ประกาศคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการภายในและขอบเขตหน้าที่และอำนาจของส่วนราชการในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2565
ประกาศคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการภายในและขอบเขตหน้าที่และอำนาจของส่วนราชการในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2565
ประกาศคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการภายในและขอบเขตหน้าที่และอำนาจของส่วนราชการ ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2565 โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงการแบ่งส่วนราชการและหน้าที่และอานาจของส่วนราชการ ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเพื่อรองรับภารกิจของคณะกรรมการ สิทธิมนุษยชนแห่งชาติให้มีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 49 (1) แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 25 60 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ ประกาศคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เรื่อง การแบ่ง ส่วน ราชการภายในและขอบเขตหน้าที่และอานาจของส่วนราชการในสังกัดสานักงานคณะกรรมการ สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2565” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 17 ตุลาคม 2565 เป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิก ( 1 ) ประกาศคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เรื่อง การแบ่งส่วน ราชการภายใน และขอบเขตหน้าที่และอานาจของส่วนราชการในสังกัดสานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 25 61 ( 2 ) ประกาศคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการภายใน และขอบเขตหน้าที่และอานาจของส่วนราชการในสังกัดสานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุ ษยชนแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2564 ( 3 ) ประกาศคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการภายใน และขอบเขตหน้าที่และอานาจของส่วนราชการในสังกัดสานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2564 ( 4 ) ประกาศคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการภายใน และขอบเขตหน้าที่และอานาจของส่วนราชการในสังกัดสานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2565 ข้อ 4 ให้แบ่งส่วนราชการภายในสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) สำนักบริหารกลาง ( 2 ) สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ( 3 ) สำนักส่งเสริมการเคารพสิทธิมนุษยชน ้ หนา 15 ่ เลม 139 ตอนที่ 61 ก ราชกิจจานุเบกษา 3 ตุลาคม 2565
( 4 ) สำนักรับเรื่องร้องเรียนและประสานการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ( 5 ) สำนักคุ้มครองสิทธิมนุษยชน 1 ( 6 ) สำนักคุ้มครองสิทธิมนุษยชน 2 ( 7 ) สำนักเฝ้าระวังและประเมินส ถานการณ์สิทธิมนุษยชน ( 8 ) สำนักสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ ( 9 ) สำนักกฎหมาย ( 10 ) สำนักดิจิทัลสิทธิมนุษยชน ( 11 ) หน่วยตรวจสอบภายใน ( 12 ) สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติพื้นที่ภาคใต้ ( 13 ) สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การแบ่งงานภายในส่วนราชการตามที่กำหนดไว้ในประกาศฉบับนี้ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการ สิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีมติกำหนด ข้อ 5 สำนักบริหารกลาง มีขอบเขตหน้าที่และอำนาจ ดังนี้ ( 1 ) ดาเนินการเกี่ยวกับงานสารบรรณ งานบริหารทั่วไป งานอาคารสถานที่และยานพาหนะ งานพิธีการ งานรักษาความปลอดภัย งานช่วยอานวยการ และปฏิบัติงานในฐานะฝ่ายเลขานุการ ของสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ( 2 ) ดาเนินการเกี่ยวกับงานเลขานุการการประชุมของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ในฐานะองค์กรกลางบริหารงานบุคคล ( 3 ) จัดระบบงานและบริหารงานทรัพยาก รบุคคล รวมทั้งการเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม ( 4 ) จัดทำแผนการพัฒนาทรัพยากรบุคคล และดาเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ( 5 ) บริหารและดาเนินการเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี การงบประมาณ และการพัสดุ ( 6 ) ปฏิบัติงานที่มิได้กำหนดให้เป็นหน้าที่และอำนาจของส่วนราชการใดของสำนักงาน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ( 7 ) ร่วมปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือตามที่ได้รับ มอบหมาย ข้อ 6 สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ มีขอบเขตหน้าที่และอำนาจ ดั งนี้ ( 1 ) อำนวยการ สนับสนุนและประสานงานเกี่ยวกับภารกิจของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประธานกรรมการและกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ( 2 ) ดาเนินการเกี่ยวกับงานเลขานุการและการประชุมของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ด้านบริหาร ้ หนา 16 ่ เลม 139 ตอนที่ 61 ก ราชกิจจานุเบกษา 3 ตุลาคม 2565
( 3 ) ศึกษา วิเคราะห์ กลั่นกรองเรื่องและปัญหาต่าง ๆ พร้อมเสนอความเห็นตามที่ได้รับ มอบหมาย เพื่อประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประธานกรรมการและ กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ( 4 ) ติดตามและประสานงานการจัดเตรียมเอกสารข้อมูลและประเด็นการเข้าร่วมประชุมของ ประธานกรรมกำรและกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ( 5 ) ติดตามและประสานการดำเนินการตามมติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ด้านบริหารและรายงานความก้าวหน้า พร้อมทั้งจัดทำรายงานผลการดาเนินงาน ( 6 ) ดำเนินการเกี่ยวกับการให้ได้มาซึ่งกรรมการสรรหากรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และกรรมการ สรรหาผู้ดำรงตาแหน่งในองค์การอิสระอื่น ( 7 ) จัดทานโยบายและยุทธศาสตร์ขององค์กร แผนปฏิบัติงานประจาปี แผนงบประมาณ รวมทั้งจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานประจำปีของสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ( 8 ) วางแผนงาน การส่งเสริม สนับสนุน และประสานการขับเคลื่อนงานตำมนโยบายพิเศษ นโยบายเร่งด่วนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติและสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ( 9 ) ติดตามและประเมินผลความสำเร็จของนโยบาย แผนงาน และแผนงบประมาณ ( 10 ) จัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานประจำปีเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ( 11 ) บริหารจัดการงานวิจัยและวิชาการด้านสิทธิมนุษยชน ( 12 ) รวบรวมข้อมูลด้านวิชาการเพื่อสนับสนุนการทางานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ รวมทั้งการจัดทำวารสารวิชาการ ( 13 ) พัฒนาระบบบริหารจัดการ ระบบงาน การประเมินผลสาเร็จของงาน และการพัฒนาองค์กร รวมทั้งการจัดทำและประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของสำนักงานคณะกรรมการ สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ( 14 ) ประมวลผลการติดตามและจัดทารายงานประเมินผลการดาเนินการด้านสิทธิมนุษยชน ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ( 15 ) ร่วมปฏิบัติ งานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือตามที่ได้รับ มอบหมาย ข้อ 7 สำนักส่งเสริมการเคารพสิทธิมนุษยชน มีขอบเขตหน้าที่และอำนาจ ดังนี้ ( 1 ) พัฒนาระบบ มาตรการและกลไกเกี่ยวกับการส่งเสริมและเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับ สิทธิมนุษยชนตามกฎหมาย รัฐ ธรรมนูญ รวมทั้งพันธกรณีที่ประเทศไทยต้องยึดถือปฏิบัติตามกติกา ระหว่างประเทศและอนุสัญญา ( 2 ) ส่งเสริมสนับสนุนและสร้างการรับรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของ สิทธิมนุษยชนของบุคคลและการเคารพในสิทธิมนุษยชนของบุคคลอื่น และให้เกิดความร่วมมือ การเคารพ และการปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชนของทุกภาคส่วนของสังคม ้ หนา 17 ่ เลม 139 ตอนที่ 61 ก ราชกิจจานุเบกษา 3 ตุลาคม 2565
