตาแหน่งได้เพียง วาระเดียว ให้กรรมการ ก.ร.ตร. ซึ่งพ้นจากตาแหน่งตามวาระปฏิบัติหน้าที่ต่อไป จนกว่ากรรมการ ก.ร.ตร. ซึ่งได้รับเลือกใหม่เข้ารับหน้าที่ ให้นาความในมาตรำ 31 วรรคหนึ่ง วรรคสอง และวรรคสาม มาใช้บังคับแก่การประชุม ก.ร.ตร. โดยอนุโลม และให้ ก.ร.ตร. มีอานาจออกข้อบังคับว่าด้วยการประชุมและการลงมติของ ก.ร.ตร. มาตรา 47 ให้กรรมการ ก.ร.ตร. ซึ่งปฏิบัติหน้าที่เต็มเวลาได้รับเงินประจำตาแหน่ง ประโยชน์ตอบแทน และค่าใช้จ่ายในการเดินทางเช่นเดียวกับกรรมการ ก.พ.ค.ตร. ส่วนกรรมการ ก.ร.ตร. อื่น ให้ได้รับตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา มาตรา 48 ในการปฏิบัติหน้าที่และการใช้อำนาจของ ก.ร.ตร. ก.ร.ตร. จะมีมติ ให้กรรมการ ก.ร.ตร. คนหนึ่งหรือหลายคนปฏิบัติหน้าที่แทน ก.ร.ตร. ก็ได้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ ก.ร.ตร. กาหนด มาตรา 49 เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ของ ก.ร.ตร. ให้จเรตำรวจแห่งชาติ จัดให้ข้าราชการตารวจในสานักงานจเรตารวจมาปฏิบัติหน้าที่ เพื่อช่วยเหลือ ก.ร.ตร. ตามที่ ก.ร.ตร. มอบหมาย ทั้งนี้ ตามจำนวนและระดับตาแหน่งตามที่ ก.ร.ตร. กาหนด ในการพิจารณาความดีความชอบเพื่อเลื่อนเงินเดือนของข้าราชการตารวจตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาตามมติของ ก.ร.ตร. แต่มติของ ก.ร.ตร. ต้องสอดค ล้องกับวงเงินที่ได้รับ การจัดสรร มาตรา 50 ผู้ใดไม่ได้รับความเป็นธรรมจากการกระทาหรือไม่กระทาการของข้าราชการตารวจ อันมิชอบ หรือพบเห็นข้าราชการตารวจประพฤติปฏิบัติไม่เหมาะสมและเสื่อมเสียแก่เกียรติศักดิ์ ของตารวจ กระทาผิดวินัย หรือละเมิดประมวลจริยธรรมและจรรยำบรรณของตารวจ ให้มีสิทธิ ้ หนา 23 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

ร้องเรียนต่อ ก.ร.ตร. ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ร.ตร. กาหนด หลักเกณฑ์และวิธีการดังกล่าว ต้องไม่มีลักษณะเป็นการสร้างขั้นตอนโดยไม่จำเป็นและไม่เป็นการสร้างภาระแก่ประชาชนเกินสมควร มาตรา 51 เมื่อความปรากฏต่อ ก.ร.ตร. ไม่ว่าโดยทา งใด ไม่ว่าจะมีผู้ร้องเรียนหรือไม่ว่า ข้าราชการตำรวจผู้ใดกระทำการหรือไม่กระทำการอันมิชอบ หรือมีความประพฤติหรือปฏิบัติ ไม่เหมาะสมและเสื่อมเสียแก่เกียรติศักดิ์ของตารวจ กระทาผิดวินัย หรือละเมิดประมวลจริยธรรมและ จรรยาบรรณของตารวจ ให้ ก.ร.ตร. มีอานาจไต่สวน ข้อเท็จจริง โดย ก.ร.ตร. จะดาเนินการไต่สวนเอง หรือมอบหมายให้ข้าราชการตารวจในสำนักงานจเรตำรวจดาเนินการแสวงหาข้อเท็จจริงเบื้องต้น เพื่อรายงานต่อ ก.ร.ตร. ตามประเด็นที่ ก.ร.ตร. กาหนด หรือในกรณีที่เห็นว่ามิใช่เรื่องที่ก่อให้เกิด ความเดือดร้อนแก่ประชาชนโดย ตรง จะส่งเรื่องให้ผู้บังคับบัญชาดาเนินการทางวินัยแล้วรายงานผลให้ ก.ร.ตร. ทราบก็ได้ ในกรณีที่ ก.ร.ตร. พิจารณาแล้วเห็นว่ากรณีไม่มีมูลให้สั่งยุติเรื่อง แต่ถ้า ก.ร.ตร. วินิจฉัยว่า กรณีเป็นการกระทาผิดวินัย ให้ ก.ร.ตร. ส่งสานวนการพิจารณาและคาวินิจฉัยพร้อมพยานหลักฐาน ให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจเพื่อพิจารณาโทษโดยเร็วต่อไป โดยผู้บังคับบัญชาไม่ต้องดาเนินการสืบสวนหรือ สอบสวนอีก เว้นแต่ผู้บังคับบัญชามีพยานหลักฐานใหม่ที่แสดงได้ว่าผู้ถูกกล่าวหามิได้มีการกระทา ความผิดตามที่กล่าวหาหรือกระทาความผิดในฐานความผิดที่แตกต่างจากที่ถูกกล่าวหา จะขอให้ ก.ร.ตร. พิจารณาทบทวนก็ได้ โดยทาเป็นหนังสือพร้อมทั้งส่งพยานหลักฐานให้ ก.ร.ตร. ภายใน สามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับสานวนจาก ก.ร.ตร. แต่หากกรณีใดมีลักษณะเป็นการทุจริต ให้ ก.ร.ตร. ส่งสำนวนพร้อมพยานหลักฐานให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติหรือ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐดาเนินการตามหน้าที่และอำนาจ แล้วแต่กรณี โดยในกรณีที่ ก.ร.ตร. มีคาวินิจฉัยว่าผู้ถูกกล่าวหากระทาผิดวินัย ก.ร.ตร. จะสั่ งให้ผู้บังคับบัญชา ของผู้ถูกกล่าวหาดาเนินการทางวินัยโดยไม่ต้องรอผลการพิจารณาของคณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติหรือคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐก็ได้ และ ในกรณีที่เห็นว่าเป็นการสมควรเพื่อระงับความเดือดร้อนของประชาชนหรือป้องกัน ความเสียหาย ต่อราชการ จะให้ผู้บังคับบัญชาสั่งพักราชการผู้นั้นไว้ก่อนก็ได้ ในกรณีเช่นนั้น ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่ และอานาจสั่งพักราชการไว้จนกว่าการดาเนินการทางวินัยจะแล้วเสร็จ โดยให้ถือว่าการสั่งพักราชการ ดังกล่าวเป็นการสั่งพักราชการตามมาตรา 131 ้ หนา 24 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

การไ ต่สวนและการพิจารณาให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ร.ตร. กาหนด ซึ่งอย่างน้อย ต้องมีมาตรการในการรักษาความลับเกี่ยวกับผู้ร้องเรียนหรือกล่าวโทษ มาตรการในการดาเนินการ ให้เกิดความรวดเร็ว และการรับฟังคำชี้แจงของผู้ถูกกล่าวหาด้วย ในกรณีที่ผู้บังคับบัญชาผู้ ใดไม่ปฏิบัติตามวรรคสองโดยไม่มีเหตุอันสมควร ให้ถือว่า เป็น การกระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง ในกรณีที่ ก.ร.ตร. พิจารณาแล้วเห็นว่าแม้กรณีจะไม่มีมูลเพราะเป็นการปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ หรือมติของ ก.ตร. แต่ระเบียบ ข้อบังคับ หรือมติ ก.ตร. นั้น ไม่เป็นไปตามหลักการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี ให้ ก.ร.ตร. เสนอแนะไปยังคณะรัฐมนตรี ก.ตร. หรือหน่วยงานอื่นใด ที่เกี่ยวข้องเพื่อปรับปรุงระเบียบ ข้อบังคับ หรือมติ ก.ตร. นั้นใหม่ได้ มาตรา 52 ในการไต่สวนข้อเท็จจริง ให้ ก.ร.ตร. มีอำนาจ ดังต่อไปนี้ ( 1) เรียกผู้ร้องเรียน ผู้ถูกร้องเรียน เจ้าหน้าที่ หรือบุคคลอื่นใด มาชี้แจงหรือแสดงความเห็น หรือส่งเอกสารและหลักฐานที่เกี่ยวข้องประกอบการพิจารณา โดยให้นำความในมาตรา 128 มาใช้บังคับด้วยโดยอนุโลม (2) แจ้งผู้บังคับบัญชาของข้าราชการตารวจที่ถูกร้องเรียน เพื่อพิจารณาสั่งให้ข้าราชการตารวจ ผู้นั้นไปปฏิบัติหน้าที่อื่นเป็นการชั่วคราวระหว่างการไต่สวนข้อเท็จจริง ให้ข้าราชการตารวจที่ ก.ร.ตร. มอบหมายตามมาตรา 51 วรรคหนึ่ง มีอานาจตาม (1) ด้วย แต่กรณีตาม (2) ให้เสนอ ก.ร.ตร. เพื่อพิจารณา ในการดาเนินการตาม (1) ในส่วนที่เกี่ยวกับผู้ร้องเรียนและพยาน ผู้เรียกต้องคานึงถึง ความปลอดภัยของผู้ร้องเรียนและพยาน และไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนหรือภาระเกินสมควร เพื่อการนี้ ก.ร.ตร. จะกาหนดให้มีมาตรการในการคุ้มครองผู้ร้องเรียนและพยานตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ร.ตร. กาหนด หรือในกรณีที่เห็นสมควรจะมอบหมายให้สานักงานคุ้มครองพยาน กระทรวงยุติธรรม ดาเนินการเพื่อคุ้มครองพยานให้ก็ได้ และเพื่อการนี้ ให้ถือว่าผู้ร้องเรียนและพยานตามพระราชบัญญัตินี้ เป็นพยานตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองพยานในคดีอาญา ให้ ก.ร.ตร. กาหนดหลักเกณ ฑ์ว่าด้วยอัตราและวิธีการจ่ายค่าเดินทาง ค่าเช่าที่พัก และ ค่าตอบแทนพยาน กรณีที่จำเป็นต้องให้พยานมาให้ถ้อยคำเพิ่มเติมต่อหน้า ก.ร.ตร. หลักเกณฑ์ดังกล่าว ให้ใช้ได้เมื่อได้รับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลังและประกาศในราชกิจจานุเบกษา ้ หนา 25 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

มาตรา 53 ให้สำนักงานจเรตารวจทำ หน้าที่รับผิดชอบงานธุรการ ช่วยเหลือ และสนับสนุน การปฏิบัติหน้าที่ของ ก.ร.ตร. และปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ ก.ร.ตร. มอบหมาย ลักษณะ 7 ยศตำรวจและชั้นข้าราชการตารวจ มาตรา 54 ยศตำรวจมีตามลำดับ ดังต่อไปนี้ พลตำรวจเอก พลตำรวจโท พลตำรวจตรี พันตารวจเอก พันตารวจโท พันตารวจตรี ร้อยตารวจเอก ร้อยตารวจโท ร้อยตารวจตรี ดาบตารวจ จ่าสิบตารวจ สิบตารวจเอก สิบตารวจโท สิบตารวจตรี ว่าที่ยศใดให้ถือเสมือนมียศนั้น ถ้าผู้ซึ่งมียศตำรวจเป็นหญิง ให้เติมคำว่า “ หญิง ” ท้ายยศตารวจนั้นด้วย มาตรา 55 ชั้นข้าราชการตารวจ มีดังต่อไปนี้ (1) ชั้นสัญญาบัตร ได้แก่ ผู้มียศตั้งแต่ร้อยตารวจตรีขึ้นไป (2) ชั้นประทวน ได้แก่ ผู้มียศสิบตารวจตรี สิบตารวจโท สิบตารวจเอก จ่าสิบตารวจ และ ดาบตารวจ ้ หนา 26 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

(3) ชั้นพลตำรวจ ได้แก่ พลตำรวจสำรอง พลตารวจสารอง คือ ผู้ที่ได้ รับการบรรจุเป็นข้าราชการตารวจ โดยได้รับการคัดเลือกหรือ สอบแข่งขันเข้ารับการศึกษาอบรมในสถานศึกษาของสำนักงานตารวจแห่งชาติ มาตรา 56 การแต่งตั้งยศตารวจชั้นสัญญาบัตร ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่กำหนดในกฎ ก.ตร. และให้ทำโดยประกาศพระบรมราชโองการ การแต่ง ตั้งยศตารวจชั้นสัญญาบัตรเป็นกรณีพิเศษ อาจกระทำได้โดยประกาศพระบรมราชโองการ ในระหว่างที่ยังไม่มีประกาศพระบรมราชโองการแต่งตั้งยศตารวจชั้นสัญญาบัตร จะแต่งตั้ง ว่าที่ยศตารวจชั้นสัญญาบัตรเป็นการชั่วคราวก็ได้ โดยให้ผู้มีอำนาจดังต่อไปนี้ เป็นผู้สั่งแต่งตั้ง (1 ) ตั้งแต่ว่าที่ยศพลตำรวจตรีขึ้นไป ให้นายกรัฐมนตรีเป็นผู้สั่งแต่งตั้ง (2) ตั้งแต่ว่าที่ยศร้อยตารวจตรีขึ้นไป แต่ไม่สูงกว่าว่าที่ยศพันตารวจเอก ให้ผู้บัญชาการ ตารวจแห่งชาติเป็นผู้สั่งแต่งตั้ง มาตรา 57 การแต่งตั้งยศตำรวจชั้นประทวน ให้ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ หรือ ผู้บังคับบัญชาระดับผู้บังคับการขึ้นไปซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติเป็นผู้สั่งแต่งตั้ง ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎ ก.ตร. การแต่งตั้งยศตารวจชั้นประทวนเป็นกรณีพิเศษ ให้ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติเป็นผู้สั่งแต่งตั้ง ตามหลักเ กณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎ ก.ตร. มาตรา 58 การถอดหรือการออกจากยศตารวจชั้นสัญญาบัตร ให้เป็นไปตามระเบียบ สำนักงานตารวจแห่งชาติ และให้ทำโดยประกาศพระบรมราชโองการ มาตรา 59 การให้ออกจากว่าที่ยศตารวจชั้นสัญญาบัตร หรือการถอดหรือการออกจาก ยศตารวจชั้นประทวน ให้ผู้มีอานาจสั่งตามมาตรา 56 วรรคสาม หรือมาตรา 57 แล้วแต่กรณี สั่งได้ตามระเบียบสำนักงานตารวจแห่งชาติ ลักษณะ 8 ระเบียบข้าราชการตารวจ ้ หนา 27 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

หมวด 1 การจัดระเบียบราชการข้าราชการตารวจ มาตรา 60 การจัดระเบียบข้าราชการตารวจตามพระราชบัญญัตินี้ ให้คานึงถึงระบบคุณธรรม ดังต่อไปนี้ (1) การรับบุคคลเพื่อบรรจุเข้ารับราชการและแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่ง ต้องคานึงถึงความรู้ ความสามารถของบุคคล ความเสมอภาค ความเป็นธรรม และประโยชน์ของทางราชการ (2) การบริหารทรั พยากรบุคคล ต้องคานึงถึงผลสัมฤทธิ์และประสิทธิภาพขององค์กรและ ลักษณะของงาน โดยไม่เลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม (3) การพิจารณาความดีความชอบ การเลื่อนตาแหน่ง และการให้ประโยชน์อื่นแก่ข้าราชการ ตารวจต้องเป็นไปอย่างเป็นธรรม โดยพิจารณาจากอาวุโส ผลงาน ศักยภา พ และความประพฤติ ประกอบกัน และจะนาความคิดเห็นทางการเมืองหรือสังกัดพรรคการเมืองมาประกอบการพิจารณามิได้ (4) การดาเนินการทางวินัยต้องเป็นไปด้วยความยุติธรรมและโดยปราศจากอคติ (5) การบริหารทรัพยากรบุคคลต้องมีความเป็นกลางทางการเมือง หมวด 2 ตาแหน่งและการกาหนดตา แหน่ง มาตรา 61 ตาแหน่งข้าราชการตารวจมี 5 กลุ่มสายงาน ดังต่อไปนี้ (1) กลุ่มสายงานบริหาร (2) กลุ่มสายงานอำนวยการและสนับสนุน (3) กลุ่มสายงานสืบสวนสอบสวน ได้แก่ สายงานสืบสวนสอบสวน สายงานสืบสวน และสายงานอื่นที่ ก.ตร. กาหนด (4) กลุ่มสายงานป้องกันปราบปราม ได้แก่ สายงานป้องกันปราบปรามอาชญากรรม และสายงานอื่นที่ ก.ตร. กาหนด (5) กลุ่มสายงานวิชาชีพเฉพาะ กลุ่มสายงานใดจะมีสายงานใด และตาแหน่งใดอยู่ในสายงานใด ให้เป็นไปตามที่ ก.ตร. กำหนด ซึ่งต้องไม่ขัดหรือแย้งกับการแบ่งกลุ่มสายงำนตามวรรคหนึ่ง ้ หนา 28 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

มาตรา 62 ตาแหน่งข้าราชการตารวจประเภทที่มียศมีดังต่อไปนี้ (1) ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ (2) รองผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติและจเรตารวจแห่งชาติ (3) ผู้ช่วยผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติและรองจเรตารวจแห่งชาติ (4) ผู้บัญชาการและจเรตารวจ (5) รองผู้บัญชา การและรองจเรตารวจ (6) ผู้บังคับการ (7) รองผู้บังคับการ (8) ผู้กำกับการ (9) รองผู้กำกับการและสารวัตรใหญ่ (10) สารวัตร (11) รองสารวัตร (12) ผู้บังคับหมู่ (13) รองผู้บังคับหมู่ ก.ตร. จะกาหนดให้มีตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นโดยจะให้มีชื่อตาแหน่งใดเทียบกับตาแหน่ง ตามวรรคหนึ่งก็ได้ โดยให้กาหนดไว้ในกฎ ก.ตร. เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติงานในกลุ่มสายงานสืบสวนสอบสวน นอกจากตาแหน่งข้าราชการ ตารวจตามวรรคหนึ่ง ให้ ก.ตร. กาหนดตาแหน่งรองสารวัตรในส ถานีตารวจหรือส่วนราชการระดับ กองกากับการอื่นที่ปฏิบัติงานด้านการสืบสวนสอบสวนตามจานวนที่เห็นสมควร เป็นตาแหน่งควบ ที่สามารถปรับระดับเพิ่มลดได้ในตัวเองสูงขึ้นถึงระดับรองผู้กำกับการ และให้กำหนดตาแหน่งผู้กำกับการ ในกองบังคับการตำรวจนครบาล ตำรวจภูธรจังหวัด หรือส่วนราชการระดับกองบังคับการอื่นที่ ปฏิบัติงานด้านการสืบสวนสอบสวนตามจานวนที่เห็นสมควร เป็นตาแหน่งควบที่สามารถปรับระดับ เพิ่มลดได้ในตัวเองสูงขึ้นถึงระดับรองผู้บังคับการ มาตรา 63 สานักงานตารวจแห่งชาติมีผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติเป็นหัวหน้ำส่วนราชการ มีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้ ้ หนา 29 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

(1) รับผิดชอบควบคุมราชการประจำในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ กำหนดแนวทาง และแผนการปฏิบัติราชการของสานักงานตารวจแห่งชาติ และลาดับความสาคัญของแผนการปฏิบัติ ราชการประจาปีของสานักงานตารวจแห่งชาติ ให้เป็นไปตามนโยบายและแนวทำงการปฏิบัติราชการ ที่นายกรัฐมนตรีและ ก.ต.ช. กาหนด รวมทั้งกากับ เร่งรัด ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของส่วนราชการในสำนักงานตารวจแห่งชาติขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี (2) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการตารวจในสำนักงานตารวจแห่งชาติ (3) เป็นผู้รับผิดชอบในการ ปฏิบัติราชการของสำนักงานผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ (4) วางระเบียบหรือทาคาสั่งเฉพาะเรื่องไว้ให้ข้าราชการตารวจปฏิบัติการเกี่ยวกับการใช้ อำนาจหรือการปฏิบัติหน้าที่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาหรือกฎหมายอื่น ระเบียบหรือ คำสั่งดังกล่าวจะขัดหรือแย้งกับประมวลกฎ หมายวิธีพิจารณาความอาญา หรือพระราชบัญญัตินี้มิได้ (5) รับผิดชอบในการกำกับดูแลให้การแต่งตั้งและโยกย้ายข้าราชการตำรวจเป็นไป ตามพระราชบัญญัตินี้และกฎ ก.ตร. โดยเคร่งครัด (6) ดูแลให้หน่วยงานทุกหน่วยโดยเฉพาะสถานีตารวจ กองบังคับการตารวจนครบาล และ ตารวจภูธรจั งหวัด มีกำลังพล งบประมาณ อุปกรณ์ และเครื่องมือเครื่องใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ที่จำเป็น ตามมาตรฐานที่ ก.ตร. กาหนดตามมาตรา 23 (3) มาตรา 64 ให้มีรองผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ จเรตารวจแห่งชาติ ผู้ช่วยผู้บัญชาการ ตารวจแห่งชาติ หรือรองจเรตารวจแห่งชาติ เป็ นผู้บังคับบัญชาข้าราชการตารวจ และรับผิดชอบใน การปฏิบัติราชการรองจากผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติตามที่ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติกำหนดหรือมอบหมาย มาตรา 65 ในกองบัญชาการหนึ่ง ให้มีผู้บัญชาการคนหนึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ ตำรวจและรับผิดชอบการปฏิบัติราชการของส่ วนราชการนั้น และจะให้มีรองผู้บัญชาการเป็น ผู้บังคับบัญชาข้าราชการตำรวจและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการรองจากผู้บัญชาการตามที่ ผู้บัญชาการมอบหมายด้วยก็ได้ ความในวรรคหนึ่งให้ใช้บังคับแก่ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเทียบเท่า กองบัญชาการด้วยโดยอนุโลม รวมทั้งให้หัวหน้าส่วนราชการดังกล่าวมีหน้าที่และอำนาจ และความรับผิดชอบ เช่นเดียวกับผู้บัญชาการด้วย มาตรา 66 ผู้บัญชาการมีหน้าที่และอำนาจ และความรับผิดชอบ ดังต่อไปนี้ ้ หนา 30 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