( 3 ) ส่งเสริม พัฒนาความร่วมมือและสร้างความเข้มแข็งระบบเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา ชุมชน ท้องถิ่น และภาคประชาสังคมให้เกิดการคุ้มครอง และพิทักษ์สิทธิมนุษยชน ( 4 ) ดาเนิ นการเกี่ยวกับการสื่อสารสาธารณะเพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ และเห็นคุณค่า การเคารพ และการปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชน ( 5 ) เสริมสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีแก่สาธารณชนในภาพลักษณ์ บทบาท ภารกิจและกิจกรรมของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติและสำนักงานค ณะกรรมการสิทธิมนุษยชน แห่งชาติ ( 6 ) พัฒนาองค์ความรู้ จัดทำเอกสารวิชาการ ผลิตสื่อ รณรงค์ และเผยแพร่ความรู้ ด้านสิทธิมนุษยชน ( 7 ) ดาเนินการเกี่ยวกับงานโฆษกของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ รวมทั้งประสาน และอานวยความสะดวกแก่สื่อมวลชนในการเผยแพร่ข่าว การแถลง ข่าว และการให้สัมภาษณ์ของ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ( 8 ) ร่วมปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือตามที่ได้รับ มอบหมาย ข้อ 8 สานักรับเรื่องร้องเรียนและประสานการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน มีขอบเขตหน้าที่และ อำนาจ ดังนี้ ( 1 ) ดาเนินการเกี่ยวกับการรับเรื่องร้องเรียนการละเมิดสิทธิมนุษยชน รวมทั้งให้คาปรึกษา แนะนำแก่ผู้มาร้องเรียน (2) กลั่นกรองและตรวจสอบเพื่อหาข้อมูล ข้อเท็จจริง และหลักฐานเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียน และวิเคราะห์ เสนอความเห็นเพื่อเสนอให้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ คณะทำงานพิจารณา ( 3 ) ดาเนินการเกี่ยวกับการประสานการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน (4) ดาเนินการฝ่ายเลขานุการสนับสนุนการประชุมคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ด้านการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน คณะทางานด้านการกลั่นกรองเรื่ องร้องเรียน และคณะทางานด้าน การติดตามผลการดาเนินการตามมาตรการ แนวทาง หรือข้อเสนอแนะของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน แห่งชาติ จัดระบบประมวลผลกลางงานคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ( 5 ) ร่วมปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือตามที่ได้รับ มอ บหมาย ข้อ 9 สานักคุ้มครองสิทธิมนุษยชน 1 รับผิดชอบงานคุ้มครองสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และสิทธิของประชากรกลุ่มเฉพาะ มีขอบเขตหน้าที่และอำนาจ ดังนี้ ( 1 ) ดาเนินการสืบสวนหรือตรวจสอบเกี่ยวกับคาร้อง หรือเรื่องที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน แห่งชาติเห็นสมควรให้มีการตรวจสอบทั้งเชิงกรณีและเชิงระบบ ทาสานวนคาร้อง เสนอความเห็น ้ หนา 18 ่ เลม 139 ตอนที่ 61 ก ราชกิจจานุเบกษา 3 ตุลาคม 2565
ในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน รวมทั้งข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางที่เหมาะสมใน การป้องกันหรือแก้ไขการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือส่งเสริมแล ะคุ้มครองสิทธิมนุษยชน เพื่อประกอบ การพิจารณาของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ รวมทั้งดาเนินการกรณีมีคาขอให้พิจารณาหรือ โต้แย้งรายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือยุติการติดตามผลตามมาตรการหรือ ข้อเสนอแนะเพื่อเสนอคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติพิจารณา ( 2 ) ดำเนินการเกี่ยวกับการจัดทาร่างรายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และแจ้งผลการตรวจสอบพร้อมด้วยรายงานผลการตรวจสอบ ไปยังผู้เกี่ยวข้อง ( 3 ) ดาเนินการเกี่ยวกับการติดตามผลการดำเนินการตามมาตรการแนวทาง หรือข้อเสนอแนะ ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และการเยียวยาผู้ได้รับความเสียหายจากการละเมิด สิทธิมนุษยชน ( 4 ) ดาเนินการพัฒนารูปแบบ หลักเกณฑ์และวิธีการในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน การติดตามผลการดาเนินการตามมาตรการแนวทาง หรือข้อเสนอแนะของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน แ ห่งชาติ และการเยียวยาผู้ได้รับความเสียหายจากการละเมิดสิทธิมนุษยชน ( 5 ) ร่วมปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือตามที่ได้รับ มอบหมาย ข้อ 10 สำนักคุ้มครองสิทธิมนุษยชน 2 รับผิดชอบงานคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิ ทางการเมือง มีขอบเขตหน้าที่และอำนาจ ดังนี้ ( 1 ) ดาเนินการสืบสวนหรือตรวจสอบเกี่ยวกับคาร้อง หรือเรื่องที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน แห่งชาติเห็นสมควรให้มีการตรวจสอบทั้งเชิงกรณีและเชิงระบบ ทาสานวนคาร้อง เสนอความเห็น ในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน รวมทั้งข้อเสนอแนะมาตรกำรหรือแนวทางที่เหมาะสมใน การป้องกันหรือแก้ไขการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน เพื่อประกอบ การพิจารณาของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ รวมทั้งดาเนินการกรณีมีคำขอให้พิจารณาหรือโต้แย้ง รายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือยุติกา รติดตามผลตามมาตรการหรือข้อเสนอแนะ เพื่อเสนอคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติพิจารณา ( 2 ) ดำเนินการเกี่ยวกับการจัดทาร่างรายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และแจ้งผลการตรวจสอบพร้อมด้วยรายงานผล การตรวจสอบไปยังผู้เกี่ยวข้อง ( 3 ) ดาเนินการเกี่ยวกับการติดตามผลการดำเนินการตามมาตรการแนวทาง หรือข้อเสนอแนะ ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และการเยียวยาผู้ได้รับความเสียหายจากการละเมิดสิทธิมนุษยชน ้ หนา 19 ่ เลม 139 ตอนที่ 61 ก ราชกิจจานุเบกษา 3 ตุลาคม 2565
( 4 ) ดาเนินการพัฒนารูปแบบ หลักเกณฑ์และวิธีการในการตรวจสอบ การละเมิดสิทธิมนุษยชน การติดตามผลการดาเนินการตามมาตรการแนวทาง หรือข้อเสนอแนะของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน แห่งชาติ และการเยียวยาผู้ได้รับความเสียหายจากการละเมิดสิทธิมนุษยชน ( 5 ) ร่วมปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือตามที่ได้ รับ มอบหมาย ข้อ 11 สานักเฝ้าระวังและประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชน มีขอบเขตหน้าที่และอานาจ ดังนี้ ( 1 ) เฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์สิทธิมนุษยชน รวมทั้งตรวจสอบข้อมูล ข้อเท็จจริง ( 2 ) จัดทำรายงานผลการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนประจำปี ( 3 ) จัดทารายงานผลการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนขึ้นเป็นการเฉพาะในกรณีที่มี สถานการณ์อันกระทบหรือเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนเกิดขึ้นอย่างร้ายแรง ( 4 ) จัดทำคำชี้แจงและรายงานข้อเท็จจริงที่ถูกต้องในกรณีที่มีการรายงานสถานการณ์เกี่ยวกับ สิทธิมนุษยชนในประเทศไทยโดยไม่ถู กต้องหรือไม่เป็นธรรม ( 5 ) พัฒนาระบบฐานข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์สิทธิมนุษยชน ( 6 ) ร่วมปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือตามที่ได้รับ มอบหมาย ข้อ 12 สำนักสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ มีขอบเขตหน้าที่และอำนาจ ดังนี้ ( 1 ) สนับสนุ นบทบาทและภารกิจของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และสานักงาน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในด้านการต่างประเทศ ( 2 ) ศึกษาและจัดทาข้อเสนอแนะด้านนโยบายและมาตรการความร่วมมือระหว่างประเทศ ด้านสิทธิมนุษยชน ( 3 ) ติดต่อประสานความร่วมมือด้านสิทธิมนุษยชนกับองค์การส หประชาชาติ สถาบัน สิทธิมนุษยชนแห่งชาติของประเทศต่าง ๆ องค์การระหว่างประเทศ องค์กรภาครัฐและเอกชน ตลอดจน สถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุล และองค์การระหว่างประเทศที่ประจำอยู่ในประเทศไทย ( 4 ) ศึกษา วิเคราะห์ และรายงานสถานการณ์ ตลอดจนความเคลื่อนไหวที่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน ที่สำคัญหรือมีผลกระทบต่อสิทธิมนุษยชนในประเทศและภูมิภาค ( 5 ) ประสานและพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือด้านสิทธิมนุษยชนที่สำคัญ ทั้งในระดับ ระหว่างประเทศและระดับภูมิภาค เช่น ความร่วมมือด้านสิทธิมนุษยชนกับสหประชาชาติ ควำมร่วมมือ ระหว่างสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในระดับระหว่างประเทศ ระดับภูมิภาคเอเชีย - แปซิฟิก ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และกลไกต่าง ๆ ด้านสิทธิมนุษยชนของอาเซียน เป็นต้น ้ หนา 20 ่ เลม 139 ตอนที่ 61 ก ราชกิจจานุเบกษา 3 ตุลาคม 2565
( 6 ) ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อประโยชน์ในการจัดทำรายงานสถานการณ์ พร้อมข้อเส นอแนะ ในการปฏิบัติตามพันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน ( 7 ) ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ข้อเสนอแนะในการเข้าเป็นภาคีสนธิสัญญา ด้าน สิทธิมนุษยชน ( 8 ) ศึกษาและเผยแพร่พันธกรณีและมาตรฐานสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศต่าง ๆ ตลอดจน กลไกในการดาเนินงาน เพื่อเป็นประโยชน์ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนภายในประเทศ ( 9 ) ประสานงาน รับรอง อำนวยความสะดวกคณะบุคคลจากต่างประเทศที่มาประชุม สัมมนา และศึกษาดูงาน ( 10 ) ดาเนินการเกี่ยวกับการแปลและล่าม ( 11 ) ร่วมปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่ เกี่ยวข้องหรือตามที่ได้รับ มอบหมาย ข้อ 13 สำนักกฎหมาย มีขอบเขตหน้าที่และอำนาจ ดังนี้ ( 1 ) ติดตาม เฝ้าระวัง ศึกษาและให้ความเห็นเกี่ยวกับบทบัญญัติของกฎหมาย กฎ ระเบียบ คาสั่งทางปกครองที่อาจมีผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน หรือไม่สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ กฎหมายหรือ หนังสือสัญญาเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็นภาคีและมีพันธกรณีที่จะต้องปฏิบัติตาม ( 2 ) จัดระบบงานเกี่ยวกับการติดตามการออกกฎหมาย สารวจบทบัญญัติของกฎหมาย กฎ ระเบียบ คาสั่งทางปกครองที่อาจมีผลกระทบต่อสิทธิมนุษยชน และระบบงานเกี่ยวกับการจัดทา ความเห็นต่อกฎหมาย กฎ ระเบียบ คาสั่งทางปกครองที่กระทบต่อสิทธิมนุษยชนหรือไม่สอดคล้องกับ รัฐธรรมนูญ กฎหมาย หรือหนังสือสัญญาเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็นภาคีและมีพันธกรณี ที่จะต้องปฏิบัติตาม ( 3 ) ศึกษา ค้นคว้า และสังเคราะห์ในการเสนอแนะมาตรการหรื อแนวทางในการส่งเสริมและ คุ้มครองสิทธิมนุษยชนต่อรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมตลอดทั้งการแก้ไข ปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือคำสั่งใด ๆ เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน ( 4 ) ศึกษา ตรวจสอบและติดตามการออกกฎหมาย ตลอดจนสารวจบทบัญญัติของกฎหมาย กฎ ระเบียบ คาสั่งทางปกครองที่กระทบต่อสิทธิมนุษยชน ข้อกฎหมาย ประมวลความเห็นของ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติและผู้เกี่ยวข้อง วิเคราะห์และจัดทาเป็นความเห็นเบื้องต้นเสนอ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ( 5 ) เสนอความเห็นด้านกฎห มายเพื่อประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน แห่งชาติ และสานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ในเรื่องและปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับ กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ และคาสั่งในการปฏิบัติหน้าที่ รวมทั้งนโยบายและ แผนงานต่าง ๆ ้ หนา 21 ่ เลม 139 ตอนที่ 61 ก ราชกิจจานุเบกษา 3 ตุลาคม 2565
( 6 ) ดาเนินการเกี่ยวกั บงานนิติกรรมสัญญา และดาเนินการตามกฎหมายว่าด้วยความรับผิด ทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ ( 7 ) ดาเนินการเกี่ยวกับความช่วยเหลือและความร่วมมือทางวิชาการด้านกฎหมายกับองค์กร หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ( 8 ) ดาเนินการเกี่ยวกับการศึกษา ค้นคว้า จัดทำเอกสาร บทความทางวิชาการ ซึ่งเกี่ยวข้อง กับงานกฎหมายและอื่น ๆ ( 9 ) ดาเนินการจัดทาร่างกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศของคณะกรรมการ สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ( 10 ) ดาเนินการเกี่ยวกับคดีที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ สานักงานคณะกรรมการ สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ข้าราชการ หรือเจ้าหน้าที่ของสานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เป็นคู่กรณีหรือคู่ความ ในคดีที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ เว้นแต่กรณีเป็นข้อพิพาทระห ว่างบุคคลภายในหน่วยงาน ( 11 ) ร่วมปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือตามที่ได้รับ มอบหมาย ข้อ 14 สำนักดิจิทัลสิทธิมนุษยชน มีขอบเขตหน้าที่และอำนาจ ดังนี้ ( 1 ) รวบรวม ประมวลข้อมูล รายงานการตรวจสอบหรือพิจารณาด้านสิทธิมนุษยชน เอกสารทางวิชาการเกี่ยวกับงานสิทธิมนุษยชน ตารา รายงานการศึกษาวิจัย บทความ คาพิพากษา ของศาล คาวินิจฉัยขององค์กรต่าง ๆ ตามกฎหมาย และเอกสารอื่น ๆ เพื่อการค้นคว้าอ้างอิงและ นำมาวิเคราะห์และจัดทาเป็นฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศให้เหมาะสมแก่สภาพการใช้ประโยชน์ ทั้งภายในส่วนราชการและให้บริการ ( 2 ) พัฒนาระบบและเครือข่ายข้อมูลและสารสนเทศ เพื่อการบริหารงานและการบริการ ( 3 ) ดาเนินการเกี่ยวกับงานห้องสมุด จดหมายเหตุ และงานบริหารจัดการเอกสารต่าง ๆ ( 4 ) ดาเนินการเกี่ยวกับกฎหมายข้อมูลข่าวสารของราชการและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ( 5 ) วางแผนและกำหนดแนวทางเพื่อพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ( 6 ) จัดทาแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการประจาปีด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้สอดคล้องกับ มาตรฐานกลาง นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารของประเทศ ( 7 ) ดูแลและพัฒนาระบบเครือข่ายสารสนเทศ เพื่อใช้ในการบริหารงานและให้บริการใน สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ( 8 ) พัฒนาระบบฐานข้อมูล รวมทั้งเป็นศูนย์บริการข้อมูลและสารสนเทศด้านสิทธิมนุษยชน ( 9 ) ดาเนินการบริหารจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ข้อมูล สารสนเทศ และระบบ เครือข่ายสื่อสารสารสนเทศ ้ หนา 22 ่ เลม 139 ตอนที่ 61 ก ราชกิจจานุเบกษา 3 ตุลาคม 2565
( 10 ) ให้คำปรึกษา แนะนำ และช่วยเหลืองานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ รวมทั้งการสื่อสาร ( 11 ) ร่วมปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ ยวข้องหรือตามที่ได้รับ มอบหมาย ข้อ 15 หน่วยตรวจสอบภายใน ทำหน้าที่หลักในการตรวจสอบการดำเนินงานภายใน และสนับสนุนการปฏิบัติงานของสานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ มีหน้าที่และอานาจ ดังต่อไปนี้ ( 1 ) กาหนดเป้าหมาย ทิศทาง ภารกิจงานตรวจสอบภายใน เพื่อ สนับสนุนการบริหารงาน และการดาเนินงานด้านต่าง ๆ ของสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ โดยให้สอดคล้องกับ นโยบายของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และคณะกรรมการตรวจสอบหรือคณะกรรมการอื่นใด ที่ ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน โดยคำนึงถึงการกากับดูแลที่ดี ความมีประสิทธิภาพของกิจกรรมการบริหาร ความเสี่ยงและความเพียงพอของการควบคุมภายใน ( 2 ) กาหนดกฎบัตรไว้เป็นลายลักษณ์อักษรและเสนอคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อพิจารณา ให้ความเห็นชอบและเผยแพร่หน่วยรับตรวจทราบ รวมทั้งมีการสอบทานความเหมาะสมของกฎบัตร อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ ง ( 3 ) จัดให้มีการประกันคุณภาพงานตรวจสอบภายในทั้งภายในและภายนอกตามรูปแบบและ วิธีการที่กรมบัญชีกลางกำหนด ( 4 ) จัดทาและเสนอแผนการตรวจสอบประจาปีต่อคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อพิจารณา อนุมัติภายในเดือนสุดท้ายของปีงบประมาณ ( 5 ) ปฏิบัติงานตรวจสอบให้เป็นไปตามแผนการต รวจสอบประจำปีที่ได้รับอนุมัติ ( 6 ) จัดทำและเสนอรายงานผลการตรวจสอบต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ภายในเวลา อันสมควรและไม่เกินสองเดือนนับจากวันที่ดาเนินการตรวจสอบแล้วเสร็จ กรณีเรื่องที่ตรวจพบเป็นเรื่อง ที่จะมีผลเสียหายต่อทางราชการให้รายงานผลการตรวจสอบทันที ( 7 ) ติดตามผลการตรวจสอบ เสนอแนะ และให้คำปรึกษาแก่หน่วยรับตรวจ เพื่อให้ การปรับปรุงแก้ไขของหน่วยรับตรวจเป็นไปตามข้อเสนอแนะในรายงานผลการตรวจสอบ (8) ปฏิบัติงานในการให้คำปรึกษาแก่เลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ หน่วยรับตรวจและผู้ที่เกี่ยวข้อง (9) ปฏิบั ติงานอื่นที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบภายในตามที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการตรวจสอบและเลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ( 1 0) ร่วมปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือตามที่ได้รับ มอบหมาย โดยไม่ขัดหรือแย้งต่อจรรยาบรรณและวิ ชาชีพในการปฏิบัติหน้าที่ในฐานะผู้ตรวจสอบภายใน ้ หนา 23 ่ เลม 139 ตอนที่ 61 ก ราชกิจจานุเบกษา 3 ตุลาคม 2565