(1) บริหารราชการของกองบัญชาการให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และ ประกาศของทางราชการ ก.ต.ช. ก.ตร. และสำนักงานตารวจแห่งชาติ (2) ควบคุมและกากับดูแลบุคลากร การบริหารงบประมาณ การเงิน การพัสดุ สถานที่ และทรัพย์สินอื่นของกองบัญชาการ ให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศ ของทางราชการ ก.ต.ช. ก.ตร. และสำนั กงานตารวจแห่งชาติ (3) หน้าที่และอำนาจของกองบัญชาการตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา (4) พิจารณาแต่งตั้งโยกย้ายข้าราชการตารวจตำแหน่งตั้งแต่รองผู้บังคับการลงมา (5) พิจารณาและสั่งเลื่อนเงินเดือนข้าราชการตารวจระดับ ส. 6 ลงมา ที่ไม่อยู่ในอานาจ ของผู้บังคับการตาม มาตรา 68 (7) ทั้งนี้ การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการตารวจระดับ ส. 6 ให้กระทาได้ เมื่อได้รับความเห็นชอบจาก ก.ตร. แล้ว (6) เป็นผู้แทนสำนักงานตารวจแห่งชาติในราชการทั่วไปของกองบัญชาการ (7) รายงานผลการปฏิบัติงานพร้อมทั้งปัญหาและอุปสรรคต่อผู้บัญชาการตารวจแห่ งชาติ ทุกสี่เดือน หรือตามระยะเวลาที่ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติกำหนด (8) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศของทางราชการ ก.ต.ช. ก.ตร. และสำนักงานตารวจแห่งชาติ ในกรณีที่มีกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคาสั่งใด หรือมติคณะรัฐมนตรี ในเรื่องใด กาหนดให้การดาเนินการใดเป็นอานาจของอธิบดีหรือผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ ให้ผู้บัญชาการ มีอำนาจเช่นว่านั้นในฐานะเป็นอธิบดีหรือแทนผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ ในส่วนที่เกี่ยวกับการปฏิบัติราชการ ในกองบัญชาการ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่ ก.ต.ช. กำหนด มาตรา 67 ในกองบังคับการหนึ่ง ให้มีผู้บังคับการคนหนึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ ตารวจและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของกองบังคับการนั้น และจะให้มีรองผู้บังคับการเป็น ผู้บังคับบัญชาข้าราชการตารวจและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการรองจากผู้บังคับการตามที่ผู้บังคั บการ มอบหมาย ความในวรรคหนึ่งให้ใช้บังคับแก่ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเทียบเท่า กองบังคับการด้วยโดยอนุโลม รวมทั้งให้หัวหน้าส่วนราชการดังกล่าวมีหน้าที่และอำนาจ และความรับผิดชอบเช่นเดียวกับผู้บังคับการด้วย ้ หนา 31 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

มาตรา 68 ผู้บังคับการมีหน้าที่และอำนาจ และความรับผิดชอบ ดังต่อไปนี้ (1) บริหารราชการของกองบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และ ประกาศของทางราชการ ก.ต.ช. ก.ตร. และสำนักงานตารวจแห่งชาติ (2) หน้าที่และอำนาจของกองบังคับการตามที่กาหนดในกฎกระทรวง (3) ควบคุมและกากับดูแลบุคลากร การเงิน การพัสดุ สถานที่ และทรัพย์สินอื่นของ กองบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศของทางราชการ ก.ต.ช. ก.ตร. และสำนักงานตารวจแห่งชาติ (4) เสนอแนะการแต่งตั้งโยกย้ายข้าราชการตารวจในสังกัดกองบังคับกำรและสถานีตารวจ ที่อยู่ในเขตอำนาจ ตั้งแต่ระดับผู้กำกับการลงมาต่อผู้บัญชาการที่เป็นผู้บังคับบัญชา (5) สั่งให้ข้าราชการตารวจตั้งแต่ระดับผู้กำกับการลงมาไปช่วยราชการในส่วนราชการอื่นที่อยู่ ในสังกัดตามความจาเป็นเป็นการชั่วคราวไม่เกินหกเดือน ในกรณีที่มีความจาเ ป็นเพื่อประโยชน์ของ ทางราชการจะสั่งให้ไปช่วยราชการเกินหกเดือนแต่ไม่เกินหนึ่งปีก็ได้ แต่ต้องได้รับความเห็นชอบจาก ผู้บัญชาการซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาก่อน (6) เสนอแนะและให้ความเห็นในการพิจารณาความดีความชอบเพื่อการเลื่อนเงินเดือน ข้าราชการตารวจระดับ ส. 5 และ ส. 4 ในสังกัด (7) พิจารณาและสั่งเลื่อนเงินเดือนข้าราชการตำรวจระดับ ส. 3 ลงมาในสังกัด ในการพิจารณาดังกล่าวสาหรับผู้ดารงตาแหน่งตั้งแต่รองผู้กากับการลงมา ต้องรับฟังความคิดเห็น และข้อเสนอแนะของผู้บังคับบัญชาของผู้นั้นด้วย (8) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศของทางราชการ ก.ต.ช. ก.ตร. และสำนักงานตารวจแห่งชาติ หน้าที่และอำนาจของผู้บังคับการตารวจภูธรจังหวัดในการกำกับดูแลการปฏิบัติราชการ ของข้าราชการตารวจที่สังกัดกองบัญชาการอื่น และปฏิบัติราชการประจาอยู่ในจังหวัดนั้น ให้เป็นไป ตำมกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคำสั่งของสำนักงานตำรวจแห่งชาติหรือกองบัญชาการ มติคณะรัฐมนตรี หรือการสั่งการของนายกรัฐมนตรีด้วย ในการนี้ ให้มีอานาจสั่งการใด ๆ เพื่อให้เกิด การประสานงานและความร่วมมือกันในการปฏิบัติหน้าที่หรือยับยั้งการกระทาใด ๆ ของข้ำราชการ ตารวจที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่ในจังหวัดที่ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคาสั่งของสานักงาน ้ หนา 32 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

ตารวจแห่งชาติหรือกองบัญชาการ มติคณะรัฐมนตรี หรือการสั่งการของนายกรัฐมนตรีไว้ชั่วคราว แล้วรายงานสานักงานตารวจแห่งชาติและกองบัญชาการที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่สำนักงานตารวจแห่งชาติกำหนด มาตรา 69 ภายใต้บังคับมาตรา 23 (3) ในส่วนราชการต่าง ๆ ของสำนักงานตารวจแห่งชาติ จะให้มีตาแหน่งข้าราชการตารวจตาแหน่งใด จานวนเท่าใด และคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่งอย่างใด และจะให้มียศหรือไม่ และถ้าให้มียศจะให้มียศใด รวมตลอดถึงการตัดโอนตำแหน่งจากส่วนราชการหนึ่ง ไปเพิ่มให้อีกส่วนราชการหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่ ก.ตร. กาหนด โดยให้คานึงถึงลักษณะหน้าที่และ ความรับผิดชอบ ปริมาณและคุณภาพของงาน รวมทั้งความมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความไม่ซ้าซ้อน และการประหยัดเป็นหลัก ให้เป็นหน้าที่ของ ก.ตร. ที่จะต้องทบทวนอัตรากำลังของแต่ละส่วนราชการ ให้สอดคล้องกับ ความรับผิดชอบและปริมาณของงานที่เปลี่ยนแปลงไปให้ทันต่อสถานการณ์ มาตรา 70 ให้ข้าราชการตารวจซึ่งดารงตาแหน่งตามมาตรา 62 ในกลุ่มสายงานสืบสวน สอบสวนที่ดา รงตาแหน่งและปฏิบัติหน้าที่งานสืบสวนสอบสวน และกลุ่มสายงานป้องกันปราบปราม ที่ดำรงตาแหน่งและปฏิบัติหน้าที่งานป้องกันปราบปราม ได้รับเงินเพิ่มเป็นกรณีพิเศษตามอัตราที่ ก.ตร. กาหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง โดยจะกาหนดให้ผู้ดารงตาแหน่งดังกล่าวซึ่งปฏิบัติ หน้าที่ประจำที่สถานีตารวจได้รับเงินเพิ่มพิเศษสูงกว่าผู้ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในหน่วยงานอื่นก็ได้ ให้ ก.ตร. และกระทรวงการคลังร่วมกันพิจารณาทบทวนเงินเพิ่มพิเศษตามวรรคหนึ่ง ให้สอดคล้องกับสภาวะทางเศรษฐกิจในทุกสามปี ในการกำหนดจำนวนเงินเพิ่มเป็นกรณีพิเศษตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง และการให้ ความเห็นชอบของกระทรวงการคลังตามวรรคหนึ่ง ต้องคานึงถึงค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงาน และ การดำรงตนอยู่ในความยุติธรรมได้อย่างมีเกียรติ โดยเปรียบเทียบกับค่าตอบแทนที่รัฐจ่ายให้แก่ ข้าราชการฝ่ำยอื่นที่เกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมประกอบด้วย หมวด 3 การบรรจุ การแต่งตั้ง และการเลื่อนขั้นเงินเดือน ้ หนา 33 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

มาตรา 71 ผู้ที่จะได้รับการบรรจุเข้ารับราชการเป็นข้าราชการตารวจ ต้องมีคุณสมบัติและ ไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ (1) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด (2) มีอายุไม่ต่ากว่าสิบแปดปี (3) เป็นผู้เลื่อมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (4) ไม่เป็นผู้ดำรงตาแหน่งทางการเมืองหรือดารงตาแหน่งใด ๆ ในพรรคการเมือง (5) มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามอื่นตามที่กาหนดในกฎ ก.ตร. มาตรา 72 การบร รจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการตารวจตามพระราชบัญญัตินี้ ให้ผู้บังคับบัญชาตามที่กาหนดในระเบียบ ก.ตร. เป็นผู้มีอำนาจสั่งบรรจุและแต่งตั้ง มาตรา 73 การบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการตารวจชั้นพลตำรวจ ชั้นประทวน และชั้นสัญญาบัตร ให้บรรจุจากบุคคลผู้ ได้รับคัดเลือกหรือสอบแข่งขันได้ หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกหรือการสอบแข่งขัน ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎ ก.ตร. และ ให้ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติหรือผู้บังคับบัญชาที่ได้รับมอบอานาจจากผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ เป็นผู้ดำเนินการคัดเลือกหรือสอบแข่งขัน มาตรา 74 ใน การบรรจุและแต่งตั้งข้าราชการตารวจชั้นสัญญาบัตรที่มิใช่ตาแหน่งประเภท วิชาชีพเฉพาะ ให้ดารงตาแหน่งและปฏิบัติหน้าที่ในส่วนราชการใด ให้ดาเนินการ ดังต่อไปนี้ (1) ถ้าผู้ที่จะได้รับการบรรจุและแต่งตั้งเป็นผู้สาเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยตารวจ ให้ผู้ที่สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีซึ่งมีคะแนนทุกประเภทเฉลี่ยตลอดหลักสูตรสูงสุดมีสิทธิเลือก ก่อนเรียงตามลำดับไป (2) ถ้าผู้ที่จะได้รับการบรรจุและแต่งตั้งเป็นผู้สอบคัดเลือกหรือแข่งขันได้ ให้ผู้ที่สอบคัดเลือก หรือแข่งขันได้และมีคะแนนทุกประเภทรวมกันสูงสุดมี สิทธิเลือกก่อนเรียงตามลำดับไป (3) ในกรณีอื่นนอกจาก (1) และ (2) ให้ดาเนินการตามวิธีการที่ ก.ตร. กาหนด หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตาม (1) และ (2) ให้เป็นไปตามที่ ก.ตร. กาหนด ในกรณี จำเป็นเพื่อประโยชน์ของทางราชการ ก.ตร. จะกำหนดเงื่อนไขในการเลือกด้ วยก็ได้ มาตรา 75 ผู้ได้รับการบรรจุเข้ารับราชการเป็นข้าราชการตำรวจตามมาตรา 73 ให้ทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการในตาแหน่งที่ได้รับแต่งตั้ง โดยมีกำหนดระยะเวลาไม่น้อยกว่าหกเดือน ้ หนา 34 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

หลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการทดลอง การประเมินผลการทดลอง การรายงาน ผลการทดลอง และการยกเว้นไม่ต้องทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ รวมทั้งการสั่งให้ออกจากราชการ อันเนื่องมาจากการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎ ก.ตร. ผู้ใดถูกสั่งให้ออกจากราชการระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ ไม่ให้ถือว่าผู้นั้นเคยเป็น ข้าราชการตารวจ แต่ทั้งนี้ ไม่กระทบกระเทือนถึงการปฏิบัติหน้าที่ราชการ หรือการรับเงินเดือนหรือ ผลประโยชน์อื่นที่ได้รับจากทางราชการในระหว่างที่ผู้นั้นทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ มาตรา 76 ในการแต่งตั้งข้าราชการตารวจชั้นสัญญาบัตรที่มิใช่ตาแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะ ผู้บังคับบั ญชาต้องแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ในกลุ่มสายงานที่ผู้นั้นมีความรู้ ความชำนาญ หรือความถนัด และมุ่งหมายให้ผู้นั้นได้มีโอกาสปฏิบัติหน้าที่ด้านต่าง ๆ อย่างหลากหลาย ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่ ก.ตร. กาหนด ในการแต่งตั้งข้าราชการตารวจให้ดารงตาแห น่งตั้งแต่ระดับสารวัตรขึ้นไป ในกลุ่มสายงานใด ให้พิจารณาโดยคานึงถึงอาวุโส ความรู้ความสามารถ ทักษะ ความสมัครใจ และความจาเป็นของ ทางราชการประกอบกัน และต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กาหนดไว้ในหมวดนี้ มาตรา 77 การแต่งตั้งข้าราชการตำรวจให้ดำรงตำแหน่ ง ให้แต่งตั้งตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ (1) ตำแหน่งผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ จะได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งจาก ข้าราชการตารวจยศพลตารวจเอกซึ่งดารงตาแหน่งจเรตารวจแห่งชาติหรือรองผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ (2) ตาแหน่งรองผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติและจเรตารวจแห่งชาติ จะได้ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งจากข้าราชการตารวจยศพลตำรวจโทหรือพลตำรวจเอก และเคยดำรงตาแหน่งผู้ช่วย ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติหรือรองจเรตารวจแห่งชาติมาแล้วไม่น้อยกว่าหนึ่งปี แต่ในกรณีที่ไม่มีผู้ใด เค ยดำรงตาแหน่งผู้ช่วยผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติหรือรองจเรตารวจแห่งชาติมาแล้วถึงหนึ่งปี ให้แต่งตั้ง ผู้ที่เคยดารงตาแหน่งผู้ช่วยผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติหรือรองจเรตารวจแห่งชาตินานที่สุดเรียงตามลำดับ (3) ตาแหน่งผู้ช่วยผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติและรองจเรตารวจแห่งชาติ จะได้ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งจากข้าราชการตารวจยศพลตำรวจโท และเคยดารงตาแหน่งระดับผู้บัญชาการหรือ จเรตารวจมาแล้วไม่น้อยกว่าหนึ่งปี ้ หนา 35 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

(4) ตำแหน่งผู้บัญชาการและจเรตำรวจ จะได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง จากข้าราชการตารวจยศพลตำรวจตรีหรือพลตำรวจโท และเคยดำรงตาแหน่งระดับรองผู้บัญชาการหรือ รองจเรตารวจมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปี (5) ตาแหน่งรองผู้บัญชาการและรองจเรตารวจ จะได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งจาก ข้าราชการตารวจยศพลตำรวจตรี และเคยดำรงตาแหน่งระดับผู้บังคับการมาแล้วไม่น้อยกว่าสามปี (6) ตาแหน่งผู้บังคั บการ จะได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งจากข้าราชการตารวจ ยศพันตารวจเอกซึ่งได้รับอัตราเงินเดือนพันตารวจเอก (พิเศษ) หรือพลตำรวจตรี และเคยดำรงตาแหน่ง ระดับรองผู้บังคับการมาแล้วไม่น้อยกว่าสี่ปี (7) ตาแหน่งรองผู้บังคับการ ให้แต่งตั้งจากข้าราชการตารวจยศพั นตารวจเอกหรือพันตารวจเอก ซึ่งได้รับอัตราเงินเดือนพันตำรวจเอก (พิเศษ) และเคยดำรงตำแหน่งระดับผู้กำกับการมาแล้ว ไม่น้อยกว่าสี่ปี (8) ตาแหน่งผู้กากับการ ให้แต่งตั้งจากข้าราชการตารวจยศพันตารวจโทหรือพันตารวจเอก และเคยดำรงตาแหน่งระดับรองผู้กำกับการมาแล้วไม่น้อยกว่าสี่ปี (9) ตาแหน่งรองผู้กำกับการและสารวัตรใหญ่ ให้แต่งตั้งจากข้าราชการตำรวจยศพันตารวจโท และเคยดำรงตาแหน่งระดับสารวัตรมาแล้วไ ม่น้อยกว่าห้าปี (10) ตาแหน่งสารวัตร ให้แต่งตั้งจากข้าราชการตารวจยศร้อยตารวจเอกขึ้นไป แต่ไม่สูงกว่า พันตารวจโท และเคยดำรงตาแหน่งระดับรองสารวัตรมาแล้วไม่น้อยกว่าเจ็ดปี (11) ตาแหน่งรองสารวัตร ให้แต่งตั้งจากข้าราชการตารวจยศร้อยตารวจตรีขึ้นไป แต่ไม่สูงกว่า ร้อยตารวจเอก (12) ตาแหน่งผู้บังคับหมู่ ให้แต่งตั้งจากข้าราชการตารวจยศสิบตารวจตรีขึ้นไป แต่ไม่สูงกว่า ดาบตารวจ (13) ตาแหน่งรองผู้บังคับหมู่ ให้แต่งตั้งจากข้าราชการตารวจชั้นพลตำรวจ ระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง ให้นับระยะเวลาที่ดารงตาแหน่งจริง มิให้นับระยะเวลาท วีคูณ โดยให้นับสิบสองเดือนเป็นหนึ่งปี เว้นแต่ ้ หนา 36 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

(1) ข้าราชการตารวจที่ได้รับการบรรจุแต่งตั้งหรือแต่งตั้งเลื่อนชั้นเป็นสัญญาบัตรครั้งแรก หากนับระยะเวลาตั้งแต่วันที่เริ่มเป็นข้าราชการตารวจชั้นสัญญาบัตรถึงวันที่ 30 กันยายน มีระยะเวลา รวมแล้วไม่น้อยกว่าแปดเ ดือน ให้นับเป็นหนึ่งปี (2) ข้าราชการตารวจชั้นสัญญาบัตรที่ได้รับการแต่งตั้งเลื่อนตาแหน่งสูงขึ้นในวาระประจาปี ไม่ว่าจะได้รับการแต่งตั้งเมื่อใดก็ตาม ให้นับระยะเวลาการดำรงตำแหน่งถึงวันที่ 30 กันยายน เป็นหนึ่งปี การแต่งตั้งข้าราชการตารวจให้ดารงตาแหน่งตาม (2) ถึง (13) อาจแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่ง เทียบเท่าด้วยก็ได้ ข้าราชการตารวจซึ่งดารงตาแหน่งตาม (12) หรือ (13) อาจได้รับการคัดเลือกและแต่งตั้ง ให้ดารงตาแหน่งและมียศตาม (11) ได้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดไว้ในกฎ ก.ตร. ข้าราชการตารวจซึ่งดารงตาแหน่ งตาม (13) อาจได้รับการคัดเลือกและแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่ง และมียศตาม (12) ได้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดไว้ในกฎ ก.ตร. มาตรา 78 การคัดเลือกแต่งตั้งข้าราชการตำรวจให้ดารงตาแหน่งตามมาตรา 77 (1) (2) (3) (4) (5) และ (6) ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ (1) การแต่งตั้งข้าราชการตารวจให้ดารงตาแหน่งตามมาตรา 77 (1) ให้นายกรัฐมนตรี คัดเลือกรายชื่อข้าราชการตารวจผู้มีคุณสมบัติตามมาตรา 77 (1) โดยคานึงถึงอาวุโสและความรู้ ความสามารถประกอบกัน โดยเฉพาะประสบการณ์ในงานสืบสวนสอบสวนหรืองานป้องกันปราบปราม เสนอ ก.ตร. เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบก่อน แล้วให้นายกรัฐมนตรีนาความกราบบังคมทูล เพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง (2) การแต่งตั้งข้าราชการตารวจให้ดารงตาแหน่งตามมาตรา 77 (2) ให้ผู้บัญชาการ ตารวจแห่งชาติคัดเลือกรายชื่อข้าราชการตารวจเสนอ ก.ตร. เพื่ อพิจารณาให้ความเห็นชอบก่อน แล้วให้นายกรัฐมนตรีนาความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง (3) การแต่งตั้งข้าราชการตำรวจให้ดำรงตำแหน่งตามมาตรา 77 (3) และ (4) ให้ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติคัดเลือกรายชื่อข้าราชการตารวจตามที่คณะกรรมการพิจารณากำรแต่งตั้ง ข้าราชการตำรวจตามมาตรา 81 (1) (ก) เสนอแนะ แล้วเสนอ ก.ตร. ให้ความเห็นชอบ แล้วจึงนำเสนอนายกรัฐมนตรีนาความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง ้ หนา 37 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

(4) การแต่งตั้งข้าราชการตำรวจให้ดำรงตำแหน่งตามมาตรา 77 (5) และ (6) ให้ผู้บัญชากำรตารวจแห่งชาติคัดเลือกรายชื่อข้าราชการตารวจตามที่คณะกรรมการพิจารณาการแต่งตั้ง ข้าราชการตารวจตามมาตรา 81 (1) (ก) เสนอแนะ โดยให้นาข้อมูลการเสนอแต่งตั้งของหัวหน้า ส่วนราชการระดับกองบัญชาการที่ได้มีการพิจารณาเสนอในรูปคณะกรรมการตามที่กำหนดในกฎ ก.ตร. มา ประกอบการพิจารณาด้วย หากมีความเห็นแตกต่างจากข้อมูลการเสนอแต่งตั้งของหัวหน้า ส่วนราชการ ให้ชี้แจงเหตุผลต่อคณะกรรมการพิจารณาการแต่งตั้งข้าราชการตารวจตามมาตรา 81 (1) (ก) ก่อนเสนอ ก.ตร. พิจารณาให้ความเห็นชอบ แล้วจึงนำเสนอนายกรัฐมนตรีนำความกราบบังคมทู ล เพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง การจัดทาข้อมูลการเสนอแต่งตั้งของหัวหน้าส่วนราชการตาม (4) ให้พิจารณาเสนอรายชื่อ ได้เฉพาะข้าราชการตารวจที่ดำรงตาแหน่งในสังกัดเท่านั้น ในกรณีที่ ก.ตร. ตรวจสอบแล้วเห็นว่าไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่พระราชบัญญัตินี้ กำหนด ให้แจ้งให้ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติเพื่อดำเนินการให้ถูกต้องต่อไป มาตรา 79 การแต่งตั้งข้าราชการตารวจให้ดารงตาแหน่งตามมาตรา 77 (7) ลงมา ในสานักงานผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ ให้ผู้บั ญชาการตารวจแห่งชาติเป็นผู้มีอานาจสั่งแต่งตั้ง ในส่วน กองบัญชาการที่มิได้สังกัดสานักงานผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ ให้ผู้บัญชาการเป็นผู้มีอานาจสั่งแต่งตั้ง โดยให้นำข้อมูลการเสนอแต่งตั้งของหัวหน้าส่วนราชการระดับกองบัญชาการหรือกองบังคับการ แล้วแต่กรณี ที่ ได้มีการพิจารณาเสนอในรูปคณะกรรมการตามที่กาหนดในกฎ ก.ตร. มาประกอบ การพิจารณาด้วย หากมีความเห็นแตกต่างจากข้อมูลการเสนอแต่งตั้งของหัวหน้าส่วนราชการ ให้ชี้แจง เหตุผลต่อคณะกรรมการพิจารณาการแต่งตั้งข้าราชการตารวจตามมาตรา 81 การจัดทาข้อมูลการเสนอแต่งตั้งตามวรรคหนึ่ง ให้พิจารณาเสนอรายชื่อได้เฉพาะข้าราชการ ตารวจที่ดำรงตาแหน่งในสังกัดเท่านั้น การแต่งตั้งข้าราชการตารวจให้ดารงตาแหน่งตามมาตรา 77 (11) ลงมาไม่สูงกว่าตาแหน่งเดิม ภายในกองบัญชาการในสานักงานผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ ให้ ผู้บัญชาการเป็นผู้มีอานาจสั่งแต่งตั้ง สำหรับการแต่งตั้งภายในกองบังคับการ ให้ผู้บังคับการเป็นผู้มีอำนาจสั่งแต่งตั้ง การแต่งตั้งข้าราชการตารวจให้ดารงตาแหน่งตามมาตรา 77 (7) ลงมาไม่สูงกว่าตาแหน่งเดิม ระหว่างส่วนราชการตามมาตรา 11 (1) และ (2) ให้ผู้ บัญชาการตารวจแห่งชาติและผู้บัญชาการ ้ หนา 38 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

ที่เกี่ยวข้องทาความตกลงกันแล้วให้ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติหรือผู้บัญชาการที่ประสงค์จะแต่งตั้ง ข้าราชการตารวจผู้นั้นเป็นผู้สั่งแต่งตั้ง สาหรับการแต่งตั้งข้าราชการตารวจระหว่างกองบัญชาการที่มิได้ สังกัดสำนักงานผู้บัญชาการตารว จแห่งชาติ ให้ผู้บัญชาการที่เกี่ยวข้องทำความตกลงกัน แล้วให้ ผู้บัญชาการที่ประสงค์จะแต่งตั้งข้าราชการตารวจผู้นั้นเป็นผู้สั่งแต่งตั้ง มาตรา 80 การแต่งตั้งข้าราชการตารวจเลื่อนตาแหน่งสูงขึ้นตามมาตรา 77 (7) ลงมา ในส่วนราชการตามมาตรา 11 (1) และ (2) ให้พิ จารณาแต่งตั้งได้เฉพาะผู้ที่ดำรงตำแหน่ง ในส่วนราชการนั้น มาตรา 81 การคัดเลือกหรือแต่งตั้งข้าราชการตำรวจตามมาตรา 77 (3) ลงมา ให้มีคณะกรรมการพิจารณาการแต่งตั้งข้าราชการตารวจเพื่อทาหน้าที่พิจารณาตรวจสอบคุณสมบัติและ ความเหมาะสมในการคัดเลือกหรือแต่งตั้งข้ำราชการตารวจดารงตาแหน่งต่าง ๆ ก่อนที่ผู้มีอานาจ คัดเลือกหรือสั่งแต่งตั้ง ดังต่อไปนี้ (1) คณะกรรมการพิจารณาการแต่งตั้งข้าราชการตารวจระดับสานักงานตารวจแห่งชาติ มีหน้าที่และอานาจพิจารณาคัดเลือกข้าราชการตารวจให้ดารงตาแหน่งตามมาตรา 77 (3) ถึง (6) และพิ จารณาแต่งตั้งข้าราชการตารวจให้ดารงตาแหน่งตามมาตรา 77 (7) ลงมาในสังกัดสานักงาน ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ โดยมีองค์ประกอบดังนี้ (ก) การคัดเลือกข้าราชการตำรวจให้ดำรงตำแหน่งตามมาตรา 77 (3) ถึง (6) ประกอบด้วย ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติเป็นประธาน จเรตารว จแห่งชาติ และรองผู้บัญชาการตารวจ แห่งชาติทุกคน เป็นกรรมการ และผู้แทนสำนักงาน ก.พ. จำนวนหนึ่งคน เป็นกรรมการ (ข) การแต่งตั้งข้าราชการตารวจให้ดารงตาแหน่งตามมาตรา 77 (7) ลงมาในสังกัด สำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ประกอบด้วย ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เป็นประธาน จเรตารวจแห่งชาติและรองผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติทุกคน เป็นกรรมการ ให้ผู้บัญชาการหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบงานบริหารงานบุคคลเป็นเลขานุการ และผู้บังคับการหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบงานกำลังพลเป็นผู้ช่วยเลขานุการ (2) คณะกรรมการพิจารณาการแต่งตั้งข้าราชการตารวจระดับกองบัญชาการ มีหน้าที่ และอานาจพิจารณาแต่งตั้งข้าราชการตารวจให้ดารงตาแหน่งตามมาตรา 77 (7) ลงมาในสังกัด กองบัญชาการที่มิได้สังกัดสานักงานผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ หรือตามมาตรา 77 (11) ลงมา ้ หนา 39 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

ไม่สูงกว่าตาแหน่ งเดิมภายในกองบัญชาการในสังกัดสานักงานผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ แล้วแต่กรณี ประกอบด้วย หัวหน้าส่วนราชการระดับกองบัญชาการเป็นประธาน และรองหัวหน้าส่วนราชการ เป็นกรรมการ ให้ผู้บังคับการหรือผู้กากับการ แล้วแต่กรณี ที่รับผิดชอบงานกาลังพลเป็นเลขานุการ แล ะผู้กำกับการหรือสารวัตร แล้วแต่กรณี ที่รับผิดชอบงานกำลังพลเป็นผู้ช่วยเลขานุการ (3) คณะกรรมการพิจารณาการแต่งตั้งข้าราชการตารวจระดับกองบังคับการ มีหน้าที่และ อานาจพิจารณาแต่งตั้งข้าราชการตารวจให้ดารงตาแหน่งตามมาตรา 77 (11) ลงมาไม่สูงกว่าตาแหน่งเดิม ภาย ในสังกัด ประกอบด้วย หัวหน้าส่วนราชการระดับกองบังคับการเป็นประธาน และรองหัวหน้า ส่วนราชการเป็นกรรมการ สาหรับกองบังคับการตารวจนครบาลและตารวจภูธรจังหวัด ให้ผู้แทน คณะกรรมการตรวจสอบและติดตามการบริหารงานตารวจของกองบังคับการตารวจนครบาลและ ตารวจภูธรจังหวัด จำนวนหนึ่งคน ร่วมเป็นกรรมการด้วย ให้ผู้กากับการที่รับผิดชอบงานกาลังพลเป็นเลขานุการ และสารวัตรที่รับผิดชอบงานกำลังพล เป็นผู้ช่วยเลขานุการ การคัดเลือกหรือแต่งตั้งข้าราชการตารวจตามมาตรา 77 (3) ลงมา ให้ผู้มีอานาจคัดเลือก หรือแต่งตั้งพิจารณาจากรายชื่อข้าราชการตารวจที่คณะกรรมการพิจารณาการแต่งตั้งข้าราชการตารวจ มีมติเสนอแนะ การแต่งตั้งเพื่อสับเปลี่ยนหมุนเวียนข้าราชการตารวจที่ดารงตาแหน่งควบปรับระดับเพิ่มลดได้ ในตัวเองในกลุ่มสายงานสืบสวนสอบสวนตามมาตรา 62 ว รรคสาม ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ ก.ตร. กาหนด มาตรา 82 ภายใต้บังคับมาตรา 88 การคัดเลือกหรือแต่งตั้งข้าราชการตารวจเลื่อน ตาแหน่งสูงขึ้นในแต่ละระดับตาแหน่ง ให้พิจารณาดังต่อไปนี้ (1) ระดับรองผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติและจเรตารวจแห่งชาติ ลงมาถึงผู้ช่วยผู้บัญชาการ ตารวจแห่งชาติและรองจเรตารวจแห่งชาติ ให้พิจารณาจากผู้มีความรู้ความสามารถในบัญชีรายชื่อ ตามวรรคสามและได้จัดเรียงตามลำดับอาวุโส ้ หนา 40 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

(2) ระดับผู้บัญชาการและจเรตำรวจลงมาถึงผู้บังคับการ ให้พิจารณาจากผู้มีความรู้ ความสามารถในบัญชีรายชื่อตาม วรรคสามและได้จัดเรียงตามลาดับอาวุโสจานวนไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบ ของจำนวนตาแหน่งว่างในแต่ละระดับ (3) ระดับรองผู้บังคับการลงมาถึงสารวัตร ให้พิจารณาจากผู้มีความรู้ความสามารถในบัญชี รายชื่อตามวรรคสามและได้จัดเรียงตามลาดับอาวุโสจานวนไม่น้อยกว่าร้อยละสามสิบสามข องจานวน ตาแหน่งว่างในแต่ละระดับตาแหน่งของส่วนราชการตามมาตรา 11 (4) จำนวนตาแหน่งว่างที่เหลือจากการพิจารณาตาม (2) และ (3) ให้พิจารณาโดยคำนึงถึง อาวุโสและความรู้ความสามารถประกอบกัน ในการพิจารณาความรู้ความสามารถ ให้คานึงถึงประวัติการรับราชการ ผลการปฏิบัติ งาน ความประพฤติ และผลการประเมินความพึงพอใจที่ประชาชนหรือผู้รับบริการได้รับจากการให้บริการ ของข้าราชการตารวจประกอบด้วย ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ตร. กาหนด การพิจารณาเลื่อนตาแหน่งสูงขึ้นตาม (1) (2) (3) และ (4) ให้พิจารณาคัดเลือก หรือ แต่งตั้งได้เฉพาะจากผู้ที่มีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อผู้อยู่ในเกณฑ์ที่สมควรได้รับการเลื่อนตาแหน่งสูงขึ้นเท่านั้น ทั้งนี้ การจัดทาบัญชีรายชื่อผู้อยู่ในเกณฑ์ที่สมควรได้รับการเลื่อนตาแหน่งสูงขึ้นซึ่งต้องพิจารณาจาก ความรู้ความสามารถตามวรรคสอง และการจัดประเภท ตาแหน่งเพื่อใช้ในการคานวณสัดส่วนอาวุโส เพื่อเลื่อนตาแหน่งสูงขึ้น ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดไว้ในกฎ ก.ตร. โดยในการจัดเรียง ลำดับในบัญชีรายชื่อ ให้จัดผู้ซึ่งมีลำดับอาวุโสสูงกว่าได้อยู่ในลำดับที่เหนือกว่า สาหรับการแต่งตั้งเลื่อนตาแหน่งสูงขึ้ นในตาแหน่งควบปรับระดับเพิ่มลดได้ในตัวเอง ให้เป็นไป ตามที่ ก.ตร. กาหนด สานักงานตารวจแห่งชาติอาจกาหนดให้มีหลักเกณฑ์การคัดเลือกแต่งตั้งข้าราชการตารวจ ดำรงตำแหน่งระดับผู้บังคับการขึ้นไปสำหรับผู้ที่จะครบเกษียณอายุราชการเป็นการเฉพาะ ทั้งนี้ ให้กำหนดไว้ในกฎ ก.ตร. มาตรา 83 ภายใต้บังคับมาตรา 84 และมาตรา 90 การคัดเลือกหรือแต่งตั้งข้าราชการ ตารวจเลื่อนตาแหน่งสูงขึ้นดารงตาแหน่งตามมาตรา 77 (4) ถึง (9) ในกลุ่มสายงานใดกลุ่มสายงานหนึ่ง ตามมาตรา 61 ให้พิจารณาจากข้าราชการตารวจที่มีระยะเวลาการดารงตาแหน่งในกลุ่มสายงานนั้น ้ หนา 41 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

ในระดับตาแหน่งปัจจุบันรวมกันแล้วไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของระยะเวลาการดารงตาแหน่งที่กำหนดให้เลื่อน ตาแหน่งสูงขึ้นในระดับตาแหน่งถัดขึ้นไปตามมาตรา 77 การคัดเลือกหรือแต่งตั้งข้าราชการตารวจตาม มาตรา 77 (4) ถึง (9) สับเปลี่ยนหมุนเวียน ให้ดารงตาแหน่งต่าง ๆ หรือในกลุ่มสายงานใดกลุ่มสายงานหนึ่งตามมาตรา 61 ให้พิจารณาจาก ข้าราชการตารวจที่เคยดำรงตาแหน่งในกลุ่มสายงานนั้นในระดับตาแหน่งปัจจุบันมาก่อนหรือมีระยะเวลา การดารงตาแหน่งในระดับถัดลงไปสองระดับตา แหน่งในกลุ่มสายงานนั้นไม่น้อยกว่าสองในสามของ ระยะเวลาการดารงตาแหน่งที่กำหนดให้เลื่อนตาแหน่งสูงขึ้นในระดับตาแหน่งปัจจุบันตามมาตรา 77 ให้นับระยะเวลาการดารงตาแหน่งในกลุ่มสายงานสืบสวนสอบสวนตามมาตรา 61 (3) และกลุ่มสายงานป้องกันปราบปรามตามมาตรา 61 (4) เป็ นระยะเวลาการดารงตาแหน่งที่เกื้อกูล ระหว่างกันได้ในทั้งสองกลุ่มสายงาน การแต่งตั้งข้าราชการตารวจตามมาตรา 77 (7) ลงมาที่จะร้องขอสมัครใจขอรับการแต่งตั้ง สับเปลี่ยนหมุนเวียนในระดับตาแหน่งเท่าเดิม ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎ ก.ตร. มาตรา 84 ภายใต้บังคับมาตรา 90 การแต่งตั้งข้าราชการตารวจชั้นสัญญาบัตรเลื่อน ดำรงตาแหน่งสูงขึ้นในกลุ่มสายงานสืบสวนสอบสวนทุกระดับตาแหน่ง ให้พิจารณาได้เฉพาะผู้ที่มี ระยะเวลาการดารงตาแหน่งในกลุ่มสายงานสืบสวนสอบสวนในระดับตาแหน่งปัจจุบันรวมกันแล้วไม่น้อยกว่า กึ่งหนึ่งของระยะเวลาการดารงตาแห น่งที่กาหนดให้เลื่อนตาแหน่งสูงขึ้นในระดับตาแหน่งถัดขึ้นไป ตามมาตรา 77 สำหรับการแต่งตั้งสับเปลี่ยนหมุนเวียนให้ดารงตำแหน่งในกลุ่มสายงานสืบสวนสอบสวน ให้พิจารณาจากผู้ที่มีระยะเวลาการดารงตาแหน่งในระดับตาแหน่งปัจจุบันและระดับตาแหน่งถัดลงไป หนึ่งระดับในกลุ่มสาย งานสืบสวนสอบสวนรวมกันแล้วไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของระยะเวลาการดารงตาแหน่ง ที่กำหนดให้เลื่อนตาแหน่งสูงขึ้นในระดับตาแหน่งปัจจุบันตามมาตรา 77 เว้นแต่เป็นการแต่งตั้ง สับเปลี่ยนหมุนเวียนให้ดารงตาแหน่งตามมาตรา 77 (11) ให้นับระยะเวลาการดารงตาแหน่งในกลุ่มสายงานป้อง กันปราบปรามตามมาตรา 61 (4) และกลุ่มสายงานสืบสวนสอบสวนตามมาตรา 61 (3) เป็นระยะเวลาการดารงตาแหน่งที่เกื้อกูล ระหว่างกันได้ในทั้งสองกลุ่มสายงาน ้ หนา 42 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

การแต่งตั้งข้าราชการตารวจในกลุ่มสายงานสืบสวนสอบสวนซึ่งดารงตาแหน่งควบปรับระดับ เพิ่มลดได้ในตัวเองตามมาตรา 62 ว รรคสาม ให้ดารงตาแหน่งสูงขึ้น ให้พิจารณาจากผู้ที่ดำรงตาแหน่ง ครบตามระยะเวลาที่กาหนดและผ่านเกณฑ์ประเมินความรู้ความสามารถตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่ ก.ตร. กาหนดแล้ว ทั้งนี้ โดยไม่ต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขของมาตรา 82 (3) มาตรา 85 ในการแต่งตั้งข้าราชการตำรวจ เลื่อนดำรงตำแหน่งหัวหน้าสถานีตำรวจ ระดับผู้กำกับการเป็นครั้งแรก ให้แต่งตั้งไปดารงตาแหน่งในสถานีตารวจระดับกลางตามมาตรา 13 (2) มาตรา 86 ในกรณีที่ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติเห็นว่าการใช้อานาจในการแต่งตั้งของ ผู้บัญชาการไม่เป็นธรรม หรือมีกรณีไม่ชอบด้วยหลักเกณ ฑ์หรือวิธีการที่ ก.ตร. กาหนด หรือมีเหตุผล ความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้ข้าราชการตารวจซึ่งดารงตาแหน่งตั้งแต่มาตรา 77 (7) ลงมา พ้นจาก พื้นที่หรือหน้าที่ หรือเห็นว่าหากดารงตาแหน่งเดิมต่อไปจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่ทางราชการ หรือ มีเหตุพิเศษตามที่ ก. ตร. กาหนด ให้ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติมีอานาจสั่งแต่งตั้งข้าราชการตารวจ ให้ดารงตาแหน่งตามมาตรา 77 (7) ลงมา ได้ตามควรแก่กรณี มาตรา 87 ข้าราชการตารวจผู้ใดเห็นว่าตนไม่ได้รับความเป็นธรรมในการเรียงลาดับอาวุโส หรือในการแต่งตั้ง ให้มีสิทธิร้องทุกข์ต่อ ก.พ.ค .ตร. ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ทราบคาสั่งแต่งตั้ง คาร้องทุกข์ตามวรรคหนึ่ง ให้ ก.พ.ค.ตร. พิจารณาวินิจฉัยให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวัน นับแต่วันที่ได้รับคำร้องทุกข์ คาวินิจฉัยของ ก.พ.ค.ตร. ให้เป็นที่สุด เว้นแต่ในกรณีที่ผู้ร้องทุกข์ไม่พอใจในผลการพิจารณา ของ ก.พ.ค.ตร. ให้มีสิทธิอุทธรณ์ต่อศาลปกครองสูงสุดได้ภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งผล การพิจารณาของ ก.พ.ค.ตร. ในกรณีที่ ก.พ.ค.ตร. หรือศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยหรือพิพากษาว่าในการเรียงลาดับอาวุโส หรือในการแต่งตั้ง ผู้บังคับบัญชาไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดในพระราชบัญญัตินี้ในการเรียงลำดับ อาวุโสหรือการแต่งตั้ง ให้ถือว่าผู้บังคับบัญชากระทาผิดวินัย และให้ผู้บังคับบัญชาผู้มีอานาจพิจารณา ลงโทษผู้นั้นตามควรแก่กรณีภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งจาก ก.พ.ค.ตร. หรือ นับแต่วันที่ ศาลปกครองสูงสุดมีคาพิพากษาหรือคาสั่ง โดยไม่ต้องดาเนินการสอบสวนอีก แล้วรายงานให้ ก.ตร. ทราบ ในกรณีที่ ก.ตร. มีมติว่าการไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังกล่าวเป็นการจงใจเพื่อช่วยเหลือบุคคลหนึ่ง ้ หนา 43 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

บุคคลใดหรือเพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ใด ให้ถือว่ำผู้บังคับบัญชาผู้นั้นกระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรง และให้ผู้บังคับบัญชาผู้มีอำนาจดาเนินการลงโทษผู้นั้นโดยไม่ต้องดาเนินการสอบสวน ผู้ใดให้ ขอให้ หรือรับว่าจะให้ทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด หรือแอบอ้างอำนาจของบุคคลใด หรือเรียก รับ ยอมจะรับทรัพย์สินหรือประโ ยชน์อื่นใด หรือกระทำการใดอันมิชอบ เพื่อให้มีการแต่งตั้ง หรือไม่แต่งตั้งผู้ใดให้ดำรงตำแหน่งใด ไม่ว่าการแต่งตั้งหรือไม่แต่งตั้งนั้นจะชอบด้วยหลักเกณฑ์ ตามพระราชบัญญัตินี้หรือไม่ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี มาตรา 88 เพื่อรักษาความเที่ยงธรรมในการแต่งตั้งแล ะโยกย้ายข้าราชการตำรวจ ให้ ก.ตร. ออกกฎ ก.ตร. กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการแต่งตั้งและโยกย้ายข้าราชการตารวจไว้ให้ชัดเจน แน่นอน โดยอย่างน้อยต้องมีหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจัดลำดับอาวุโสข้าราชการตำรวจเพื่อใช้ใน การคัดเลือกหรือแต่งตั้ง การกาหนดวาระประจำปี การนั บระยะเวลาการดารงตาแหน่ง การนับจำนวน ตาแหน่งว่าง การคานวณสัดส่วนอาวุโสเพื่อเลื่อนตาแหน่งสูงขึ้น การจัดประเภทตาแหน่งเพื่อใช้ใน การคานวณสัดส่วนอาวุโสเพื่อเลื่อนตาแหน่งสูงขึ้น และการจัดทาบัญชีรายชื่อผู้อยู่ในเกณฑ์ที่สมควรได้รับ การเลื่อนตาแหน่งสูงขึ้น กฎ ก.ตร. ดังกล่าวให้มีผลใช้บังคับเมื่อพ้นกาหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่ วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา 89 ภายใต้บังคับมาตรา 99 ข้าราชการตารวจผู้ใดมีคุณวุฒิสูงขึ้นและมีสิทธิได้รับ เงินเดือนสูงขึ้นตามที่ ก.ตร. กาหนด ให้ผู้มีอำนาจตามมาตรา 95 เป็นผู้มีอำ นาจสั่งเลื่อน มาตรา 90 การบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการตารวจหรือการแต่งตั้งข้าราชการ ตารวจให้ดารงตาแหน่งใด ผู้ได้รับการบรรจุหรือได้รับการแต่งตั้งต้องมีคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่ง ตามที่ ก.ตร. กาหนดตามมาตรา 69 เว้นแต่มีเหตุผลและความจาเป็นและมิใช่ เป็นตาแหน่งในกลุ่มสายงาน สืบสวนสอบสวน ก.ตร. อาจอนุมัติให้บรรจุหรือแต่งตั้งข้าราชการตารวจซึ่งไม่มีคุณสมบัติเฉพาะ สำหรับตาแหน่งตามที่กาหนดไว้ก็ได้ การแต่งตั้งข้าราชการตารวจไปดารงตาแหน่งอื่นในสานักงานตารวจแห่งชาติ ต้องแต่งตั้ง ให้ดารงตาแหน่งที่ไม่ต่ากว่าตาแหน่งเดิม เว้นแต่มีเหตุผลและความจาเป็น ก.ตร. อาจอนุมัติให้แต่งตั้ง ให้ดารงตาแหน่งที่ต่ากว่าตาแหน่งเดิมเป็นพิเศษเฉพาะรายได้ มาตรา 91 การสั่งให้ข้าราชการตารวจไปประจาสำนักงานตารวจแห่งชาติ หรือส่วนราชการใด ในสานักงานตารวจแห่งชา ติ หรือสารองราชการในส่วนราชการใดในสานักงานตารวจแห่งชาติ โดยให้ ้ หนา 44 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