ข้อ 16 สานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติพื้นที่ภาคใต้ รับผิดชอบพื้นที่ในเขต จังหวัดภาคใต้ จำนวน 14 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดกระบี่ จังหวัดชุมพร จังหวัดตรัง จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดนราธิวาส จังหวัดปัตตานี จังหวัดพังงา จังหวัดพัทลุง จังหวัดภูเก็ต จังหวัดยะลา จังหวัดระนอง จังหวัดสงขลา จังหวัดสตูล และจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยมีขอบเขตหน้าที่ และอำนาจในพื้นที่รับผิดชอบ ดังนี้ ( 1 ) ดาเนินการเกี่ยวกับการรับเรื่องร้องเรียน ประสาน ตรวจสอบ และติดตามการคุ้มครอง สิทธิมนุษยชน ( 2 ) ดาเนินการเกี่ยวกับการส่งเสริมการเคารพสิทธิมนุษยชน การประสานงานและพัฒนา ความร่วมมือกับเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการสื่อสารองค์กร ( 3 ) ดาเนินการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์สิทธิมนุษยชน รวมทั้งตรวจสอบ ข้อ มูล ข้อเท็จจริงเพื่อประกอบการจัดทำรายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน ( 4 ) สนับสนุนและประสานความร่วมมือกับศูนย์ศึกษาและประสานงานด้านสิทธิมนุษยชน ( 5 ) ดาเนินการเกี่ยวกับงานสารบรรณ งานบริหารทั่วไป งานช่วยอำนวยการ และระบบงาน อำนวยการต่าง ๆ ( 6 ) ร่วมปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือตามที่ได้รับ มอบหมาย ข้อ 17 สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รับผิดชอบพื้นที่ในเขตจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 20 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดกำฬสินธุ์ จังหวัดขอนแก่น จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดนครพนม จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดบึงกาฬ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดมุกดาหาร จังหวัดยโสธร จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดเลย จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดสกลนคร จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดหนองคาย จังหวัดหนองบัวลำภู จังหวัดอานาจเจริญ จังหวัดอุดรธานีและจังหวัดอุบลราชธานี โดยมีขอบเขตหน้าที่และอานาจในพื้นที่ รับผิดชอบ ดังนี้ ( 1 ) ดาเนินการเกี่ยวกับการรับเรื่องร้องเรียน ประสาน ตรวจสอบ และติดตามการคุ้มครอง สิทธิมนุษยชน ( 2 ) ดาเนินการเกี่ยวกับการส่งเส ริมการเคารพสิทธิมนุษยชน การประสานงาน และพัฒนา ความร่วมมือกับเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการสื่อสารองค์กร ( 3 ) ดาเนินการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์สิทธิมนุษยชน รวมทั้งตรวจสอบ ข้อมูล ข้อเท็จจริงเพื่อประกอบการจัดทำรายงานผลการประเมินสถานการณ์ ด้านสิทธิมนุษยชน ( 4 ) สนับสนุนและประสานความร่วมมือกับศูนย์ศึกษาและประสานงานด้านสิทธิมนุษยชน ้ หนา 24 ่ เลม 139 ตอนที่ 61 ก ราชกิจจานุเบกษา 3 ตุลาคม 2565
( 5 ) ดาเนินการเกี่ยวกับงานสารบรรณ งานบริหารทั่วไป งานช่วยอำนวยการ และระบบงาน อำนวยการต่าง ๆ ( 6 ) ร่วมปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือตามที่ได้รับ มอบหมาย ข้อ 18 ให้ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติรักษาการตามประกาศนี้ ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามประกาศนี้ ให้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เป็นผู้วินิจฉัยชี้ ขาด ประกาศ ณ วันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 256 5 พรประไพ กาญจนรินทร์ ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ้ หนา 25 ่ เลม 139 ตอนที่ 61 ก ราชกิจจานุเบกษา 3 ตุลาคม 2565