พ้นจากตาแหน่งหน้าที่เดิม และโดยจะให้ขาดจากอัตราเงินเดือนในตาแหน่งเดิมหรือไม่ก็ได้ ให้ผู้มี อำนาจดังต่อไปนี้เป็นผู้สั่งได้ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดในกฎ ก.ตร. (1) ประธาน ก. ตร. ตามมติของ ก.ตร. สำหรับผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ (2) ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติสำหรับข้าราชการตารวจทุกตาแหน่ง (3) ผู้บัญชาการสาหรับข้าราชการตารวจในกองบัญชาการหรือในส่วนราชการที่เรียกชื่อ อย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่ากองบัญชาการ มาตรา 92 ห้ามมิให้สั่งให้ข้ำราชการตารวจที่สังกัดสถานีตารวจตามมาตรา 13 ไปปฏิบัติ หน้าที่ในส่วนราชการอื่นที่มิใช่สถานีตารวจ เว้นแต่ในคาสั่งนั้นจะสั่งให้ข้าราชการตารวจอื่นมาปฏิบัติ หน้าที่นั้นแทนในสถานีตารวจนั้น การสั่งให้ข้าราชการตารวจไปรักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญตามตาแหน่งที่ ก.ตร. กาหนด ให้เป็นไปตามระเบียบที่สานักงานตารวจแห่งชาติกาหนด ซึ่งต้องเสนอ ก.ตร. เพื่อทราบและประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา ทั้งนี้ จะสั่งได้เมื่อผู้ดำรงตำแหน่งดังกล่าวร้องขอโดยจะระบุตัวบุคคลมิได้ แต่ข้าราชการตารวจที่ถูกสั่งนั้นต้องสมัครใจด้วย และเมื่อผู้ขอพ้ นจากตาแหน่ง ให้สั่งให้ข้าราชการตารวจ ที่ไปรักษาความปลอดภัยนั้นกลับมาปฏิบัติหน้าที่ในสำนักงานตารวจแห่งชาติภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ ผู้ขอพ้นจากตาแหน่ง แต่ถ้าผู้ขอเคยดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรีและไม่เคยต้องคาพิพากษาอันถึงที่สุด ให้ลงโทษจาคุก ถ้าผู้นั้นได้ร้อง ขอให้รักษาความปลอดภัยต่อไป จะสั่งให้ข้าราชการตารวจไปรักษา ความปลอดภัย ผู้ขอนั้นต่อไปอีกก็ได้ ผู้บังคับบัญชาผู้ใดรู้ว่าผู้ใต้บังคับบัญชาไม่มาปฏิบัติราชการติดต่อกันเกินสิบห้าวัน โดยไม่มี เหตุอันสมควร ให้ผู้บังคับบัญชาผู้นั้นดาเนินการทางวินัยให้แล้วเสร็จภาย ในหกสิบวันนับแต่วันที่รู้ ในกรณี ที่ผู้บังคับบัญชาผู้นั้นไม่มีอานาจดาเนินการทางวินัย ให้รายงานให้ผู้บังคับบัญชาในระดับเหนือขึ้นไป ทราบเพื่อดำเนินการทางวินัยต่อไปให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ได้รับรายงาน เว้นแต่มีเหตุผล ความจาเป็นซึ่งทาให้การดาเนินการทางวินัยไม่แล้วเสร็จภายในกาหนดระยะเวลาดังกล่าว ก็ให้ขยาย ระยะเวลาได้อีกไม่เกินสองครั้งโดยแต่ละครั้งจะต้องไม่เกินหกสิบวัน และให้ผู้บังคับบัญชาผู้มีอานาจ สั่งดำเนินการทางวินัยสั่งให้ข้าราชการตำรวจผู้นั้นพักราชกา รไว้ก่อนตั้งแต่วันที่มีคำสั่ง เมื่อผล การดาเนินการทางวินัยปรากฏว่าผู้นั้นขาดราชการติดต่อกันเกินสิบห้าวันโดยไม่มีเหตุอันสมควร ให้สั่งลงโทษ โดยเร็วโดยให้มีผลตั้งแต่วันที่พักราชการ ้ หนา 45 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

มาตรา 93 การโอนข้าราชการตำรวจไปรับราชการในส่วนราชการหรือหน่วยงานอื่น จะกระทาได้เมื่อเจ้าตัวสมัครใจและส่วนราชการหรือหน่วยงานต้องการจะรับโอนผู้นั้น โดยให้ส่วนราชการ หรือหน่วยงานที่ขอรับโอนทำความตกลงกับสำนักงานตารวจแห่งชาติ มาตรา 94 ให้ผู้มีอำนาจตามมาตรา 72 เป็นผู้สั่งบรรจุในกรณี ดังต่อไปนี้ (1) การโอนข้าราชการซึ่งไม่ใช่ข้ำราชการตารวจหรือการโอนพนักงานขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นมาบรรจุเป็นข้าราชการตารวจ ยกเว้นข้าราชการการเมือง ข้าราชการซึ่งอยู่ในระหว่างทดลอง ปฏิบัติหน้าที่ราชการ และพนักงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งอยู่ในระหว่างทดลองปฏิบัติงาน ให้กระทาได้เมื่อเจ้าตัวสมัครใจและสานักงานตารวจแห่งชาติต้องการจะรับโอนผู้นั้น โดยให้สานักงาน ตารวจแห่งชาติทาความตกลงกับผู้มีอานาจสั่งบรรจุของส่วนราชการหรือหน่วยงานสังกัดเดิม ในการนี้ ให้สำนักงานตำรวจแห่งชาติพิจารณาโดยคำนึงถึงประโยชน์ที่ทางราชการตำรวจจะไ ด้รับ ทั้งนี้ ในการดาเนินการรับโอน การกาหนดตาแหน่ง ชั้นยศ และอัตราเงินเดือน และการนับเวลาราชการ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎ ก.ตร. (2) การกลับเข้ารับราชการเป็นข้าราชการตารวจ (ก) ข้าราชการตารวจซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีให้ออ กจากราชการไปปฏิบัติงานใด ๆ โดยให้นับเวลาระหว่างนั้นสาหรับการคานวณบาเหน็จบานาญเหมือนเต็มเวลาราชการตามกฎหมาย ว่าด้วยบาเหน็จบานาญข้าราชการ ถ้าผู้นั้นขอกลับเข้ารับราชการภายในกาหนดเวลาที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติ แต่ไม่เกินสี่ปีนับแต่วันออกจากราชการไปปฏิบัติงานดั งกล่าว ให้สานักงานตารวจแห่งชาติรับผู้นั้น กลับเข้ารับราชการ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎ ก.ตร. (ข) ข้าราชการตารวจซึ่งออกจากราชการไปแล้ว และไม่ใช่เป็นกรณีออกจากราชการ ในระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ ถ้าสมัครเข้ารับราชการ และสานักงา นตารวจแห่งชาติต้องการ ที่จะรับผู้นั้นเข้ารับราชการและมีอัตราว่าง ให้สำนักงานตารวจแห่งชาติดาเนินการบรรจุและแต่งตั้ง ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎ ก.ตร. (ค) ข้าราชการซึ่งมิใช่ข้าราชการตารวจหรือพนักงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งออกจาก ราชการหรือออกจากงานไปแล้ว แต่ไม่รวมถึงข้าราชการการเมือง ข้าราชการซึ่งออกจากราชการ ในระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการและพนักงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งออกจากงาน ในระหว่างทดลองปฏิบัติงาน ถ้าสมัครเข้ารับราชการเป็นข้าราชการตำรวจ และเมื่อสำนักงาน ้ หนา 46 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

ตารวจแห่งชาติเห็นสมควรรับบุคคลนั้นกลับเข้ารับราชการในตาแหน่งข้าราชการตารวจ ในการนี้ ให้สำนักงานตำรวจแห่งชาติพิจารณาโดยคำนึงถึงประโยชน์ที่ทางราชการตำรวจจะได้รับ ทั้งนี้ การดาเนินการให้กลับเข้ารับราชการ การกาหนดตาแหน่ง ชั้นยศ และอัตราเงินเดือน และก ำรนับ เวลาราชการ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎ ก.ตร. มาตรา 95 ให้ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติเป็นผู้สั่งเลื่อนเงินเดือนข้าราชการตำรวจ ระดับ ส. 8 ระดับ ส. 7 และระดับ ส. 6 ที่ไม่อยู่ในอำนาจของผู้บัญชาการตามมาตรา 66 (5) ทั้งนี้ เมื่อได้รับ ความเห็นชอบจาก ก.ตร. แล้ว การสั่งเลื่อนเงินเดือนข้าราชการตารวจตั้งแต่ระดับ ส. 5 ลงมา ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ที่กำหนดในระเบียบ ก.ตร. การพิจารณาเลื่อนเงินเดือนข้าราชการตำรวจ ให้คำนึงถึงคุณภาพและปริมาณงาน ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานที่ได้ปฏิบัติมา ความสามารถ และความอุตสาหะในการปฏิบัติหน้าที่ ตลอดจนการรักษาวินัยและการปฏิบัติตนเหมาะสมกับการเป็นข้าราชการตารวจตามรายงานของผู้บังคับบัญชา ตามลำดับชั้น ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎ ก.ตร. การเลื่อนเงินเดือนเป็นกรณีพิเศษเกินสองขั้น ต้องได้รับอนุมัติจาก ก.ตร. เป็นพิเศษเฉพาะราย มาตรา 96 ข้าราชการตารวจผู้ใดถึงแก่ความตายเนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่ราชการ ก.ตร. จะพิจารณาเลื่อนเงินเดือนให้ผู้นั้นเป็นกรณีพิเศษเพื่อประโยชน์ในการคำนวณบำเหน็จบานาญก็ได้ มาตรา 97 ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่พัฒนำผู้ใต้บังคับบัญชาเพื่อเพิ่มความรู้ ทักษะ ทัศนคติ คุณธรรมและจริยธรรม รวมทั้งประเมินผลการปฏิบัติราชการของผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อใช้ประกอบ การพิจารณาแต่งตั้งและเลื่อนเงินเดือน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาที่กำหนดในกฎ ก.ตร. หมวด 4 เงิน เดือน เงินประจำตาแหน่ง และเงินเพิ่มอื่น มาตรา 98 อัตราเงินเดือนข้าราชการตารวจให้เป็นไปตามบัญชีท้ายพระราชบัญญัตินี้ อัตราเงินประจาตาแหน่งและการรับเงินประจาตาแหน่งของข้าราชการตารวจ ให้เป็นไป ตามบัญชีท้ายพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ เงินประจำตาแหน่งไม่ถือเป็นเงินเดือน ้ หนา 47 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

ข้าราชการตารวจตาแหน่งใดจะได้รับเงินประจาตาแหน่งท้ายพระราชบัญญัตินี้ในอัตราใด ให้เป็นไปตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา ในกรณีที่สมควรปรับอัตราเงินเดือนข้าราชการตำรวจให้สอดคล้องกับภาวะ เศรษฐกิจ ที่เปลี่ยนแปลงไป ถ้าการปรับอัตราเงินเดือนดังกล่าวเป็นการปรับเพิ่มร้อยละเท่ากันทุกอัตรา และไม่เกิน ร้อยละสิบของอัตราที่ใช้บังคับอยู่ และเมื่อได้รับอนุมัติงบประมาณรายจ่ายจากรัฐสภาเพื่อการนั้นแล้ว การปรับให้กระทาได้โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา และให้ถื อว่าบัญชีอัตราเงินเดือนท้ายพระราชกฤษฎีกา ดังกล่าวเป็นบัญชีอัตราเงินเดือนท้ายพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ในกรณีที่การปรับเป็นร้อยละเท่ากัน ทุกอัตราดังกล่าว หากทาให้อัตราหนึ่งอัตราใดมีเศษไม่ถึงสิบบาท ให้ปรับตัวเลขเงินเดือนของอัตราดังกล่าว ให้เพิ่มขึ้นเป็นสิ บบาท และมิให้ถือว่าเป็นการปรับอัตราร้อยละที่แตกต่างกัน การปรับอัตราเงินเดือนข้าราชการตารวจให้เข้าอันดับและขั้น ระดับและชั้น ระดับและขั้น หรือชั้นและขั้น แล้วแต่กรณี ตามบัญชีอัตราเงินเดือนข้าราชการตารวจตามวรรคหนึ่งและวรรคสี่ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก.ตร. กาหนด และให้มีผลเป็นการแก้ไขขั้นหรือชั้นเงินเดือน ข้าราชการตารวจที่กำหนดไว้ในกฎหรือมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง มาตรา 99 ให้ข้าราชการตารวจได้รับเงินเดือน ดังต่อไปนี้ (1) ข้าราชการตารวจยศพลตำรวจเอก ซึ่งดารงตาแหน่งผู้บัญชาการตารวจแห่ งชาติ ให้ได้รับ เงินเดือนขั้นสูงสุดของระดับ ส. 9 (2) ข้าราชการตารวจยศพลตำรวจเอก ให้ได้รับเงินเดือนระดับ ส. 8 (3) ข้าราชการตารวจยศพลตำรวจโท ให้ได้รับเงินเดือนระดับ ส. 7 (4) ข้าราชการตารวจยศพลตำรวจตรี ให้ได้รับเงินเดือนระดับ ส. 6 (5) ข้าราชการตารวจยศพั นตารวจเอก อัตราเงินเดือนพันตารวจเอก (พิเศษ) ให้ได้รับ เงินเดือนระดับ ส. 5 (6) ข้าราชการตารวจยศพันตารวจเอก ให้ได้รับเงินเดือนระดับ ส. 4 (7) ข้าราชการตารวจยศพันตารวจโท ให้ได้รับเงินเดือนระดับ ส. 3 (8) ข้าราชการตารวจยศพันตารวจตรี ให้ได้รับเงินเดือนระ ดับ ส. 2 (9) ข้าราชการตารวจยศร้อยตำรวจเอก ร้อยตารวจโท และร้อยตำรวจตรี ให้ได้รับเงินเดือน ระดับ ส. 1 ้ หนา 48 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

(10) ข้าราชการตารวจยศดาบตารวจ ให้ได้รับเงินเดือนระดับ ป. 3 (11) ข้าราชการตารวจยศจ่าสิบตารวจ อัตราเงินเดือนจ่าสิบตารวจ (พิเศษ) ให้ได้รับเงินเดือน ระดับ ป. 2 (12) ข้าราชการตำรวจยศจ่าสิบตารวจ สิบตำรวจเอก สิบตำรวจโท และสิบตารวจตรี ให้ได้รับเงินเดือนระดับ ป. 1 (13) ข้าราชการตารวจชั้นพลตำรวจสำรอง ให้ได้รับเงินเดือนร ะดับ พ. 1 ให้ข้าราชการตารวจตามวรรคหนึ่งได้รับเงินเดือนในขั้นต่าของระดับนั้น ๆ ในกรณีที่จะให้ได้รับ เงินเดือนสูงกว่าหรือต่ากว่าขั้นต่าหรือสูงกว่าขั้นสูงของระดับ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่กำหนดในกฎ ก.ตร. ข้าราชการตารวจตาม (2) ถึง (13) อาจได้ รับเงินเดือนในระดับสูงขึ้นกว่าที่กาหนดไว้ ในวรรคหนึ่งก็ได้ โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา ซึ่งในพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวให้กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการได้รับเงินเดือนในระดับสูงขึ้นดังกล่าวและการรับเงินประจำตาแหน่งไว้ด้วย มาตรา 100 ความในมาตรา 98 และมำตรา 99 มิให้ใช้บังคับแก่ข้าราชการตารวจที่ไม่มียศ ข้าราชการตารวจที่ไม่มียศตาแหน่งใดจะได้รับเงินเดือนและเงินประจาตาแหน่งในอัตราใด ให้เป็นไปตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกาที่ออกตามมาตรา 8 วรรคสอง โดยให้เทียบเคียงกับ ข้าราชการฝ่ายพลเรือนในตาแหน่งที่คล้ายคลึงกั นหรือในระดับเดียวกัน มาตรา 101 ในกรณีที่มีเหตุผลและความจาเป็นเพื่อเป็นการเยียวยา ให้ข้าราชการตารวจ ได้รับเงินเดือนหรือเงินประจำตาแหน่งที่เหมาะสมและเป็นธรรม ก.ตร. อาจกำหนดให้ข้าราชการตารวจ ได้รับการเยียวยาโดยให้ได้รับเงินเดือนหรือเงินประจำตาแหน่งตามที่เห็น สมควรเป็นกรณี ๆ ไปก็ได้ ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะรัฐมนตรีกาหนด มาตรา 102 ข้าราชการตารวจอาจได้รับเงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราวตามภาวะเศรษฐกิจ ทั้งนี้ ตามจำนวน หลักเกณฑ์ และวิธีการที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา มาตรา 103 ข้าราชการตารวจอาจได้รับเงินเพิ่มพิเศษรายเดือน เงินเพิ่มอื่น หรือเงินช่วยเหลือ ตามที่คณะรัฐมนตรีกาหนด มาตรา 104 ข้าราชการตารวจอาจได้รับเงินเพิ่มสาหรับตาแหน่งที่ประจาอยู่ในต่างประเทศ หรือตาแหน่งที่มีเหตุพิเศษตามที่กาหนดในระเบียบ ก.ตร. โดยความเห็นชอบของก ระทรวงการคลัง ้ หนา 49 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

หมวด 5 การรักษาราชการแทนและการปฏิบัติราชการแทน มาตรา 105 ในกรณีที่ตำแหน่งข้าราชการตำรวจในส่วนราชการหรือหน่วยงานใด ในสำนักงานตารวจแห่งชาติว่างลง หรือผู้ดารงตาแหน่งใดไม่สามารถปฏิบัติราชการได้ ให้ผู้บังคับบัญชา ดังต่อไปนี้ สั่งให้ข้าราชการตารวจซึ่งเห็นสมควรรักษาราชการแทนในตาแหน่งนั้นได้ (1) นายกรัฐมนตรี สำหรับตาแหน่งผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ (2) ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ สำหรับตำแหน่งตั้งแต่รองผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ จเรตารวจแห่งชาติ หรือตาแหน่งเทียบเท่าลง มา (3) ผู้บัญชาการหรือตาแหน่งเทียบเท่า สำหรับตาแหน่งตั้งแต่ผู้บังคับการหรือตาแหน่ง เทียบเท่าลงมาในส่วนราชการนั้น (4) ผู้บังคับการหรือตาแหน่งเทียบเท่า สำหรับตำแหน่งตั้งแต่ผู้กำกับการหรือตาแหน่ง เทียบเท่าลงมาในส่วนราชการนั้น ในกรณีที่ไม่มีการแต่งตั้งให้ข้ำราชการตารวจผู้ใดรักษาราชการแทนและมีผู้ดารงตาแหน่งรอง ของตาแหน่งนั้น ให้ผู้ดารงตาแหน่งรองเป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้าไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรองหรือมี แต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ และมีผู้ดารงตาแหน่งผู้ช่วยของตาแหน่งดังกล่าว ให้ผู้ดารงตาแหน่งผู้ช่วย เป็นผู้รักษารำชการแทนในตาแหน่งนั้น ถ้ามีผู้ดารงตาแหน่งรองหรือผู้ช่วยหลายคน ให้ผู้มีอาวุโส ตามที่กาหนดในระเบียบ ก.ตร. เป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้าไม่มีทั้งผู้ดำรงตาแหน่งรองหรือผู้ช่วย หรือ มีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ก็ให้ข้าราชการตารวจชั้นสัญญาบัตร ผู้มีอาวุโสตามที่ กาหนดในระเบียบ ก.ตร. ในส่วนราชการหรือหน่วยงานนั้นเป็นผู้รักษาราชการแทน เพื่อประโยชน์ของทางราชการ ข้าราชการตำรวจที่ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ตามมาตรา 77 (2) (3) (4) (5) และ (6) เป็นการย้อนหลัง การปฏิบัติหน้าที่หรือการใช้อานาจ ในตาแหน่งเดิ มที่ได้กระทำไปก่อนมีประกาศพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง ให้เป็นอันใช้ได้ มาตรา 106 นอกจากที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ อำนาจในการสั่ง การอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการ และการดาเนินการด้านอื่นที่ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติจะพึงปฏิบัติ หรือดำ เนินการตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคาสั่งใด หรือมติคณะรัฐมนตรีในเรื่องใด ้ หนา 50 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

ในกิจการของแต่ละกองบัญชาการ ให้ผู้บัญชาการของแต่ละกองบัญชาการนั้นเป็นผู้ปฏิบัติราชการแทน ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ ในการปฏิบัติราชการแทนผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติตามวรรคหนึ่ง ผู้บัญชาการจะมอบหมาย ให้รองผู้บัญชาการปฏิบัติราชการแทนก็ได้ ให้ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติมีหน้าที่กากับติดตามผลการปฏิบัติราชการของผู้บัญชาการ ตามวรรคหนึ่ง และให้มีอานาจแนะนำและแก้ไขการปฏิบัติราชการขอ งผู้บัญชาการตามวรรคหนึ่ง ในกรณีจาเป็นเพื่อรักษาประโยชน์ของทางราชการหรือการระงับความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น จากการใช้อานาจของผู้บัญชาการตามวรรคหนึ่ง ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติจะระงับการใช้อานาจ ของผู้บัญชาการดังกล่าวไว้เป็นการชั่วคราวและใช้อานาจนั้นด้วยตนเองก็ ได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขที่ ก.ต.ช. กำหนด มาตรา 107 เพื่อประโยชน์ในการบริหารราชการในสานักงานตารวจแห่งชาติ อานาจในการสั่ง การอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการ หรือการดาเนินการอื่นใดที่ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติหรือ หัวหน้าส่วนราชการหรื อหัวหน้าหน่วยงานจะพึงปฏิบัติ หรือดาเนินการตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คาสั่ง หรือมติคณะรัฐมนตรีในเรื่องใด ถ้ากฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คาสั่ง หรือมติคณะรัฐมนตรี ในเรื่องนั้นมิได้กำหนดเรื่องการมอบอำนาจไว้เป็นอย่างอื่น หรือมิได้ห้ามเรื่องการมอบอำน ำจไว้ ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติหรือหัวหน้าส่วนราชการหรือหัวหน้าหน่วยงาน อาจมอบอำนาจให้ผู้ดารงตาแหน่ง รองหรือผู้ช่วย หรือผู้ดารงตาแหน่งหัวหน้าส่วนราชการหรือหัวหน้าหน่วยงานถัดลงไปตามลาดับ หรือ ผู้ดำรงตาแหน่งเทียบเท่า หรือข้าราชการตารวจชั้นสัญญาบัตรในส่ว นราชการหรือในหน่วยงานนั้นปฏิบัติ ราชการแทนได้ การมอบอานาจตามวรรคหนึ่งให้ทาเป็นหนังสือและให้ผู้มอบอานาจมีหน้าที่แนะนา กากับ และติดตามการปฏิบัติราชการของผู้รับมอบอำนาจ และในกรณีที่เห็นว่าผู้รับมอบอานาจปฏิบัติราชการ ในเรื่องใดโดยไม่สมควร ให้มีอำนาจแก้ไขการป ฏิบัติราชการของผู้รับมอบอำนาจนั้นได้ เมื่อมีการมอบอำนาจแล้ว ผู้รับมอบอำนาจมีหน้าที่ต้องรับมอบอำนาจนั้น และจะมอบ อำนาจนั้นให้แก่ผู้ดารงตาแหน่งอื่นต่อไปไม่ได้ เว้นแต่จะได้รับความเห็นชอบจากผู้มอบอำนาจไว้เป็นกรณี ๆ ไป มาตรา 108 ให้ผู้รักษาราชการแทนตามมาตรา 105 มีหน้าที่และอานาจเช่นเดียวกับ ผู้ซึ่งตนแทน ้ หนา 51 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

ในกรณีที่กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คาสั่ง หรือมติคณะรัฐมนตรี แต่งตั้ง ให้ ผู้ดำรงตาแหน่งใดเป็นกรรมการหรือให้มีหน้าที่และอำนาจอย่างใด ให้ผู้รักษาราชการแทนมีหน้าที่และ อำนาจเป็นกรรมการหรือมีหน้าที่และอำนาจเช่นเดียวกับผู้ดำรงตาแหน่งนั้นในระหว่างที่รักษาราชการแทน การสั่งให้รักษาราชการแทนให้มีผลนับแต่เวลาที่ผู้ได้รับแต่งตั้งเข้ารับหน้าที่ และให้ ผู้ดารงตาแหน่ง รองหรือตาแหน่งผู้ช่วยพ้นจากความเป็นผู้รักษาราชการแทนนับแต่เวลาที่ผู้ได้รับแต่งตั้ง เข้ารับหน้าที่ ทั้งนี้ ไม่เป็นการกระทบกระเทือนถึงการใดที่ผู้นั้นได้ปฏิบัติไปแล้วในระหว่างเป็นผู้รักษา ราชการแทน มาตรา 109 ในกรณีที่มีกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คาสั่ ง หรือมติคณะรัฐมนตรี กาหนดให้หน้าที่หรืออานาจใดเป็นของปลัดกระทรวง การใช้อานาจหรือปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวสาหรับ ส่วนราชการหรือหน่วยงานของสานักงานตารวจแห่งชาติ ให้ถือเป็นหน้าที่และอานาจของผู้บัญชาการ ตารวจแห่งชาติ หมวด 6 วินัยและการรักษาวินัย มาตรา 110 ข้าราชการตารวจต้องถือและปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบของทางราชการ มติคณะรัฐมนตรี และจรรยาบรรณของตารวจตามที่กาหนดในกฎ ก.ตร. และต้องรักษาวินัยตามที่ บัญญัติไว้ในหมวดนี้โดยเคร่งครัด กฎ ก.ตร. ตามวรรคหนึ่ง ให้มีผลใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหกสิบวันนับแต่วันปร ะกาศ ในราชกิจจานุเบกษา มาตรา 111 ข้าราชการตารวจต้องกระทำการอันเป็นข้อปฏิบัติหรือต้องไม่กระทำการอันเป็น ข้อห้ามดังต่อไปนี้ (1) ต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต และเที่ยงธรรม เป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบของทางราชการ มติคณะรัฐมนตรี จรรยาบรรณของตารวจ และนโยบายของรัฐบาล โดยไม่ให้เสียหายแก่ราชการ (2) ต้องปฏิบัติตามคาสั่งของผู้บังคับบัญชาซึ่งสั่งในหน้าที่ราชการโดยชอบด้วยกฎหมายและ ระเบียบของทางราชการในเรื่องที่ไม่เกี่ยวกับการมีความเห็นทางคดีหรือ การตรวจพิสูจน์ โดยไม่ขัดขืน ้ หนา 52 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

หรือหลีกเลี่ยง แต่ถ้าเห็นว่าการปฏิบัติตามคาสั่งนั้นจะทำให้เสียหายแก่ราชการ หรือจะเป็นการไม่รักษา ประโยชน์ของทางราชการ จะเสนอความเห็นเป็นหนังสือทันทีเพื่อให้ผู้บังคับบัญชาทบทวนคาสั่งนั้นก็ได้ และเมื่อได้เสนอความเห็นแล้ว ถ้าผู้ บังคับบัญชายืนยันให้ปฏิบัติตามคาสั่งเดิม ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา ต้องปฏิบัติตาม (3) ต้องรักษาระเบียบการเคารพตามสายการบังคับบัญชา ยศ และตาแหน่ง (4) ต้องอุทิศเวลาของตนให้แก่ราชการ จะละทิ้งหรือทอดทิ้งหน้าที่ราชการมิได้ (5) ต้องปฏิบัติราชการโดยมิให้เป็นการก ระทำการข้ามผู้บังคับบัญชาเหนือตน เว้นแต่ ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปเป็นผู้สั่งให้กระทำ หรือได้รับอนุญาตเป็นพิเศษชั่วครั้งคราว (6) ต้องรักษาความลับของทางราชการ (7) ต้องสุภาพเรียบร้อย รักษาความสามัคคี และต้องช่วยเหลือกันในการปฏิบัติราชการ ระหว่างข้าราชการ ด้วยกัน และผู้ร่วมปฏิบัติราชการ (8) ต้องต้อนรับ ให้บริการ ให้ความสะดวก ให้ความเป็นธรรมและให้การช่วยเหลือ ตามสมควรแก่ประชาชนผู้ติดต่อราชการ หรือในการปฏิบัติราชการเกี่ยวกับหน้าที่ของตนโดยไม่ชักช้า และด้วยความสุภาพเรียบร้อย (9) ต้องปฏิบัติหน้าที่ราชกา รด้วยความตั้งใจ อุตสาหะ เพื่อให้เกิดผลดีหรือความก้าวหน้า แก่ราชการ เอาใจใส่ ระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของทางราชการ และต้องไม่ประมาทเลินเล่อ ในหน้าที่ราชการ (10) ต้องไม่กระทำการอันเป็นเหตุให้แตกความสามัคคีระหว่างข้าราชการตำรวจ และ ไม่กระทำการอย่างใดที่ เป็นการกลั่นแกล้งกัน (11) ต้องไม่รายงานเท็จต่อผู้บังคับบัญชา การรายงานโดยปกปิดข้อความซึ่งควรต้องแจ้ง ถือว่าเป็นการรายงานเท็จด้วย (12) ต้องไม่ใช้กิริยาวาจาหรือประพฤติตนในลักษณะที่ไม่สมควร (13) ต้องไม่กระทำการอันได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่ว (14) ต้องไม่กระทำด้วยประการใด ๆ ในลักษณะที่เป็นการบังคับผู้บังคับบัญชาเป็นทาง ให้เสียระเบียบแบบแผนวินัยตารวจ ้ หนา 53 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

(15) ต้องไม่กระทาหรือละเว้นการกระทาใด ๆ อันเป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการหรือทาให้ เสียระเบียบแบบแผนของตารวจ (16) ต้องไม่กระทำการหรือยอมให้ผู้อื่นกระทา การหาผลประโยชน์อันอาจทำให้เสียความเที่ยงธรรม ในการปฏิบัติหน้าที่ราชการหรือเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ของตาแหน่งหน้าที่ราชการของตน (17) ต้องไม่เป็นกรรมการผู้จัดการ หรือผู้จัดการ หรือดารงตาแหน่งอื่นใดที่มีลักษณะงาน คล้ายคลึงกันนั้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท (18) กระทาการหรือไม่กระทำการตามที่กำหนดในกฎ ก.ตร. หรือกระทำการอันถือว่ากระทำผิดวินัย ตามพระราชบัญญัตินี้ ข้าราชการตารวจผู้ใดไม่ปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง ผู้นั้นเป็นผู้กระทำผิดวินัย มาตรา 112 การกระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง ได้แก่ การกระทำดังต่อไปนี้ (1) ปฏิบัติหรื อละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยมิชอบเพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นได้รับประโยชน์ ที่มิควรได้หรือเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับความเสียหาย (2) ล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศตามที่ ก.ตร. กาหนด (3) ละทิ้งหรือทอดทิ้งหน้าที่ราชการโดยไม่มีเหตุอันสมควร เป็นเหตุให้เสียหาย แก่ราชการ อย่างร้ายแรง หรือละทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อในคราวเดียวกันเป็นเวลาเกินสิบห้าวันโดยไม่มีเหตุอันสมควร หรือโดยมีพฤติการณ์อันแสดงถึงความจงใจไม่ปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการ (4) ดูหมิ่น เหยียดหยาม กดขี่ ข่มเหง หรือทำร้ายประชาชนผู้ติดต่อราชการหรือใน ระหว่าง ปฏิบัติหน้าที่ราชการ (5) กระทาความผิดอาญาจนได้รับโทษจาคุกหรือโทษที่หนักกว่าโทษจาคุกโดยคาพิพากษา ถึงที่สุดให้จำคุกหรือให้รับโทษที่หนักกว่าโทษจำคุก เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำ โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (6) กระทำการอันได้ชื่อว่าเป็นผู้ประ พฤติชั่วอย่างร้ายแรง (7) กระทาการอันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 26 วรรคสาม หรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา 51 วรรคสอง (8) ไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ในการแต่งตั้งโดยจงใจเพื่อช่วยเหลือบุคคลหนึ่งบุคคลใด หรือ เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ใดตามมาตรา 87 วรรคสี่ หรือกระทำการ ตามมาตรา 87 วรรคห้า ้ หนา 54 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

(9) กระทาหรือละเว้นการกระทาใด ๆ รวมทั้งการกระทาผิดตามมาตรา 111 อันเป็นเหตุ ให้เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง (10) กระทำการหรือไม่กระทำการตามที่กาหนดในกฎ ก.ตร. มาตรา 113 ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่เสริมสร้างและพัฒนาให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชามีวินัย และป้องกันมิให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชากระทาผิดวินัย และดาเนินการทางวินัยแก่ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา ซึ่งมีกรณีอันมีมูลที่ควรกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัย วิธีการเสริมสร้างและพัฒนาให้ผู้อยู่ ใต้บังคับบัญชามีวินัยและการป้องกันมิให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา กระทำผิดวินัย ให้เป็นไปตามที่กาหนดในระเบียบ ก.ตร. เมื่อปรากฏกรณีมีมูลที่ควรจะกล่าวหาว่าข้าราชการตารวจผู้ใดกระทำผิดวินัย ให้ผู้บังคับบัญชา ดาเนินการทางวินัยทันทีตามที่บัญญัติไว้ในหมวด 7 ผู้ บังคับบัญชาผู้ใดละเลยไม่ปฏิบัติตามมาตรานี้และตามหมวด 7 หรือปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว โดยไม่สุจริต ให้ถือว่าผู้นั้นกระทำผิดวินัย มาตรา 114 เมื่อมีความจาเป็นอันไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ เพื่อประโยชน์ในการรักษาวินัยและ ปราบปรามข้าราชการตารวจผู้ก่อการกาเริบ หรือเพื่อบังคับข้าราชการตารวจผู้ละทิ้งหน้าที่ให้กลับ ทาหน้าที่ของตน ผู้บังคับบัญชาอาจใช้อาวุธหรือกาลังบังคับได้ และถ้าได้กระทาโดยสุจริตตามสมควร แก่เหตุแล้ว ผู้บังคับบัญชาหรือผู้ช่วยเหลือไม่ต้องรับผิดทั้งทางแพ่งและทางอาญา เมื่อมีเหตุดังกล่าว ผู้บังคับบั ญชาจะต้องรายงานไปยังผู้บังคับบัญชาเหนือตนตามลาดับชั้น จนถึงผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติโดยเร็ว มาตรา 115 โทษทางวินัยมี 7 สถาน ดังต่อไปนี้ (1) ภาคทัณฑ์ (2) ทัณฑกรรม (3) กักยาม (4) กักขัง (5) ตัดเงินเดือน (6) ปลดออก (7) ไล่ออก ้ หนา 55 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

การลงโทษภาคทัณฑ์ ได้แก่ การลงโทษแก่ผู้กระทาผิดอันควรต้องรับโทษสถานหนึ่งสถานใด แต่มีเหตุอันควรปรานี จึงเพียงแค่แสดงความผิดผู้นั้นให้ปรากฏไว้ การลงโทษทัณฑกรรม ได้แก่ การให้ทางานโยธา การให้อยู่เวรยามนอกจากหน้าที่ประจา หรือการให้ทำงานสาธารณประโยชน์ซึ่งต้องไม่เกินหกชั่วโมงต่อห นึ่งวัน การลงโทษกักยาม ได้แก่ การกักตัวไว้ในบริเวณใดบริเวณหนึ่งที่สมควรตามที่จะกำหนด การลงโทษกักขัง ได้แก่ การขังในที่จัดไว้เพื่อควบคุมแต่เฉพาะคนเดียวหรือหลายคนรวมกัน ตามที่จะได้มีคำสั่ง การลงโทษกักยามหรือกักขังจะใช้งานโยธาหรืองานอื่นของทางราชการด้วย ก็ได้ แต่ต้องไม่เกิน หกชั่วโมงต่อหนึ่งวัน มาตรา 116 การลงโทษข้าราชการตารวจให้ทาเป็นคาสั่งโดยระบุในคำสั่งด้วยว่าผู้ถูกลงโทษ กระทำผิดวินัยในกรณีใดและมาตราใด วิธีการออกคาสั่งเกี่ยวกับการลงโทษ ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎ ก.ตร. หมวด 7 การดำเนินการทางวินัย มาตรา 117 เมื่อมีการกล่าวหาหรือมีกรณีเป็นที่สงสัยว่าข้าราชการตารวจผู้ใดกระทำผิดวินัย ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่พิจารณาพฤติการณ์และหลักฐานในเบื้องต้นว่ากรณีมีมูลที่ควรกล่าวหาว่าผู้นั้น กระทำผิดวินัยหรือไม่ ในกรณีจาเป็นหรือเห็นสมควรจะให้ดาเนินการสืบสวนข้อ เท็จจริงก่อนก็ได้ ในการสืบสวนข้อเท็จจริงจะมอบหมายให้บุคคลหนึ่งหรือหลายคนช่วยกันดาเนินการสืบสวนก็ได้ ในการดาเนินการสืบสวนตามวรรคหนึ่ง ต้องให้โอกาสผู้ถูกกล่าวหาได้ชี้แจงข้อเท็จจริง โดยจะ กำหนดเวลาให้ชี้แจงก็ได้ ถ้าเห็นว่ากรณีไม่มีมูลที่ควรกล่าวหาว่ากระทำ ผิดวินัย ให้สั่งยุติเรื่องได้ ถ้าเห็นว่า กรณีมีมูลที่ควรกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัย ให้ดาเนินการต่อไปตามมาตรา 118 หรือมาตรา 119 แล้วแต่กรณี ทันที มาตรา 118 เมื่อข้าราชการตารวจถูกกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัย และได้มีการดาเนินการ ตามมาตรา 117 แล้ว ถ้าฟั งได้ว่ากระทาผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาสั่งการ ตามมาตรา 124 โดยเร็ว ในกรณีที่มีการสืบสวน ให้นาผลการสืบสวนมาใช้ประกอบการพิจารณาสั่งการ ้ หนา 56 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

มาตรา 119 เมื่อข้าราชการตารวจถูกกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรง ให้แต่งตั้ง คณะกรรมการขึ้นทำการสอบสวน ในการสอบสวนต้องแจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานที่ สนับสนุนข้อกล่าวหาเท่าที่มีให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ โดยจะระบุหรือไม่ระบุชื่อพยานก็ได้ ทั้งนี้ เพื่อให้ ผู้ถูกกล่าวหาชี้แจงและนำสืบแก้ข้อกล่าวหา เมื่อดาเนินการแล้ว ถ้าฟังได้ว่าผู้ ถูกกล่าวหาได้กระทำผิดวินัย ให้ดาเนินการต่อไปตามมาตรา 124 หรือมาตรา 125 แล้วแต่กรณี ถ้าฟังไม่ได้ว่าผู้ถูกกล่าวหา กระทำผิดวินัย ให้สั่งยุติเรื่อง ให้ผู้มีอำนาจตามมาตรา 105 หรือผู้บังคับบัญชาอื่นตามที่กำหนดในระเบียบ ก.ตร. เป็นผู้สั่งแต่งตั้งคณะก รรมการสอบสวนตามวรรคหนึ่ง ในกรณีที่ข้าราชการตารวจตาแหน่งต่างกันถูกกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรงร่วมกัน ให้ผู้มีอำนาจสำหรับผู้ถูกกล่าวหาที่มีตาแหน่งในระดับสูงกว่าเป็นผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน ในกรณีที่ผู้บังคับบัญชาได้แต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นทากำรสอบสวนผู้ถูกกล่าวหาตามมาตรา 137 แม้คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนจะมิได้กำหนดให้สอบสวนในความผิดวินัยอย่างร้ายแรง แต่ผลการสอบสวนปรากฏว่าผู้ถูกกล่าวหากระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรง ให้ผู้บังคับบัญชาดาเนินการสั่งการ ตามผลการสอบสวนโดยไม่ต้องแต่งตั้งคณะกรรมกำรสอบสวนหรือดาเนินการสอบสวนใหม่ แต่ทั้งนี้ ต้องแจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหาเท่าที่มีให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ โดยจะ ระบุหรือไม่ระบุพยานก็ได้ และต้องให้โอกาสผู้ถูกกล่าวหาชี้แจงและนาสืบแก้ข้อกล่าวหาได้ด้วย มาตรา 120 หลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาเกี่ยวกับการสืบสวน การสอบสวน และ การดำเนินการตามมาตรา 117 มาตรา 119 มาตรา 126 วรรคหนึ่ง และมาตรา 127 วรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎ ก.ตร. ในการพิจารณาของผู้บังคับบัญชาผู้มีอานาจตามมาตรา 118 มาตรา 124 หรือมาตรา 125 ให้พิจารณาสั่งการให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวันนับแต่วันได้รับสำนวนที่ครบถ้วนสมบูรณ์ เว้นแต่ มีเหตุจำเป็นอันไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ก็ให้ขออนุมัติต่อผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปตามมาตรา 105 เพื่อขยายระยะเวลาได้อีกไม่เกินสองครั้ง โดยแต่ละครั้งจะต้องไม่เกินสามสิบวัน ในการนี้ หากยัง พิจารณาไม่แล้วเสร็จ ให้ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปนั้นพิจารณาสั่งการแทนภายในสามสิบวันนับแต่ วันครบกาหนดเวลาดังกล่าว พร้อมทั้งให้สั่งลงโทษทางวินัยแก่ผู้บังคับบัญชาผู้นั้นโดยไม่ต้องดาเนินการ สืบสวนหรือสอบสวน ้ หนา 57 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

ในกรณีที่เป็นความผิดที่ปรากฏชัดแ จ้งตามที่กาหนดในกฎ ก.ตร. จะดาเนินการทางวินัย โดยไม่ต้องสอบสวนก็ได้ ในระหว่างการสอบสวน จะนาเหตุแห่งการถูกสอบสวนมาเป็นข้ออ้างในการดาเนินการใด ให้กระทบต่อสิทธิของผู้ถูกสอบสวนไม่ได้ เว้นแต่ผู้บังคับบัญชาจะสั่งพักราชการหรือสั่งให้ออกจาก ราชการไว้ก่อนตามข้อเ สนอแนะของคณะกรรมการสอบสวน มาตรา 121 ในการดาเนินการทางวินัยแก่ข้าราชการตารวจ หากเรื่องที่ข้าราชการตารวจ ถูกกล่าวหาเป็นเรื่องที่อยู่ในระหว่างการดาเนินการตามหน้าที่และอานาจของคณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติหรือคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจ ริตในภาครัฐอยู่ด้วย ก็ไม่เป็นเหตุให้ต้องชะลอการดาเนินการทางวินัย และให้ผู้บังคับบัญชาดาเนินการทางวินัยและลงโทษ ทางวินัยต่อไปได้โดยไม่ต้องรอผลการชี้มูลของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ หรือคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ ในกร ณีที่ผู้บังคับบัญชาได้รับสานวนการไต่สวนของคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การทุจริตแห่งชาติหรือคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐว่ากรณีมีมูลความผิด ทางวินัย ให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาลงโทษทางวินัยแก่ข้าราชการตารวจผู้นั้นตามที่คณะกรรมการป้องกัน และปรำบปรามการทุจริตแห่งชาติหรือคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐได้มีมติ โดยไม่ต้องตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัย และหากการกระทาผิดวินัยดังกล่าวเป็นกรณีที่มีการฟ้อง เป็นคดีอาญาด้วยในฐานความผิดเดียวกัน แล้วต่อมาศาลได้มีคำพิพากษาถึงที่สุดว่าการกระทำข องจำเลย ไม่เป็นความผิดอาญาหรือจาเลยมิได้กระทาความผิด ให้ดาเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนขึ้น เพื่อพิจารณาทบทวนการลงโทษทางวินัยที่ได้ดาเนินการไปแล้ว โดยนาคาพิพากษาดังกล่าวมาประกอบ การพิจารณาด้วย หากผลการพิจารณาสอดคล้องกับผลของคาพิพากษา ก็ให้แก้ไขคาสั่งให้ถูกต้องและ มีคาสั่งให้รับข้าราชการตารวจผู้นั้นกลับเข้ารับราชการ แต่ถ้าผู้นั้นพ้นจากราชการไปก่อนแล้ว ก็ให้ เยียวยาชดเชยตามความเป็นธรรมแก่กรณี มาตรา 122 ในการดาเนินการทางวินัยแก่ข้าราชการตารวจ หากปรากฏข้อเท็จจริงว่า คดี มีมูลเหตุแห่งความผิ ดทางอาญาและได้มีการดาเนินคดีอาญาด้วย ไม่เป็นเหตุให้ต้องชะลอการดาเนินการ ทางวินัย แม้ว่าจะเป็นการดาเนินคดีอาญาในเรื่องเดียวกันหรือเกี่ยวเนื่องกันก็ตาม ้ หนา 58 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

ในกรณีที่ได้มีการดาเนินการลงโทษทางวินัยแก่ข้าราชการตารวจไปแล้ว และต่อมาศาลได้มี คำพิพากษาถึงที่สุดแตก ต่างไปจากผลการดำเนินการทางวินัย หากผลของคำพิพากษาว่าจำเลย กระทาความผิด และการลงโทษทางวินัยที่ได้ดาเนินการไปแล้วเบากว่าผลของคาพิพากษา ให้ผู้บังคับบัญชา พิจารณาทบทวนการลงโทษทางวินัยใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับผลของคาพิพากษาดังกล่าว โดยให้นา คำพิพากษานั้นมาพิจำรณาเพื่อสั่งลงโทษ แต่หากเป็นกรณีที่ได้มีการลงโทษทางวินัยโดยสั่งปลดออกหรือ ไล่ออก แล้วศาลได้มีคาพิพากษาถึงที่สุดว่าการกระทาของจาเลยไม่เป็นความผิดอาญาหรือจาเลยมิได้ กระทาความผิด ให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาทบทวนการดาเนินการทางวินัยที่ได้ดาเนินการไปแล้วใหม่ โ ดยนาคาพิพากษาดังกล่าวมาประกอบการพิจารณาด้วย หากผลการพิจารณาสอดคล้องกับผลของ คาพิพากษา ก็ให้แก้ไขคาสั่งให้ถูกต้อง และมีคาสั่งให้รับข้าราชการตารวจผู้นั้นกลับเข้ารับราชการ แต่ถ้าผู้นั้นพ้นจากราชการไปก่อนแล้ว ก็ให้เยียวยาชดเชยตามความเป็นธรรมแก่กรณี มาตรา 123 เมื่อมีเหตุจาเป็นจะต้องกักตัวข้าราชการตารวจซึ่งถูกกล่าวหาไว้เพื่อประโยชน์ ในการสอบสวน เช่น จะหลบหนีหรือจะไปทาร้ายหรือข่มขู่ผู้เสียหายหรือพยาน ให้ผู้บังคับบัญชา มีอานาจกักตัวข้าราชการตารวจนั้นระหว่างดาเนินการสอบสวนได้เท่าที่จาเป็นแก่การสอบสวน แต่ต้อ ง ไม่เกินอำนาจลงโทษกักขังของผู้สั่งกักตัวและต้องไม่เกินสิบห้าวัน ในกรณีที่ข้าราชการตารวจตามวรรคหนึ่งถูกลงโทษกักยามหรือกักขัง ให้หักจานวนวันที่ถูกกักตัว ออกจากระยะเวลากักยามหรือกักขังด้วย และในกรณีที่ถูกลงโทษทัณฑกรรม ให้ถือว่าการถูกกักตัว เป็นการรับโทษสำหรับความผิดนั้นแล้ว มาตรา 124 ข้าราชการตำรวจผู้ใดกระทำผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ให้ผู้บังคับบัญชา สั่งลงโทษภาคทัณฑ์ ทัณฑกรรม กักยาม กักขัง หรือตัดเงินเดือนตามควรแก่กรณีให้เหมาะสมกับความผิด ถ้ามีเหตุอันควรลดหย่อนจะนามาประกอบการพิจารณาลดโ ทษก็ได้ แต่สาหรับการลงโทษภาคทัณฑ์ ให้ใช้เฉพาะกรณีกระทำผิดวินัยเล็กน้อยหรือมีเหตุอันควรลดหย่อน ซึ่งยังไม่ถึงกับจะต้องถูกลงโทษทัณฑกรรม ถ้าผู้บังคับบัญชาเห็นว่าผู้กระทำผิดวินัยควรได้รับโทษสูงกว่าที่ตนมีอำนาจสั่งลงโทษ ให้รายงาน ต่อผู้บังคับบัญชาของตนที่มีอำ นาจเพื่อให้พิจารณาดาเนินการเพื่อลงโทษตามควรแก่กรณี ในกรณีกระทำผิดวินัยเล็กน้อยและมีเหตุอันควรงดโทษ จะงดโทษให้โดยให้ทำทัณฑ์บน เป็นหนังสือหรือว่ากล่าวตักเตือนก็ได้ ้ หนา 59 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

การลงโทษตามมาตรานี้ ผู้บังคับบัญชาจะมีอานาจสั่งลงโทษผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาในสถานโทษ และอัตรา โทษได้เพียงใด ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎ ก.ตร. มาตรา 125 ข้าราชการตารวจผู้ใดกระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรง ให้ผู้มีอานาจตามมาตรา 105 สั่งลงโทษปลดออกหรือไล่ออกตามความร้ายแรงแห่งกรณี ถ้ามีเหตุอันควรลดหย่อนจะนามาประกอบ การพิจารณาลงโทษก็ได้ แต่ห้ามมิให้ลดโทษต่า กว่าปลดออก การพิจารณาสั่งลงโทษของผู้มีอานาจตามมาตรา 105 (2) (3) และ (4) ให้ผู้มีอานาจ ดังกล่าวตั้งคณะกรรมการเพื่อเสนอแนะว่าจะลงโทษในสถานใด โดยคณะกรรมการดังกล่าวอย่างน้อย ต้องประกอบด้วยรองหัวหน้าหน่วยงานนั้นทุกคน ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดในกฎ ก.ตร. และ ต้องพิจารณาเสนอแนะภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับสำนวนการสอบสวนจากผู้บังคับบัญชา ให้ผู้บังคับบัญชาลงโทษตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการตามวรรคสอง แล้วรายงานให้ ก.ตร. ทราบ ผู้ถูกลงโทษปลดออกตามมาตรานี้ ให้มีสิทธิได้รับบำเหน็จบำนาญเสมือนว่าผู้นั้นลาออก จำกราชการ มาตรา 126 เมื่อผู้บังคับบัญชาได้ดำเนินการทางวินัยแก่ข้าราชการตำรวจผู้ใดแล้ว ให้รายงานการดำเนินการทางวินัยต่อผู้บังคับบัญชาที่มีตำแหน่งเหนือผู้ดำเนินการทางวินัย และ ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ ในกรณีที่ผู้บังคับบัญชาที่ได้รับรายงานตามวรรคหนึ่งเห็นว่ำการยุติเรื่อง การงดโทษ หรือ การลงโทษ เป็นการไม่ถูกต้องหรือไม่เหมาะสม ก็ให้มีอานาจสั่งลงโทษ เพิ่มโทษเป็นสถานโทษหรือ อัตราโทษที่หนักขึ้น ลดโทษลงเป็นสถานโทษหรืออัตราโทษที่เบาลง งดโทษโดยให้ทำทัณฑ์บน เป็นหนังสือหรือว่ากล่าวตักเตือน หรือยกโทษให้ถูกต้อง หรือเหมาะสมตามควรแก่กรณี ตลอดจนแก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อความในคาสั่งเดิมให้ถูกต้องเหมาะสมได้ด้วย และในกรณีที่เห็นว่าควรดาเนินการ อย่างใดเพิ่มเติมเพื่อประกอบการพิจารณาให้ได้ความจริงและยุติธรรม ก็ให้มีอานาจดาเนินการหรือ สั่งดาเนินการได้ตามควรแก่กรณี โดยการสั่งล งโทษหรือเพิ่มโทษเป็นสถานโทษที่หนักขึ้น ต้องไม่เกิน อานาจของตนตามมาตรา 124 และการเพิ่มอัตราโทษเมื่อรวมกับอัตราโทษเดิมต้องไม่เกินอำนาจนั้นด้วย ถ้าเกินอานาจของตน ก็ให้รายงานต่อผู้บังคับบัญชาของผู้นั้นตามลาดับเพื่อให้พิจารณาดาเนินการ ้ หนา 60 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

ตามควรแก่กรณี ทั้งนี้ ถ้าเห็นว่าการจะสั่งลงโทษหรือเพิ่มโทษนั้นกรณีเป็นการกระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรง ก็ให้รายงานต่อผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติเพื่อให้พิจารณาดาเนินการ ในกรณีที่ผู้บังคับบัญชาสั่งลงโทษตามมาตรา 124 สั่งยุติเรื่อง หรือสั่งงดโทษข้าราชการตารวจ ผู้ใดไปแล้ว แต่ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติเห็นว่ากรณีเป็นการกระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรง หรือ เมื่อได้รับรายงานที่ผู้บังคับบัญชาตามวรรคสองเห็นว่ากรณีเป็นการกระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรง ก็ให้ ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติมีอานาจดาเนินการตามมาตรา 119 แต่ถ้าเป็นกรณีที่ได้มีการแต่ง ตั้ง คณะกรรมการสอบสวนตามมาตรา 119 ไว้แล้ว ก็ให้ดาเนินการตามมาตรา 125 เมื่อมีกรณีเพิ่มโทษ ลดโทษ งดโทษ หรือยกโทษ ให้ผู้สั่งมีคาสั่งใหม่ และในคาสั่งดังกล่าว ให้สั่งยกเลิกคาสั่งลงโทษเดิมด้วย พร้อมทั้งระบุวิธีการดาเนินการให้ผู้ถูกลงโทษตามคาสั่งเดิมรับโทษ ที่เพิ่มขึ้นหรือกลับคืนสู่ฐานะเดิม แล้วแต่กรณี ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎ ก.ตร. มาตรา 127 เมื่อผู้บังคับบัญชาได้ดาเนินการทางวินัยอย่างร้ายแรงหรือสั่งให้ข้าราชการ ตารวจออกจากราชการในเรื่ องใดไปแล้ว ให้รายงาน ก.ตร. เพื่อทราบ แต่ในกรณีที่ ก.ตร. มีเหตุ อันสมควร ก.ตร. จะสั่งเปลี่ยนแปลงแก้ไขการดำเนินการหรือคำสั่งของผู้บังคับบัญชา หรือ ให้ผู้บังคับบัญชาดาเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดให้ถูกต้องก็ได้ การรายงานตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก.ตร. กาหนด มาตรา 128 ให้ผู้สืบสวนและกรรมการสอบสวนเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา และให้กรรมการสอบสวนมีอำนาจเช่นเดียวกับพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เพียงเท่าที่เกี่ยวกับอานาจและหน้าที่ของกรรมการสอบสวน และโดยเฉพา ะให้มีอำนาจเรียกให้กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอื่นของรัฐ ห้างหุ้นส่วน บริษัท หรือบุคคลใด ๆ มาให้ถ้อยคาหรือชี้แจงข้อเท็จจริง ส่งเอกสารและหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ส่งผู้แทนหรือบุคคลในสังกัด มาชี้แจงหรือให้ถ้อยคำเกี่ยวกับเรื่องที่ สอบสวน มาตรา 129 ข้าราชการตำรวจผู้ใดซึ่งออกจากราชการอันมิใช่เพราะเหตุตาย มีกรณี ถูกกล่าวหาเป็นหนังสือก่อนออกจากราชการว่า ขณะรับราชการได้กระทาหรือละเว้นกระทาการใด อันเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง ถ้าเป็นการกล่าวหาต่อผู้บังคับบัญชาของผู้นั้น หรือต่อผู้มีห น้าที่ สืบสวนสอบสวนหรือตรวจสอบตามกฎหมายหรือระเบียบของทางราชการ หรือเป็นการกล่าวหา ของผู้บังคับบัญชาของผู้นั้น หรือมีกรณีถูกฟ้องคดีอาญาหรือต้องหาคดีอาญาก่อนออกจากราชการว่า ้ หนา 61 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

ในขณะรับราชการได้กระทาความผิดอาญาอันมิใช่เป็นความผิดที่ได้กระทาโดยประมาทที่ไม่เกี่ย วกับ ราชการหรือความผิดลหุโทษ ผู้มีอานาจดาเนินการทางวินัยมีอานาจดาเนินการสอบสวนหรือพิจารณา ดาเนินการทางวินัย และสั่งลงโทษตามที่บัญญัติไว้ในหมวดนี้ต่อไปได้เสมือนว่าผู้นั้นยังมิได้ออกจากราชการ แต่ต้องสั่งลงโทษภายในสามปีนับแต่วันที่ผู้นั้นออกจากราชการ กรณีตา มวรรคหนึ่ง ถ้าเป็นการกล่าวหาหรือฟ้องคดีอาญาหรือต้องหาคดีอาญา หลังจากที่ ข้าราชการตารวจผู้ใดออกจากราชการแล้ว ให้ผู้มีอำนาจดาเนินการทางวินัยมีอำนาจดำเนินการสอบสวน หรือพิจารณาดาเนินการทางวินัย และสั่งลงโทษตามที่บัญญัติไว้ในหมวดนี้ต่อไปได้เสมือนว่าผู้นั้นยัง มิได้ ออกจากราชการ โดยต้องเริ่มดาเนินการสอบสวนภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่ผู้นั้นออกจากราชการ และ ต้องสั่งลงโทษภายในสามปีนับแต่วันที่ผู้นั้นออกจากราชการ สาหรับกรณีที่เป็นความผิดที่ปรากฏชัดแจ้ง ตามมาตรา 120 วรรคสาม จะต้องสั่งลงโทษภายในสามปีนับแต่วันที่ผู้นั้นออกจากราชการ ในกรณีที่ศาลปกครองมีคาพิพากษาถึงที่สุดให้เพิกถอนคาสั่งลงโทษ หรือ ก.พ.ค.ตร. มีมติ ให้เพิกถอนคาสั่งลงโทษตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง เพราะเหตุกระบวนการดาเนินการทางวินัยไม่ชอบ ด้วยกฎหมาย ให้ผู้มีอานาจดา เนินการทางวินัยดาเนินการทางวินัยให้แล้วเสร็จภายในสองปีนับแต่วันที่ มีคำพิพากษาถึงที่สุดหรือมีคาวินิจฉัยของ ก.พ.ค.ตร. แล้วแต่กรณี การดาเนินการทางวินัยตามวรรคหนึ่ง วรรคสอง และวรรคสาม ถ้าผลการสอบสวนพิจารณา ปรากฏว่าผู้นั้นกระทำผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ก็ให้ งดโทษ มาตรา 130 ในกรณีที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติหรือ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐมีมติชี้มูลความผิดข้าราชการตารวจผู้ใด ซึ่งออกจากราชการแล้ว การดาเนินการทางวินัยและสั่งลงโทษแก่ข้าราชการตารวจผู้นั้นให้เป็นไป ตามหลักเกณ ฑ์และเงื่อนไขที่กาหนดไว้ในกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริตหรือกฎหมายว่าด้วยมาตรการของฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต แล้วแต่กรณี การดาเนินการทางวินัยตามวรรคหนึ่ง หากปรากฏว่าผู้นั้นกระทาผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ก็ให้ งดโทษ มาตรา 131 ข้าราชการตารวจผู้ใดมีกรณีถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรงจนถูกตั้ง กรรมการสอบสวน หรือต้องหาว่ากระทาความผิดอาญาหรือถูกฟ้องคดีอาญา เว้นแต่เป็นความผิด ที่ได้กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ ผู้มีอานาจตามมาตรา 105 หรือผู้บังคับบัญชาอื่ น ้ หนา 62 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

ตามที่กาหนดในระเบียบ ก.ตร. มีอานาจสั่งพักราชการหรือสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน เพื่อรอฟังผล การสอบสวนพิจารณาทางวินัยได้ แต่ถ้าภายหลังปรากฏผลการสอบสวนพิจารณาทางวินัยว่าผู้นั้น มิได้กระทาผิดหรือกระทาผิดไม่ถึงกับถูกลงโทษปลดออกหรือไล่ออก และไม่มีกรณีที่จ ะต้องออกจาก ราชการด้วยเหตุอื่น ก็ให้ผู้มีอานาจดังกล่าวสั่งให้ผู้นั้นกลับเข้ารับราชการในตาแหน่งเดิมหรือตาแหน่ง ในระดับเดียวกันที่ผู้นั้นมีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตาแหน่งนั้น เมื่อได้มีการสั่งให้ข้าราชการตารวจผู้ใดพักราชการหรือออกจากราชการไว้ก่อน ตามวรรคหนึ่งแล้ว หากภายหลังปรากฏว่าผู้นั้นมีกรณีถูกกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรงในกรณีอื่นอีก ผู้มีอานาจ ตามมาตรา 105 หรือผู้บังคับบัญชาอื่นตามที่กาหนดในระเบียบ ก.ตร. มีอานาจดาเนินการสืบสวน หรือพิจารณาตามมาตรา 117 และแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนตามมาตรา 119 ตลอดจน ดาเนินการทางวินัยตามที่บัญญัติไว้ในหมวดนี้ต่อไปได้ ในกรณีที่ผู้ถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อนได้รับคาสั่งให้กลับเข้ารับราชการหรือได้รับคาสั่ง ให้ออกจากราชการด้วยเหตุใด ๆ ที่มิใช่เป็นการลงโทษ ให้ผู้นั้นมีสถำนภาพเป็นข้าราชการตารวจ ตลอดระยะเวลาระหว่างที่ถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน เมื่อมีการดาเนินการทางวินัยแก่ข้าราชการตำรวจซึ่งถูกสั่งพักราชการหรือสั่งให้ออกจากราชการ ไว้ก่อนแล้วเสร็จ ให้ผู้มีอำนาจตามมาตรา 105 สั่งลงโทษตามความร้ายแรงแห่งกรณี ถ้ามีเหตุอันคว ร ลดหย่อน จะนามาประกอบการพิจารณาลดโทษก็ได้ และให้มีคาสั่งลงโทษย้อนหลังไปถึงวันที่ถูกสั่ง พักราชการหรือถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน เงินเดือน เงินอื่นที่จ่ายเป็นรายเดือน และเงินช่วยเหลืออย่างอื่น และการจ่ายเงินดังกล่าวของ ผู้ถูกสั่งพักราชการและผู้ถูกสั่ งให้ออกจากราชการไว้ก่อน ให้เป็นไปตามกฎหมายหรือระเบียบว่าด้วยการนั้น หลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการสั่งพักราชการ การสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน ระยะเวลา ให้พักราชการและให้ออกจากราชการไว้ก่อน และการดาเนินการเพื่อให้เป็นไปตามผลการสอบสวน พิจารณา ให้เป็นไป ตามที่กาหนดในกฎ ก.ตร. ให้นำความในมาตรา 129 มาใช้บังคับแก่ข้าราชการตำรวจซึ่งถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน ตามมาตรานี้ด้วยโดยอนุโลม แต่ระยะเวลาให้นับแต่วันที่พ้นจากราชการด้วยเหตุอื่นที่มิใช่เหตุการสั่งให้ ออกจากราชการไว้ก่อน ้ หนา 63 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

มาตรา 132 ข้าราชการตารวจซึ่งโอ นมาตามมาตรา 94 (1) ผู้ใดมีกรณีกระทาผิดวินัย อยู่ก่อนวันโอนมาบรรจุ ให้ผู้บังคับบัญชาของข้าราชการตารวจผู้นั้นดาเนินการทางวินัยตามหมวดนี้ โดยอนุโลม แต่ถ้าเป็นเรื่องที่อยู่ในระหว่างการสืบสวนหรือพิจารณา หรือสอบสวนของผู้บังคับบัญชาเดิม ก่อนวันโอน ก็ให้สืบส วนหรือพิจารณาหรือสอบสวนต่อไปจนเสร็จ แล้วส่งเรื่องให้ผู้บังคับบัญชา ของข้าราชการตารวจผู้นั้นพิจารณาดาเนินการต่อไปตามหมวดนี้โดยอนุโลม แต่ทั้งนี้ ในการสั่งลงโทษ ทางวินัยให้พิจารณาตามความผิดและการลงโทษตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการหรือระเบียบ บริหารงานบุคคล ส่วนท้องถิ่นที่โอนมานั้น แล้วแต่กรณี หมวด 8 การออกจากราชการ มาตรา 133 ข้าราชการตารวจออกจากราชการเมื่อ (1) ตาย (2) พ้นจากราชการตามกฎหมายว่าด้วยบำเหน็จบานาญข้าราชการ (3) ได้รับอนุญาตให้ลาออกหรือการลาออกมีผลตามมาตรา 135 (4) ถูกสั่งให้ออกตามมาตรา 75 มาตรา 131 มาตรา 134 มาตรา 136 มาตรา 137 มาตรา 138 หรือมาตรา 139 (5) ถูกสั่งลงโทษปลดออกหรือไล่ออก วันออกจากราชการตาม (4) และ (5) ให้เป็นไปตามที่กาหนดในระเบียบ ก.ตร. การออกจากราชการของข้าราชการตารวจเฉพาะผู้ที่ต้องรับราชการตามกฎหมายว่าด้ว ย การรับราชการทหาร ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น มาตรา 134 ผู้ใดได้รับบรรจุเข้าเป็นข้าราชการตารวจ หากภายหลังปรากฏว่าขาดคุณสมบัติ หรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 71 หรือขาดคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่งตามมาตรา 69 ตั้งแต่ก่อนได้รับการบรรจุ ให้ผู้มีอำนาจตำมมาตรา 105 สั่งให้ออกจากราชการ แต่ทั้งนี้ ไม่กระทบกระเทือนถึงการใดที่ผู้นั้นได้ปฏิบัติไปตามหน้าที่และอำนาจ และการรับเงินเดือนหรือ ผลประโยชน์อื่นใดที่ได้รับจากทางราชการก่อนมีคาสั่งให้ออกนั้น และถ้าการเข้ารับราชการเป็นไป ้ หนา 64 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

โดยสุจริตแล้ว ให้ถือว่าเป็นกา รสั่งให้ออกเพื่อรับบาเหน็จบานาญเหตุทดแทนตามกฎหมายว่าด้วย บำเหน็จบำนาญข้าราชการ มาตรา 135 ข้าราชการตารวจผู้ใดประสงค์จะลาออกจากราชการ ให้ยื่นหนังสือขอลาออก ต่อผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปชั้นหนึ่ง เพื่อให้ผู้มีอำนาจตามมาตรา 105 หรือผู้บังคับบัญชาอื่น ตามที่กา หนดในระเบียบ ก.ตร. เป็นผู้พิจารณาอนุญาต ในกรณีที่ข้าราชการตารวจขอลาออกเพื่อดารงตาแหน่งที่กาหนดโดยรัฐธรรมนูญ ตาแหน่ง ทางการเมือง หรือเพื่อสมัครรับเลือกตั้งหรือรับเลือกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่น ให้ การลาออกมีผลนับตั้งแต่วันที่ผู้นั้นขอลาออก นอกจากกรณีตามวรรคสอง ถ้าผู้มีอานาจตามมาตรา 105 หรือผู้บังคับบัญชาอื่นตามที่ กำหนดในระเบียบ ก.ตร. เห็นว่าจำเป็นเพื่อประโยชน์แก่ราชการ จะยับยั้งการลาออกไว้เป็นเวลาไม่เกิน เก้าสิบวันนับแต่วันขอลาออกก็ได้ ในกรณี เช่นนั้น ถ้าผู้ขอลาออกมิได้ถอนใบลาออกก่อนครบกาหนด ระยะเวลาการยับยั้ง ให้ถือว่าการลาออกนั้นมีผลเมื่อครบกำหนดเวลาตามที่ได้ยับยั้งไว้ ในกรณีที่ผู้มีอานาจตามมาตรา 105 หรือผู้บังคับบัญชาอื่นตามที่กาหนดในระเบียบ ก.ตร. มิได้ยับยั้งตามวรรคสาม ให้การลาออกนั้นมีผลตั้งแต่วันขอลาออก หลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการลาออก การพิจารณาอนุญาตให้ลาออก และการยับยั้ง การลาออกจากราชการ ให้เป็นไปตามที่ กำหนดในระเบียบ ก.ตร. มาตรา 136 ผู้มีอานาจตามมาตรา 105 มีอานาจสั่งให้ข้าราชการตารวจออกจากราชการ เพื่อรับบาเหน็จบานาญตามกฎหมายว่าด้วยบาเหน็จบานาญข้าราชการได้ แต่ในการสั่งให้ออกจากราชการ เพื่อรับบาเหน็จบานาญเหตุทดแทน นอกจากให้ทาได้ในกรณีที่ระบุไว้ในมาต ราอื่นแห่งพระราชบัญญัตินี้ หรือในกฎหมายว่าด้วยบำเหน็จบานาญข้าราชการแล้ว ให้ทำได้ในกรณีดังต่อไปนี้ด้วย (1) เมื่อข้าราชการตารวจผู้ใดเจ็บป่วยไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ราชการของตนได้โดยสม่ำเสมอ (2) เมื่อข้าราชการตารวจผู้ใดสมัครไปปฏิบัติงานใด ๆ ตามความประสงค์ของทำงราชการ (3) เมื่อข้าราชการตารวจผู้ใดขาดคุณสมบัติทั่วไปตามมาตรา 71 (1) หรือ (4) หรือ ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามที่กาหนดในกฎ ก.ตร. (4) เมื่อข้าราชการตารวจผู้ใดไม่สามารถปฏิบัติราชการให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ในระดับอันเป็นที่พอใจของทา งราชการ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎ ก.ตร. ้ หนา 65 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

มาตรา 137 ข้าราชการตำรวจผู้ใดมีกรณีถูกกล่าวหาหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่า หย่อนความสามารถในอันที่จะปฏิบัติหน้าที่ราชการ บกพร่องในหน้าที่ราชการ หรือประพฤติตนไม่เหมาะสม กับตาแหน่งในอันที่จะปฏิบัติหน้า ที่ราชการ และผู้บังคับบัญชาตาแหน่งตั้งแต่ผู้กากับการหรือเทียบเท่า ผู้กากับการขึ้นไปเห็นว่ากรณีมีมูล ถ้าให้ผู้นั้นรับราชการต่อไปจะเป็นการเสียหายแก่ราชการ ก็ให้ผู้มี อานาจดังกล่าวสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนโดยไม่ชักช้า ในการสอบสวนนี้จะต้องแจ้งข้อกล่าวหา แ ละสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหาเท่าที่มีให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ โดยจะระบุหรือไม่ระบุ ชื่อพยานก็ได้ และต้องให้โอกาสผู้ถูกกล่าวหาชี้แจงและนำสืบแก้ข้อกล่าวหาได้ด้วย เมื่อได้มีการสอบสวนแล้ว ถ้าคณะกรรมการหรือผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาเห็นว่าสมควรใ ห้ออกจากราชการ ก็ให้ผู้สั่ง แต่งตั้งคณะกรรมการเสนอเรื่องต่อผู้มีอำนาจตามมาตรา 105 เพื่อพิจารณาสั่งให้ผู้นั้นออกจากราชการ เพื่อรับบาเหน็จบานาญเหตุทดแทนได้ ในกรณีที่ผู้บังคับบัญชาได้แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อทาการสอบสวนผู้ถูกกล่าวหาตามมาตรา 119 ในเรื่องที่จะต้องสอบสวนตามวรรคหนึ่ง และคณะกรรมการสอบสวนตามมาตรา 119 ได้สอบสวนไว้แล้ว ผู้มีอำนาจตามวรรคหนึ่งจะใช้สำนวนการสอบสวนนั้นมาพิจารณาดำเนินการโดยไม่ต้องแต่งตั้ง คณะกรรมการสอบสวนตามวรรคหนึ่งก็ได้ หลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการสอบสวนพิจารณา ให้ เป็นไปตามที่กาหนดในกฎ ก.ตร. มาตรา 138 เมื่อข้าราชการตารวจผู้ใดถูกกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรง และได้มี การสอบสวนตามมาตรา 119 แต่ไม่ได้ความแน่ชัดว่าผู้นั้นกระทำผิดที่จะถูกลงโทษปลดออกหรือไล่ออก แต่มีมลทินหรือมัวหมองในกรณีที่ถูกสอบสวนนั้น หากจะให้ รับราชการต่อไปจะเป็นการเสียหาย แก่ราชการ ก็ให้ผู้มีอานาจตามมาตรา 105 สั่งให้ผู้นั้นออกจากราชการเพื่อรับบาเหน็จบำนาญ เหตุทดแทนได้ มาตรา 139 เมื่อข้าราชการตารวจผู้ใดถูกจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุกในความผิด ที่ได้กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ ซึ่ง ยังไม่ถึงกับจะต้องถูกลงโทษปลดออกหรือไล่ออก หากจะให้รับราชการต่อไปจะเป็นการเสียหายแก่ราชการ ก็ให้ผู้มีอานาจตามมาตรา 105 สั่งให้ผู้นั้น ออกจากราชการเพื่อรับบาเหน็จบานาญเหตุทดแทนได้ มาตรา 140 การพ้นจากตาแหน่งของข้าราชการตารวจตาแหน่งผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ จเรตารวจแห่งชาติ และรองผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ หรือตาแหน่งเทียบเท่า ให้นาความกราบบังคมทูล ้ หนา 66 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

เพื่อทรงมีพระบรมราชโองการให้พ้นจากตาแหน่ง เว้นแต่กรณีที่พ้นจากตาแหน่งเพราะความตาย เกษียณอายุ หรือพ้นจากราชการเพราะถูกลงโทษ ในการออกจากราชการของข้าราชการตำรวจตำแหน่งตั้งแต่ผู้บังคับการหรือตำแหน่ง เทียบเท่าขึ้นไป นอกจากตาแหน่งตามวรรคหนึ่ง ให้นายกรัฐมนตรีนาความกราบบังคมทูลเพื่อทรงทราบ เว้นแต่กรณีที่พ้นจากตาแหน่งเพราะความตาย เกษียณอายุ หรือพ้นจา กราชการเพราะถูกลงโทษ หมวด 9 การอุทธรณ์ มาตรา 141 ข้าราชการตารวจผู้ใดถูกสั่งลงโทษหรือถูกสั่งให้ออกจากราชการตามพระราชบัญญัตินี้ ให้ผู้นั้นมีสิทธิอุทธรณ์ได้ ดังต่อไปนี้ (1) กรณีถูกสั่งลงโทษภาคทัณฑ์ ทัณฑกรรม กักยาม กักขัง หรือตัดเงินเดือน ให้อุทธรณ์ คาสั่งดังกล่าวต่อผู้บังคับบัญชาของผู้บังคับบัญชาที่สั่งลงโทษ แต่ในกรณีที่ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ เป็นผู้สั่งลงโทษ ให้อุทธรณ์ต่อ ก.ตร. (2) กรณีถูกสั่งลงโทษปลดออก หรือไล่ออก หรือถูกสั่งให้ออกจากราชการ ให้อุทธรณ์คำสั่ง ดังกล่าวต่อ ก.พ.ค.ตร . การอุทธรณ์ตาม (1) และ (2) ให้อุทธรณ์ภายในสามสิบวันนับแต่วันทราบคาสั่ง การพิจารณาอุทธรณ์ตาม (1) ให้พิจารณาให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันที่ได้รับ อุทธรณ์ เว้นแต่มีเหตุขัดข้องตามที่กาหนดในระเบียบ ก.ตร. ที่ทาให้การพิจารณาไม่แล้วเสร็จ ภายใน ระยะเวลาดังกล่าว ก็ให้ขยายระยะเวลาได้อีกไม่เกินสองครั้ง โดยแต่ละครั้งจะต้องไม่เกินหกสิบวัน และ ให้บันทึกเหตุขัดข้องให้ปรากฏไว้ด้วย ทั้งนี้ การอุทธรณ์และการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ตาม (1) ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎ ก.ตร. การพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ตำม (2) ให้ดาเนินการให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่ วันที่ได้รับอุทธรณ์ เว้นแต่มีเหตุขัดข้องที่ทาให้การพิจารณาไม่แล้วเสร็จภายในระยะเวลาดังกล่าว ก็ให้ ขยายระยะเวลาได้อีกไม่เกินสองครั้ง โดยแต่ละครั้งจะต้องไม่เกินหกสิบวัน และให้บันทึกเหตุขัดข้อง ให้ปรากฏไว้ด้วย ทั้งนี้ การอุทธรณ์และการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ตาม (2) ให้เป็นไปตามที่กาหนด ้ หนา 67 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

ในกฎ ก.พ.ค.ตร. ในกรณีนี้ อาจกาหนดวิธีการชั่วคราวเพื่อการแก้ไขปัญหาหรือบรรเทาทุกข์ก่อนที่ ก.พ.ค.ตร. จะมีคำวินิจฉัยด้วยก็ได้ ในกรณีที่ ก.ตร. ตามวรรคสาม หรือ ก.พ.ค.ตร. ตามวรรคสี่ พิจารณาไม่แล้วเสร็จ ตามกำหนดเวลา ให้ผู้อุทธรณ์ฟ้องคดีต่อศาลปกครองได้ภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่ครบกำหนดเวลาดังกล่าว กฎ ก.ตร. ตามวรรคสาม และ กฎ ก.พ.ค.ตร. ตามวรรคสี่ ต้องไม่สร้างขั้นตอนหรือวิธีการใด ที่ทำให้การพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์เกิดความล่าช้า มาตรา 142 เมื่อ ก.พ.ค.ตร. พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์แล้ว ให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งสั่งลงโทษ ดาเนินการให้เป็นไปตามคาวินิจฉัยนั้นภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ ก.พ.ค.ตร. มีคำวินิจฉัย ในกรณีที่ผู้อุทธรณ์ไม่เห็นด้วยกับ คำวินิจฉัยอุทธรณ์ของ ก.พ.ค.ตร. ให้ฟ้องคดีต่อศาลปกครองสูงสุด ภายในเก้าสิบวัน นับแต่วันที่ทราบหรือถือว่าทราบคำวินิจฉัยของ ก.พ.ค.ตร. ผู้บังคับบัญชาผู้ใดไม่ปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่าเป็นการจงใจละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่บุ คคลอื่น มาตรา 143 ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้กรรมการ ก.พ.ค.ตร. เป็นเจ้าพนักงาน ตามประมวลกฎหมายอาญา และให้มีอานาจ ดังต่อไปนี้ (1) สั่งให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งสั่งลงโทษหรือสั่งให้ออกจากราชการอันเป็นเหตุให้มีการอุทธรณ์ ส่งสำนวนการสอบสวนและการลงโทษให้ ก.พ.ค.ตร. ภายในเวลาที่กำหนด (2) สั่งให้สอบสวนใหม่หรือสอบสวนเพิ่มเติม หรือส่งตัวข้าราชการตารวจในสังกัดมาให้ถ้อยคำ ในการนี้ จะกำหนดระยะเวลาในการสอบสวนใหม่หรือสอบสวนเพิ่มเติมไว้ด้วยก็ได้ (3) มีคาสั่งให้ข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของกระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐ หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือบุคคลใดที่เกี่ยวข้อง มาให้ถ้อยคำหรือให้ส่งเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้อง (4) เข้าไปในอาคารหรือสถานที่ใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ของ ก.พ.ค.ตร. ทั้งนี้ ในระหว่างพระอาทิตย์ขึ้นถึงพระอาทิตย์ตก หรือในเวลาทำการของสถานที่นั้น (5) สอบสวนใหม่หรือสอบสวนเพิ่มเติม มาตรา 144 ในการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ ให้ ก.พ.ค.ตร. มีอำนาจไ ม่รับอุทธรณ์ ยกอุทธรณ์ หรือมีคาวินิจฉัยให้แก้ไขหรือยกเลิกคาสั่งลงโทษ และให้เยียวยาความเสียหายให้ผู้อุทธรณ์ ้ หนา 68 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

รวมทั้งเร่งรัดติดตามการเยียวยา หรือให้ดาเนินการอื่นใดเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม ตามระเบียบ ที่ ก.พ.ค.ตร. กำหนด การวินิจฉัยให้แก้ไขหรือให้ ดาเนินการอื่นตามวรรคหนึ่ง ก.พ.ค.ตร. จะให้เพิ่มโทษไม่ได้ มาตรา 145 การคัดค้านกรรมการ ก.พ.ค.ตร. เหตุแห่งการคัดค้าน วิธีการคัดค้าน การพิจารณาคาคัดค้าน และการถอนตัว ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎ ก.พ.ค.ตร. มาตรา 146 ในกรณีที่ศาลปกครองมีคำพิพากษาถึงที่สุดห รือผู้มีอำนาจพิจารณาตามกฎหมาย ได้วินิจฉัยถึงที่สุดแล้ว สั่งเพิกถอนหรือแก้ไขคาสั่งในเรื่องใด ให้เป็นหน้าที่ของผู้บังคับบัญชาผู้มีอานาจ หรือ ก.ตร. แล้วแต่กรณี ในการสั่งการตามสมควรเพื่อเยียวยาและแก้ไขหรือดาเนินการตามควรแก่กรณี เพื่อให้เป็นไปตามคาพิพากษำหรือคาวินิจฉัยนั้น หมวด 10 การร้องทุกข์ มาตรา 147 ข้าราชการตำรวจผู้ใดเห็นว่าผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจหน้าที่ปฏิบัติต่อตน โดยไม่ถูกต้องหรือไม่ปฏิบัติต่อตนให้ถูกต้องตามระเบียบ กฎหมาย หรือเกิดจากการปฏิบัติโดยมิชอบ ของผู้บังคับบัญชาต่อตน หรือกฎ ก.ตร. ที่ออกมาใช้บังคับขัดหรือแย้งต่อพระราชบัญญัตินี้ หรือ ก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรม ผู้นั้นอาจร้องทุกข์ต่อผู้บังคับบัญชาหรือ ก.พ.ค.ตร. แล้วแต่กรณี เพื่อขอให้ แก้ไขได้ เว้นแต่เป็นกรณีที่มีสิทธิอุทธรณ์ตามหมวด 9 การอุทธรณ์ ให้ใช้สิทธิอุทธรณ์ตามที่กำหนดไว้ ใน หมวดนั้น มาตรา 148 การร้องทุกข์ที่เหตุเกิดจากผู้บังคับบัญชา ให้ร้องทุกข์ต่อผู้บังคับบัญชา ชั้นเหนือขึ้นไป ตามลำดับ การร้องทุกข์ที่เหตุเกิดจากหัวหน้าส่วนราชการระดับกองบัญชาการขึ้นไป ให้ร้องทุกข์ต่อ ก.พ.ค.ตร. การร้องทุกข์ว่ากฎ ก.ตร. ที่ออกมาใช้บังคับก่ อให้เกิดความไม่เป็นธรรม หรือขัดหรือแย้งต่อ พระราชบัญญัตินี้ ให้ร้องทุกข์ต่อ ก.พ.ค.ตร. ระยะเวลาการร้องทุกข์ การร้องทุกข์ และการพิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์ ตามวรรคหนึ่ง วรรคสอง และวรรคสาม ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎ ก.พ.ค.ตร. ้ หนา 69 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

มาตรา 149 ในการพิจารณำวินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์ ให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งพิจารณาวินิจฉัย เรื่องร้องทุกข์ และ ก.พ.ค.ตร. มีอานาจไม่รับเรื่องร้องทุกข์ ยกคาร้องทุกข์ หรือมีคาวินิจฉัยให้แก้ไข หรือยกเลิกคาสั่ง และให้เยียวยาความเสียหายให้ผู้ร้องทุกข์ หรือให้ดาเนินการอื่นใดเพื่อประโ ยชน์ แห่งความยุติธรรมตามระเบียบที่ ก.พ.ค.ตร. กาหนด เมื่อผู้บังคับบัญชาซึ่งพิจารณาวินิจฉัยคำร้องทุกข์ หรือ ก.พ.ค.ตร. ได้พิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์ ประการใดแล้ว ให้ผู้มีหน้าที่ปฏิบัติดาเนินการให้เป็นไปตามคาวินิจฉัยนั้น ผู้ร้องทุกข์ผู้ใดไม่พอใจคาวินิจฉัยของผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจพิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์ มีสิทธิอุทธรณ์ต่อ ก.พ.ค.ตร. ได้ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคาวินิจฉัย และให้นาความใน มาตรา 148 วรรคสี่ มาใช้บังคับโดยอนุโลม คำวินิจฉัยของ ก.พ.ค.ตร . ให้เป็นที่สุด หมวด 11 การคุ้มครองระบบคุณธรรม มาตรา 150 ในกรณีที่ ก.พ.ค.ตร. เห็นว่ากฎกระทรวง กฎ ก.ตร. ระเบียบ ข้อบังคับ ข้อกาหนด ประกาศ มติ หรือคาสั่งใดที่ออกตามพระราชบัญญัตินี้และมุ่งหมายให้ใช้บังคับเป็นการทั่วไป ไม่สอดคล้องกับระบบคุณธรรมตามมาตรา 60 ให้ ก.พ.ค.ตร. แจ้งให้ผู้มีอานาจออกกฎกระทรวง กฎ ก.ตร. ระเบียบ ข้อบังคับ ข้อกาหนด ประกาศ มติ หรือคาสั่งดังกล่าวทราบ เพื่อดาเนินการ แก้ไขหรือยกเลิกตามควรแก่กรณี หมวด 12 เครื่องแบบตารวจ มาตรา 151 ลักษณะ ชนิ ด และประเภทของเครื่องแบบตารวจและข้าราชการตารวจ ที่ไม่มียศ รวมทั้งการแต่งว่าจะสมควรอย่างไร เมื่อไร และโดยเงื่อนไขประการใดนั้น ให้เป็นไปตามที่ กำหนดในกฎกระทรวง มาตรา 152 ผู้ใดแต่งเครื่องแบบตารวจโดยไม่มีสิทธิ ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่สามเดือน ถึงห้าปี ้ หนา 70 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

ถ้าการกระทาความผิดตามวรรคหนึ่ง ได้กระทาภายในเขตซึ่งประกาศใช้กฎอัยการศึก หรือ ประกาศภาวะฉุกเฉิน หรือเพื่อกระทำความผิดอาญา ผู้กระทำต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี มาตรา 153 ข้าราชการตารวจผู้ใดแต่งเครื่องแบบตารวจในขณะกระทาความผิดอย่างใด อย่างหนึ่งตา มที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญาซึ่งมีกาหนดโทษจาคุกอย่างสูงตั้งแต่หนึ่งปีขึ้นไป ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงเจ็ดปี มาตรา 154 ผู้ใดแต่งกายโดยใช้เครื่องแต่งกายคล้ายเครื่องแบบตารวจ และกระทำการใด ๆ อันทาให้ราชการตารวจถูกดูหมิ่นหรือถูกเกลียดชัง หรือ ทาให้เกิดความเสื่อมเสียแก่ราชการตารวจ หรือทาให้บุคคลอื่นหลงเชื่อว่าตนเป็นตารวจ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามเดือน หรือปรับตั้งแต่ หนึ่งพันบาทถึงหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ถ้าการกระทาความผิดตามวรรคหนึ่ง ได้กระทาภายในเขตซึ่งประกาศใช้กฎอัยการศึก หรื อ ประกาศภาวะฉุกเฉิน หรือเพื่อกระทำความผิดอาญา ผู้กระทำต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี มาตรา 155 ในการแสดงภาพยนตร์ ละคร หรือการแสดงอื่นใดทานองเดียวกันที่ประสงค์ จะเผยแพร่ต่อสาธารณชน หากผู้แสดงประสงค์จะแต่งเครื่องแบบตารวจ หรือแต่งกายโดยใช้เครื่ องแต่งกาย คล้ายเครื่องแบบตารวจ ให้ผู้ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบการแสดงนั้นหรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายแจ้งต่อหัวหน้า สถานีตารวจแห่งท้องที่ที่จะทำการแสดงเช่นว่านั้นทราบ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดในกฎกระทรวง ลักษณะ 9 กองทุนเพื่อการสืบสวน สอบสวน การป้องกันและป ราบปรามการกระทำความผิดทางอาญา มาตรา 156 ให้จัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ เรียกว่า “ กองทุนเพื่อการสืบสวน สอบสวน การป้องกันและปราบปรามการกระทาความผิดทางอาญา ” โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อใช้จ่ายในงานสืบสวน สอบสวน และการป้องกันและปราบปรามการกระทาความผิด ทางอาญา มาตรา 157 กองทุนประกอบด้วย (1) ทรัพย์สินที่ได้รับโอนมาตามมาตรา 176 (2) เงินอุดหนุนจากรัฐบาล ้ หนา 71 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

(3) เงินและทรัพย์สินที่กองทุนได้รับจากหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการส่วนท้องถิ่น หรือมูลนิธิ เว้นแต่เงินอุดหนุนตามมาตรา 7 วรรคสอง (4) ดอกผลที่เกิดจากกองทุน คณะรัฐมนตรีจะอนุมัติให้นาเงินค่าเปรียบเทียบปรับคดีอาญาที่เป็นอำนาจของข้าราชการตารวจ เงินค่าปรับตามกฎหมายว่าด้วยการจราจรทางบก เฉพาะส่วนที่จะต้องนาส่งเป็นรา ยได้แผ่นดิน และ เงินค่าปรับทางปกครองที่ข้าราชการตารวจสั่งปรับตามกฎหมาย ให้เป็นของกองทุนโดยไม่ต้องนาส่ง เป็นรายได้แผ่นดินก็ได้ เงิน ดอกผล และทรัพย์สินตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ให้ส่งเข้ากองทุนโดยไม่ต้องนาส่ง เป็นรายได้แผ่นดิน มาตรา 158 เงิน ดอกผล และทรั พย์สินที่ประกอบขึ้นเป็นกองทุนจะต้องจัดการ เพื่อประโยชน์ภายในขอบวัตถุประสงค์ของกองทุน มาตรา 159 ให้มีคณะกรรมการบริหารกองทุนคณะหนึ่ง ประกอบด้วย ผู้บัญชาการ ตารวจแห่งชาติ เป็นประธานกรรมการ จเรตารวจแห่งชาติ ผู้แทนกรมบัญชีกลาง ผู้แทนสานักงาน อัยการสูงสุด ผู้แทนสานักงบประมาณ และรองผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติหรือผู้ช่วยผู้บัญชาการ ตารวจแห่งชาติซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติจำนวนสองคน เป็นกรรมการ ให้ประธานกรรมการแต่งตั้งข้าราชการตารวจเป็นเลขานุการคนหนึ่ง และผู้ช่วยเลขานุการ จำนวนไม่เกินสองคน มำตรา 160 คณะกรรมการบริหารกองทุน มีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้ (1) บริหารกองทุนให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนและตามนโยบายที่ ก.ต.ช. กำหนด (2) ออกระเบียบกำหนดหลักเกณฑ์การจ่ายเงินกองทุนเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของข้าราชการตารวจในการทาหน้าที่เกี่ยวกั บการสืบสวน สอบสวน การป้องกันและปราบปราม การกระทำความผิดทางอาญา ระเบียบดังกล่าว เมื่อได้รับความเห็นชอบจาก ก.ต.ช. แล้ว ให้ใช้บังคับได้ (3) จัดวางระบบบัญชีให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ ที่กระทรวงการคลังกำหนด (4) กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการรับ เก็บรักษา และจ่ายเงินของกองทุน (5) ออกระเบียบกำหนดค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานของกองทุน ้ หนา 72 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

(6) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติงานตามที่คณะกรรมการบริหารกองทุนมอบหมาย (7) ออกระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ และคำสั่งในการบริหารกองทุ น (8) รายงานสถานะการเงินและบริหารกองทุนต่อ ก.ต.ช. มาตรา 161 ให้คณะกรรมการบริหารกองทุนจัดทางบการเงินและบัญชี ส่งผู้สอบบัญชี ตรวจสอบภายในเก้าสิบวันนับแต่วันสิ้นปีปฏิทินทุกปี ให้สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินเป็นผู้สอบบัญชีของกองทุนทุกรอบปี แล้วทำรายงาน ผลกำรสอบบัญชีของกองทุนเสนอต่อ ก.ต.ช. และกระทรวงการคลัง บทเฉพาะกาล มาตรา 162 ให้ส่วนราชการที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการสานักงาน ตารวจแห่งชาติ พ.ศ. 2552 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการเป็นกองบังคับการ หรือส่วนราชการอย่างอื่นในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2552 และที่แก้ไขเพิ่มเติม เป็นส่วนราชการตามพระราชบัญญัตินี้จนกว่าจะมีพระราชกฤษฎีกาหรือกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา 11 แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกินหนึ่งปีนับแต่วันที่พ ระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ มาตรา 163 เมื่อครบหนึ่งปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้กองบังคับการ ตารวจรถไฟเป็นอันยุบ และให้โอนเงินงบประมาณของการรถไฟแห่งประเทศไทยในส่วนที่ได้รับจาก งบประมาณแผ่นดินสาหรับเงินเดือน ค่าตอบแทน และค่าใช้จ่ายอื่นของข้าราชการตารวจในกองบังคับการ ตารวจรถไฟ มาเป็นของสำนักงานตารวจแห่งชาติ ให้สำนักงานตำรวจแห่งชาตินำอัตรากำลังจากกองบังคับการตำรวจรถไฟตามวรรคหนึ่ง ไปดาเนินการจัดสรรเพื่อให้เป็นไปตามมาตรา 12 มาตรา 164 บรรดาหน้าที่และอานาจของข้าราชการตาร วจในกองบังคับการตารวจรถไฟ ในส่วนที่เกี่ยวกับการสืบสวนหรือสอบสวนเรื่องใดที่อยู่ในระหว่างดาเนินการก่อนยุบกองบังคับการ ตารวจรถไฟ ให้โอนไปเป็นของข้าราชการตารวจในสถานีตารวจหรือในกองบังคับการ ตามที่ผู้บัญชาการ ตารวจแห่งชาติกำหนด และให้ถือว่าการสืบสวนหรือสอบสว นที่ได้ดาเนินการไปแล้วและที่จะดาเนินการต่อไป เป็นการดาเนินการโดยพนักงานสอบสวนผู้มีอำนาจตามกฎหมายแล้ว ้ หนา 73 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

มาตรา 165 ภายในสองปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ประธานคณะกรรมการ พัฒนาระบบราชการเชิญผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติและหัวหน้าหน่วยงานที่รับผิดชอบปฏิ บัติการ ตามกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อันได้แก่ กฎหมายว่าด้วยป่าไม้ กฎหมาย ว่าด้วยป่าสงวนแห่งชาติ กฎหมายว่าด้วยอุทยานแห่งชาติ กฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า กฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง กฎหมายว่าด้วย การประมง กฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม กฎหมายว่าด้วยน้าบาดาล กฎหมายว่าด้วยเลื่อยโซ่ยนต์ และกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอื่น มาร่วมกัน พิจารณาเพื่อดาเนินการให้หน่วยงานดังกล่าวรับผิดชอบในการป้องกันและ ปราบปราม การสืบสวน และ การสอบสวนการกระทาความผิดเกี่ยวกับกฎหมายนั้น ๆ ทั้งหมดหรือบางส่วนตามที่จะได้ตกลงกัน โดยคานึงถึงประสิทธิภาพและการบูรณาการในการปฏิบัติหน้าที่ และการแบ่งเบาภารกิจของสานักงาน ตารวจแห่งชาติ และให้สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการรายงำนความคืบหน้าต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อทราบทุกสามเดือน เมื่อได้ข้อยุติประการใดแล้ว ให้ตราพระราชกฤษฎีกายุบหรือเปลี่ยนแปลงกองบังคับการ ปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของสำนักงานตารวจแห่งชาติ ให้สอดคล้องกัน และในกรณีที่ยุบกองบังคับการ ดังกล่าว ให้นำความในมาตรา 163 วรรคสอง มาใช้ บังคับโดยอนุโลม ในพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวให้กาหนดขั้นตอนการถ่ายโอนงาน การโอนและรับโอน ข้าราชการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมตลอดทั้งหน้าที่และอานาจในการดาเนินการเกี่ยวกับคดี หรือเรื่องที่อยู่ในระหว่างดาเนินกำรด้วย โดยให้นาความในมาตรา 6 วรรคสาม มาใช้บังคับด้วย โดยอนุโลม เมื่อพ้นกำหนดเวลาตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองแล้ว ถ้าปรึกษาหารือกันยังไม่ได้ข้อยุติ ให้กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็นอันยุบไป และให้นำอัตรากำลังไปดาเนินการจัดสรรเพื่อให้เป็นไปตามมาตรา 12 ต่อไป และให้รัฐมนตรี ผู้รักษาการตามกฎหมายตามวรรคหนึ่งดาเนินการให้พนักงานเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเป็นผู้รับผิดชอบ ในการป้องกันและปราบปราม การสืบสวน และการสอบสวนการกระทาความผิดเกี่ยวกับกฎหมายนั้ น ๆ ทั้งหมด และให้ตราพระราชกฤษฎีกาเพื่อกำหนดขั้นตอนการถ่ายโอนงาน การโอนและรับโอน ้ หนา 74 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

ข้าราชการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมตลอดทั้งหน้าที่และอานาจในการดาเนินการเกี่ยวกับคดี หรือเรื่องที่อยู่ในระหว่างดาเนินการและเรื่องอื่นที่เกี่ยวข้องหรือจำเป็นในการถ่ำยโอนงานด้วย มาตรา 166 ภายในห้าปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ ก.ต.ช. พิจารณาทบทวน หน้าที่และอำนาจของสำนักงานตารวจแห่งชาติหรือข้าราชการตารวจในส่วนที่มีกฎหมายกำหนด ให้สานักงานตารวจแห่งชาติหรือข้าราชการตารวจมีหน้าที่เกี่ยวกับการอนุญาตหรือการจดท ะเบียน หากพิจารณาแล้วเห็นว่ามีความจาเป็นต้องกาหนดให้สานักงานตารวจแห่งชาติหรือข้าราชการตารวจ มีหน้าที่และอำนาจตามกฎหมายดังกล่าวไว้ ให้รายงานเหตุผลและความจำเป็นต่อคณะรัฐมนตรี และรัฐสภาเพื่อพิจารณา ในกรณีที่ ก.ต.ช. ไม่ดาเนินการหรือดาเนินการไม่แล้วเสร็จภำยในกาหนดเวลาตามวรรคหนึ่ง ให้หน้าที่และอานาจของสานักงานตารวจแห่งชาติหรือข้าราชการตารวจในการอนุญาตหรือการจดทะเบียน ตามวรรคหนึ่งเป็นอันสิ้นสุดลง เว้นแต่คณะรัฐมนตรีและรัฐสภาจะมีมติให้สานักงานตารวจแห่งชาติ หรือข้าราชการตารวจยังคงมีหน้าที่และอำนาจดังกล่าวตามก ฎหมายนั้นต่อไป การโอนหน้าที่และอานาจตามกฎหมายตามวรรคหนึ่งและวรรคสองไปเป็นของหน่วยงานใด ให้เป็นไปตามที่คณะรัฐมนตรีกาหนดโดยให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา มาตรา 167 ระยะเวลาตามที่กำหนดในมาตรา 165 หากมีความจาเป็นอันไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ คณะรัฐมนตรีโดยข้อเสนอแนะขอ ง ก.ต.ช. จะขยายเวลาออกไปครั้งละหนึ่งปีก็ได้ แต่จะขยายได้ ไม่เกินสามครั้ง มาตรา 168 กรอบอัตรากาลังตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 12 วรรคสี่ เฉพาะในส่วนที่ เกี่ยวกับสถานีตารวจ กองบังคับการตารวจนครบาล และตารวจภูธรจังหวัด ในวาระเริ่มแรกไม่เกิน สองปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้หมายถึงเฉพาะกรอบอัตรากำลังพื้นฐานที่ ก.ตร. กาหนดให้สถานีตารวจ กองบังคับการตารวจนครบาล และตารวจภูธรจังหวัดพึงต้องมีเป็นอย่างน้อย ซึ่งต้องกาหนดให้แล้วเสร็จภายในสองร้อยสี่สิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้ บังคับ และภายใน กำหนดเวลาสองปีดังกล่าว ให้ ก.ตร. ปรับปรุงกรอบอัตรากาลังของสถานีตารวจ กองบังคับการตารวจ นครบาล และตารวจภูธรจังหวัดใหม่ให้เหมาะสมกับภารกิจและงบประมาณที่จะพึงได้รับการจัดสรร และให้สานักงานตารวจแห่งชาติดาเนินการให้เป็นไปตามมาตรา 12 วรร คสี่ ภายในสามปีนับแต่วันที่ ครบกำหนดสองปีดังกล่าว ้ หนา 75 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

มาตรา 169 ผู้ใดเป็นข้าราชการตารวจตามพระราชบัญญัติตารวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 และที่แก้ไขเพิ่มเติม อยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ผู้นั้นเป็นข้าราชการตำรวจ ตามพระราชบัญญัตินี้ต่อไป ผู้ซึ่ งเคยรับราชการเป็นข้าราชการตารวจอยู่ก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ถือว่าผู้นั้น เป็นผู้ซึ่งเคยรับราชการเป็นข้าราชการตารวจตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 170 ผู้ใดมียศตารวจหรือว่าที่ยศตารวจลาดับใดตามที่ระบุไว้ในพระราชบัญญัติ ตารวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม หรือกฎหมายอื่น อยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ ใช้บังคับ ให้ถือว่ามียศตารวจหรือว่าที่ยศตารวจลำดับนั้นตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 171 ความในมาตรา 8 (2) มิให้มีผลกระทบต่อข้าราชการตารวจที่ดารงตาแหน่ง และมียศอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชกฤ ษฎีกาตามมาตรา 8 วรรคสอง มีผลใช้บังคับ และเมื่อมี พระราชกฤษฎีกาดังกล่าวแล้ว ให้มีสิทธิใช้ยศเพียงเท่าที่ดารงอยู่ในวันที่พระราชกฤษฎีกาดังกล่าว ใช้บังคับได้ต่อไป มาตรา 172 ในวาระเริ่มแรก ในระหว่างที่ยังไม่มีกรรมการนโยบายตำรวจแห่งชาติ ผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา 14 (4) ให้ ก.ต.ช. ประกอบด้วย ประธานกรรมการและกรรมการ ตามมาตรา 14 (1) (2) (3) และ (5) เพื่อปฏิบัติหน้าที่ ก.ต.ช. เพียงเท่าที่จำเป็นเป็นการชั่วคราว ไปพลางก่อน ให้ดาเนินการเลือกกรรมการนโยบายตารวจแห่งชาติผู้ทรงคุณวุฒิให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวัน นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ เมื่อดำเนินการตามวรรคสองและได้กรรมการนโยบายตำรวจแห่งชาติผู้ทรงคุณวุฒิ ตามมาตรา 14 (4) แล้ว ให้เลขานุการ ก.ต.ช. นาเรื่องที่ ดาเนินการไปแล้วตามวรรคหนึ่ง เสนอต่อ ก.ต.ช. เพื่อทราบและพิจารณา หาก ก.ต.ช. เห็นว่าเรื่องใดสมควรแก้ไขหรือปรับปรุงเพื่อให้เป็นไป ตามพระราชบัญญัตินี้หรือเพื่อให้เหมาะสมยิ่งขึ้น ให้ ก.ต.ช. มีมติหรือดาเนินการตามหน้าที่และอำนาจ โดยพลัน มาตรา 173 ในวาร ะเริ่มแรก ในระหว่างที่ยังไม่มีกรรมการข้าราชการตารวจผู้ทรงคุณวุฒิ ตามมาตรา 22 (4) ให้ ก.ตร. ประกอบด้วย ประธานกรรมการและกรรมการตามมาตรา 22 (1) (2) และ (3) เพื่อปฏิบัติหน้าที่ ก.ตร. เพียงเท่าที่จำเป็นเป็นการชั่วคราวไปพลางก่อน ้ หนา 76 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

ให้ดาเนินการเลือกก รรมการข้าราชการตารวจผู้ทรงคุณวุฒิให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวัน นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ เมื่อดาเนินการตามวรรคสองและได้กรรมการข้าราชการตารวจผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา 22 (4) แล้ว ให้เลขานุการ ก.ตร. นาเรื่องที่ดาเนินการไปแล้วตามวรรคหนึ่ง เสนอต่อ ก.ตร. เพื่อทราบและพิจารณา หาก ก.ตร. เห็นว่าเรื่องใดสมควรแก้ไขหรือปรับปรุงเพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้หรือเพื่อให้ เหมาะสมยิ่งขึ้น ให้ ก.ตร. มีมติหรือดาเนินการตามหน้าที่และอำนาจโดยพลัน มาตรา 174 ให้ ก.ตร. กาหนดตาแหน่งข้าราชการตารวจตามกลุ่มสายงานและระดับ ตาแหน่งให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่มีกรรมการ ข้าราชการตารวจผู้ทรงคุณวุฒิตามพระราชบัญญัตินี้ และเมื่อ ก.ตร. ได้กาหนดตาแหน่งเสร็จแล้ว ให้ถือว่าผู้ที่ ดารงตาแหน่งหรือเคยดารงตาแหน่งดังกล่าวอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ อยู่ ในกลุ่มสายงานนั้นมาก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ สาหรับข้าราชการตารวจที่ไม่มียศตามมาตรา 8 (2) ให้ ก.ตร. ดาเนินการและกาหนด ตาแหน่งข้าราชการตารวจที่ไม่มียศให้แล้ วเสร็จภายในหนึ่งปี ข้าราชการตารวจผู้ใดดารงตาแหน่งและปฏิบัติหน้าที่ในสายงานสืบสวน สายงานสอบสวนหรือ สายงานอื่นในกลุ่มสายงานป้องกันปราบปรามอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ถือว่า เป็นข้าราชการตารวจในกลุ่มสายงานสืบสวนสอบสวนหรือกลุ่มสายงานป้อ งกันปราบปราม แล้วแต่กรณี ตามพระราชบัญญัตินี้ จนกว่าจะมีการดาเนินการตามวรรคสี่ ภายใต้บังคับวรรคสาม ให้สำนักงานตารวจแห่งชาติดาเนินการให้ข้าราชการตารวจทุกตำแหน่ง เข้าตามกลุ่มสายงานตามวรรคหนึ่ง ให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งปีนับแต่การดาเนินการตามวรรคหนึ่งเสร็จสิ้ น โดยคานึงถึงตาแหน่งหน้าที่ที่ผู้นั้นปฏิบัติอยู่เดิม คุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่ง และอัตรากาลังของ แต่ละกลุ่มสายงาน ให้ ก.ตร. กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินความพึงพอใจตามมาตรา 82 วรรคสอง ให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ มาตรา 175 เมื่อดาเนินการเลือกกรรมการข้าราชการตารวจผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา 173 แล้วเสร็จ ให้ดาเนินการคัดเลือกผู้ที่เหมาะสมเพื่อดารงตาแหน่งกรรมการ ก.ร.ตร. ผู้ทรงคุณวุฒิ ้ หนา 77 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

ตามมาตรา 43 ให้แล้วเสร็จและประกาศในราชกิจจานุเบกษาภายในสองร้อยสี่สิบวันนับแต่วันที่ พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ มาตรา 176 ให้โอนบรรดากิจการ ทรัพย์สิน สิทธิ หน้าที่ หนี้ ภาระผูกพัน และ เงินงบประมาณของกองทุนเพื่อการสืบสวนและสอบสวนคดีอาญาตามพระราชบัญญัติตารวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ที่มีอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ไปเป็นของกองทุน เพื่อการสืบสวน สอบสวน การป้องกันและปราบปรามการกระทำความผิดทางอาญาตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 177 ให้ข้าราชการตารวจซึ่งรับราชการอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ได้รับเงินเดือน เงินประจำตาแหน่ง เงินเพิ่มค่าครองชีพ หรือค่าตอบแทนอื่นใดตามที่ได้รับอยู่ในวันก่อน วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ เว้นแต่ผู้ที่ได้รับเงินเดือนต่ากว่าขั้นต่าของระดับ ให้ปรับให้ได้รับเท่ากับ อัตราขั้นต่าของระดับตั้งแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ มาตรา 178 ในวาระเริ่มแรก ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ ใช้บังคับ การคัดเลือกหรือแต่งตั้งข้าราชการตารวจให้ดารงตาแหน่ง ให้ดาเนินการตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ในกรณีที่ไม่อาจนำหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขมาใช้บังคับได้ตามวรรคหนึ่ง การจะดาเนินการ ประการใดให้เป็นไปตามที่ ก.ตร. กาหนด ซึ่งต้องไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 179 ในระหว่างที่ยังมิได้ตราพระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง กฎ ก.ตร. ข้อบังคับ ระเ บียบ หรือมติ ก.ตร. เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ให้นาพระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง กฎ ก.ตร. ข้อบังคับ ระเบียบ หรือมติ ก.ตร. ซึ่งใช้อยู่เดิมมาใช้บังคับเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับ พระราชบัญญัตินี้ ในกรณีที่ไม่อาจนาพระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง กฎ ก.ตร. ข้อบังคับ ระเบียบ หรือมติ ก.ตร. มาใช้บังคับได้ตามวรรคหนึ่ง การจะดาเนินการประการใดให้เป็นไปตามที่ ก.ตร. กาหนด ซึ่งต้องไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 180 ข้าราชการตำรวจผู้ใดมีกรณีกระทำผิดวินัยหรือกรณีที่สมควรให้ออกจาก ราชการอยู่ก่อนวันที่พร ะราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ผู้บังคับบัญชาตามพระราชบัญญัตินี้ มีอำนาจสั่งลงโทษ ผู้นั้นหรือสั่งให้ผู้นั้นออกจากราชการตามพระราชบัญญัติตารวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 และที่แก้ไข ้ หนา 78 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

เพิ่มเติม ที่ใช้อยู่ในขณะนั้น ส่วนการสอบสวน การพิจารณา และการดาเนินการเพื่อลงโทษหรื อให้ออก จากราชการ ให้ดาเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ เว้นแต่ (1) กรณีที่ผู้บังคับบัญชาได้สั่งให้สอบสวนโดยถูกต้องตามกฎหมายที่ใช้อยู่ในขณะนั้นไปแล้ว ก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ และยังสอบสวนไม่เสร็จ ก็ให้สอบสวนตามกฎหมายนั้นต่อไปจนกว่า จะแล้วเสร็จ (2) ในกรณีที่ได้มีการสอบสวนหรือพิจารณาโดยถูกต้องตามกฎหมายที่ใช้อยู่ในขณะนั้น เสร็จไปแล้วก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้การสอบสวนหรือพิจารณา แล้วแต่กรณี นั้น เป็นอันใช้ได้ มาตรา 181 เรื่องอุทธรณ์และร้องทุกข์ตามพระราชบัญญัติตารวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ที่ได้ยื่นไว้ก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับและอยู่ในอานาจการพิจารณาของ ก.ตร. ให้ ก.ตร. พิจารณาต่อไปจนกว่าจะแล้วเสร็จ เรื่องอุทธรณ์และร้องทุกข์ตามพระราชบัญญัติตารวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 และที่แก้ไข เพิ่มเติม ที่ได้ยื่น ก.ตร. ในวันหรือหลังวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ ก.พ.ค.ตร. เป็นผู้พิจารณา ดาเนินการต่อไป ในระหว่างที่ยังมิได้ดำเนินการให้มี ก.พ.ค.ตร. ให้ ก.ตร. ทำหน้าที่ ก.พ.ค.ตร. ตามพระราชบัญญัตินี้ไปพลางก่อน จนกว่าจะได้แต่งตั้ง ก.พ.ค.ตร. ตามพระราชบัญญัตินี้ เว้นแต่ บรรดาหน้าที่และอำนาจของ ก.พ.ค.ตร. ในส่วนที่เกี่ยวกับการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์หรือเรื่องร้องทุกข์ ที่เหตุเกิดจากกฎ ระเบียบ คาสั่ง หรือมติของ ก.ตร. ให้ผู้มีสิทธิอุทธรณ์หรือร้องทุกข์ฟ้องคดีต่อ ศาลปกครองได้ การดาเนินการแต่งตั้ ง ก.พ.ค.ตร. ให้กระทำให้ แล้วเสร็จภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวั นนับแต่วันที่ พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ผู้รับสนองพระ บรม ราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ้ หนา 79 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565

หมายเหตุ : - เหตุผลในการประกาศใช้พระราช บัญญัติ ฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา 258 ง. ด้านกระบวนการ ยุติธรรม (4) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้ดาเนินการปฏิรูปประเทศด้านกระบวนการ ยุติธรรมให้เกิดผลในการดาเนินการบังคับใช้กฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพ โดยแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับ หน้าที่ อานาจ และภารกิจของตารวจให้เหมาะสมและแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล ของข้าราชการตารวจให้เกิด ประสิทธิภาพ มีหลักประกันว่าข้าราชการตารวจจะได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสม ได้รับความเป็นธรรมในการแต่งตั้งและโยกย้าย และการพิจารณาบาเหน็จความชอบตามระบบคุณธรรม ที่ชัดเจน ซึ่งในการพิจารณาแต่งตั้งและโยกย้ายต้องคานึงถึงอาวุโสและความรู้ความสามารถประกอบกัน เพื่อใ ห้ข้าราชการตารวจสามารถปฏิบัติหน้าที่ตามวิชาชีพได้อย่างมีอิสระ ไม่ตกอยู่ใต้อาณัติของบุคคลใด มีประสิทธิภาพและภาคภูมิใจในการปฏิบัติหน้าที่ของตน จึงสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยตารวจแห่งชาติ โดยโอนย้ายภารกิจที่ไม่ใช่ภารกิจหลักออกจากสานักงานตารวจแห่งชาติ เพื่ อให้สานักงานตารวจแห่งชาติ สามารถปฏิบัติหน้าที่ ที่เป็นภารกิจหลักและบริการประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว แก้ไข บทบัญญัติเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการตำรวจให้เกิดประสิทธิภาพ โดยแบ่งออกเป็น กลุ่ม สายงานต่าง ๆ เพื่อให้ข้าราชการตารวจในแต่ละกลุ่ มสายงานสามารถเจริญเติบโตตามกลุ่มสายงานด้วยความรู้ ความชำนาญในสายงานของตน การกำหนดกระบวนการในการแต่งตั้งและเลื่อนตำแหน่งไว้ให้ชัดเจน โดยคานึงถึงอาวุโส ความรู้ความสามารถ และความพึงพอใจในบริการที่ประชาชนได้รับ ให้มีคณะกรรมการ พิทักษ์ระบบคุณธรรมข้าราชการตารวจ เพื่อพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์เรื่องร้องทุกข์ รวมทั้งการกาหนด ระบบ คุณธรรมให้เกิดขึ้น เพื่อเป็นที่พึ่งของข้าราชการตารวจในการปลดเปลื้องทุกข์ของข้าราชการตารวจ ที่เกิดจาก ผู้บังคับบัญชา รวมทั้งให้มีคณะกรรมการพิจารณาเรื่องร้องเรี ยนตารวจ เพื่อเป็นกลไกสำหรับประชาชน ในการร้องเรียนการปฏิบัติที่ไม่ชอบของข้าราชการตารวจอันเป็นการปลดเปลื้องทุกข์ของประชาชนที่เกิดจาก การกระทาของตารวจ ตลอดจนให้ท้องถิ่นมีส่วนร่วม ในกิจการตารวจ โดยการให้เงินอุดหนุนแก่สถานีตารวจ เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ ของข้าราชการตารวจในสถานีตารวจนั้น และจัดตั้งกองทุนเพื่อการสืบสวน สอบสวน การป้องกันและปราบปรามการกระทาความผิดทางอาญา เพื่อเป็นแหล่งสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ ้ หนา 80 ่ เลม 139 ตอนที่ 64 ก ราชกิจจานุเบกษา 16 ตุลาคม 2565